ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้คนในชุมชนได้เรียนรู้ด้านการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยและนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการกิน
ตัวชี้วัด : 1.1 ตัวแทนจำนวนครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมรับรู้การดำเนินโครงการร้อยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด 250 ครัวเรือน 1.2 ประชาชนร้อยละ 80 รับรู้ข้อมูลด้านสถานการณ์แล้วเกิดความตระหนักในด้านความปลอดภัยของการบริโภคอาหาร 1.3 มีการกำหนดกฎ กติกา มาตรการของชุมชน หรือข้อตกลงเพื่อถือปฏิบัติร่วมกันของหมู่บ้าน จำนวน 1ชุด
  • คนในชุมชนร่วมรับรู้การดำเนินงานโครงการและเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 80 ของครัวเรือนทั้งหมด จำนวน 250 ครัวเรือน
  • มีครัวเรือนสมัครใจเข้าร่วมเป็นครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 120 ครัวเรือน จากที่กำหนดไว้ จำนวน 80 ครัวเรือน
2 เพื่อปรับสภาพพื้นที่ของครัวเรือนในชุมชนให้เป็นครัวเรือนต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.1 มีครัวเรือนต้นแบบในการผลิตอาหารอาหารปลอดภัยอย่างน้อย 80 ครัวเรือน แบ่งการผลิตเป็น 3 ฐานได้แก่ครัวเรือนผลิตพืชผักปลอดภัย 60 ครัวเรือน ครัวเรือนเลี้ยงไก่พื้นเมือง 10 ครัวเรือน และครัวเรือนเลี้ยงปลา 10 ครัวเรือน 1.2 มีศูนย์เรียนรู้ธนาคารพันธุ์ผักพื้นบ้านและสมุนไพรอาหาร จำนวน 1 แปลงโดยมีผักและสมุนไพรอย่างน้อย 25 ชนิด 1.3 มีแปลงผักร่วมสวนยางพารา(สวนสมรม) จำนวน 2 แปลง 1.4 มีคณะกรรมการตรวจสอบอาหารปลอดภัย จำนวน 1 ชุด
  • มีครัวเรือนต้นแบบในการผลิตอาหารอาหารปลอดภัยอย่างน้อย 80 ครัวเรือน แบ่งการผลิตเป็น 3 ฐานได้แก่ครัวเรือนผลิตพืชผักปลอดภัย 60 ครัวเรือน ครัวเรือนเลี้ยงไก่พื้นเมือง 10 ครัวเรือน และครัวเรือนเลี้ยงปลา 10 ครัวเรือน

  • มีศูนย์เรียนรู้การผลิตอาหารปลอดภัย โดยมีฐานการเรียนรู้ จำนวน 5 ฐาน ได้แก่ ฐานปลูกผัก ฐานเลี้ยงปลา ฐานเลี้ยงไก่ ฐานผลิตปุ๋ยชีวภาพและฐานการจัดทำบัญชีครัวเรือน

  • มีธนาคารพันธุ์ผักพื้นบ้านและสมุนไพรอาหาร จำนวน 1 แปลงโดยมีผักและสมุนไพรอย่างน้อย 25 ชนิด
  • มีแปลงผักร่วมสวนยางพารา(สวนสมรม) จำนวน 2 แปลง
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกในบริหารจัดการโครงการ
ตัวชี้วัด : 1.1 มีคณะทำงานโครงการ 15 คน 1.2 มีการประชุมคณะทำงานทุกเดือน 1.3 มีการติดตามผลการดำเนินโครงการเป็นระยะอย่างน้อย 3 เดือน / ครั้ง
  • มีคณะทำงานโครงการ จำนวน 15 คน
  • มีการประชุมทุกเดือน
4 เพื่อพัฒนาสภาผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีสภาผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน จำนวน 30 คน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน แกนนำกลุ่มบ้าน กรรมการหมู่บ้าน ประธานชมรม อสม. แกนนำกลุ่มสตรี แกนนำกลุ่มผู้สูงอายุ แกนนำกลุ่มอาชีพ แกนนำกลุ่มเครื่องแกง กลุ่มสวัสดิการ เป็นต้น 2. สภาหมู่บ้านมีการประชุมทุกเดือน 3. ในการประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละแปดสิบ 4. ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
  • มีสภาผู้นำชุมชนที่ขับเคลื่อนงาน บริหารจัดการชุมชน จำนวน 35 คน และมีการแบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน
  • มีการประชุมทุกเดือน
  • ใช้วงคุยประชุมประจำเดือน เป็นวงในการวางแผน เตรียมงาน สรุปผลการดำเนินงานและรายงานผลการทำงาน อย่างชัดเจน
5 เพื่อให้คนในชุมชนผลิตอาหารปลอดภัยกินเอง
ตัวชี้วัด : 1. มีครัวเรือนต้นแบบในการผลิตอาหารปลอดภัยกินเอง จำนวน 80 ครัวเรือน
  • เกิดครัวเรือนต้นแบบในการผลิตอาหารปลอดภัยกินเอง จำนวน 120 ครัวเรือน
6 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
  • มีคณะทำงาน และผู้รับผิดชอบโครงการ เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง
  • มีการจัดทำป้ายรณรงค์สถานที่นี้ปลอดบุหรี่ จำนวน 2 ป้ายติดไว้ในสถานที่ประชุมและศูนย์เรียนรู้ฯ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คนในชุมชนได้เรียนรู้ด้านการบริโภคอาหารที่ไม่ปลอดภัยและนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการกิน (2) เพื่อปรับสภาพพื้นที่ของครัวเรือนในชุมชนให้เป็นครัวเรือนต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกในบริหารจัดการโครงการ (4) เพื่อพัฒนาสภาผู้นำชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน (5) เพื่อให้คนในชุมชนผลิตอาหารปลอดภัยกินเอง (6) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh