แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ซุปเปอร์มาร์เก็ตธรรมชาติ บ้านปะติมะ

รหัสโครงการ 58-03812 รหัสสัญญา 58-00-2080 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2015 - 15 ตุลาคม 2016

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง

ภาพถ่าย

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหา การวางแผนแก้ไขช่วยเหลือ ซึ่งสมาชิกไม่ค่อยได้มีโอกาสได้ร่วมกันปรึกษาหารือ เดิมต่างคนต่างทำ ต่างคนต่างอยู่ เมื่อมีโครงการนี้เข้ามาทำให้ต้องมีการจัดประชุมพูดคุยกันทุกเดือน จนเกิดเป็นการประชุมประจำเดือนของชุมชนที่มีข้อมูลจากที่อื่นๆมาแจ้งให้สมาชิกได้รับทราบทั่วกัน

ภาพถ่าย/บันทึกการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการใช้วิธีการจัดการใหม่ที่ชุมชนไม่เคยทำมาก่อน เช่น การจัดทำบุญหมู่บ้าน การเชื่อมความสัมพันธ์กับหมู่บ้านใกล้เคียงด้วยกิจกรรมแข่งแพ เป็นต้น

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีการจัดโครงสร้างชุมชน เช่นมีการนำเอาเยาวชนเข้ามาเป็นสมาชิกสภาผู้นำของชุมชน จนเกิดสภาเยาวชน ที่สมาชิกวางไว้ว่าจะให้เยาวชนกลุ่มนี้สานต่องานในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

แหล่งเรียนรู้ด้านเสรษฐกิจพอเพียง ด้านการจัดการตนเอง

ภาพถ่าย พื้นที่ชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

สมาชิกส่วนใหญ่ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ปฏิบัติตาม สุขบัญญัติ 10 ประการ อย่างสม่ำเสมอ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

สมาชิกมีการปลูกผักปลอดสารพิษและส่วนใหญ่ไ่ด้ออกไปหาซื้อนอกชุมชน จึงทำให้สมาชิกในชุมชนมีการบริโภคที่ปลอดภัย

นางอุไรรัตน์สังข์ดีเลขที่ 6/1หมู่ที่14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

นางอนงค์เทียมทันเลขที่ 16หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะ อำเภอพะโต๊ะจังหวีดชุมพร

นางพัชรีเชียงพิมายเลขที่ 10หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

นางบังอรทองหัตถาเลขที่ 15หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

นางปรีดารวดเร็วเลขที่ 23หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

นางยุพารวดเร็วเลขที่ 23/2หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

นางจุรีย์คงแก้วเลขที่21ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

หมู่บ้านเกษตรอินทรีย์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

สมาชิกชุมชนส่วนใหญ่ไม่ค่อนให้ความสำคัญกับการออกกำลังกาย เนื่องจากช่วงเช้ามืดจนถึงช่วงสาย(เก้าถึงสิบโมงยังอยู่ในสวนยาง)มีบางส่วนที่มีการออกกำลังกายอย่างค่อนข้างสม่ำเสมอ

นางสาวสุวรรณดีเทียมทันเลขที่ 16/1 หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะ อำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร

นางอนงค์เทียมทันเลขที่ 16หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะ อำเภอพะโต๊ะจังหวีดชุมพร

นางบังอรทองหัตถาเลขที่ 15หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

นางสาวสายหยุดเพ็ญดาราเลขที่ หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร

นางยุพารวดเร็วเลขที่ 23/2หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

นางจิมเทียมทัน เลขที่ ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

นางสาวบานชื่น วันริโกเลขที่ หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

นางกาญจนาวันริโกเลขที่ ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

สมาชิกบางส่วนที่ดื่มเหล้า จะไม่สูบบุหรี่ และที่สูบบุหรี่ส่วนมากเป็นใบจาก

สมาชิกที่เลิกเหล้าได้ มี นายสมศักดิ์พุ่มสุวรรณ นายหัสชัยแดงชนะ

ลด ละบุหรี่ มี นายธีรพงษ์ทองหัตถา บ้านเลขที่ 15/3 หมู่ที่ 14 ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร นายสมศักดิ์พุ่มมสุวรรณ บ้านเลขที่ 19/7 หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะ จังหวัดชุมพร นายหัสชัยแดงชนะบ้านเลขที่ 16/2ตำลบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร ส่วนที่เลิกบุหรี่
นายเสถียรทอง หัตถาบ้านเลขที่15/1หมู่ที่14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร
นายจำนง รวดเร็วบ้านเลขที่72/2 หมู่ที่14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร นายนันทพงษ์ สุวรรณแย้มบ้านเลขที่6ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การดำรงชีวิตในชุมชนนี้ ยังคงมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เนื่องจากสภาพภูมิประเทศที่ออกไปนอกพื้นที่ลำบาก จึงยังคงใช้ปพทย์แผนไทยและสมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เช่น การกวาดทราง การปวดท้อง ปวดหัว ยังคงให้หมอพื้นบ้านกวาดทราง ต้มยา ตำสมุนไพรพอกบริเวณเจ็ปปวด เป็นต้น

นางบังอรทองหัตถาเลขที่ 15หมู่ที่ 14ตำบลพะโต๊ะอำเภอพะโต๊ะจังหวัดชุมพร(หมอพื้นบ้านและอสม.)

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

สมาชิกชุมชนร่วมกับคณะกรรมการโครงการร่วมกันระดมทุนในการปรับปรุงถนนจุดเสี่ยงภายในหมู่บ้าน ให้ลดความเสี่ยงลงเด็กและเยาวชนสามารถเดินทางไปเรียนหนังสือในช่วงฤดูฝนได้สะดวกขึ้น

ภาพถ่าย/บัญชีกองทุน

ชุมชนจัดการตนเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีการปลูกป่าในพื้นที่น้ำตกปรับสภาพแวดล้อมของน้ำตกให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวโดยทำร่วมกับป่าไม้ในพื้นที่และเจ้าหน้าที่จากอุทยานหงาว มีการจัดทำป้ายน้ำตก ส่งผลให้น้ำตกเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีนักท่องเที่ยวจากน้อกพื้นที่เข้าไปเที่ยว มีการปรับภูมิทัศน์สองข้างทางเข้าชุมชน มีการจัดการขยะคัดแยกและนำไปทำปุ๋ยใช้แทนสารเคมี

ภาพถ่าย/กติกาชุมชน

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

มีอาสาที่มาจากสมาชิกชุมชนช่วยเหลือสอดส่องความสงบเรียบร้อยของหมู่บ้าน มีการปรับถนนจากที่เป็นดินเหนียวปนลูกรังที่ลื่นในช่วงฟดูฝนและมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นจนบางครั้งเด็กนักเรียนไม่ได้ไปโรงเรียนเพราะออกไปไม่ได้ ปรับเป็นใส่หินคลุก บ้าง ทำคอนกรีตบ้างแล้วแต่งบที่สมาชิกบริจาค ในส่วนที่มีความเสี่ยง เพราะอุปกรณ์ทุกอย่างที่ทำสมาชิกชุมชนช่วยกันบริจาค

ภาพถ่าย/กติกาชุมชน

หมู่บ้านต้นแบบด้านการจัดการตนเอง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

สมาชิกชุมชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ ทำเครื่องจักรสาน รวมตัวกันนำผลผลิตไปขายโดยเฉพาะผลไม้ มีการต่อรองราคา ทำให้ราคาค่อนข้างดีขึ้นจากต่างคนต่างขาย สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้น

ภาพถ่าย/พื้นที่ชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

ชุมชนมีการร่วมกันจัดทำข้อตกลงร่วมกันในการอยู่กันของสมาชิก

  1. กำหนดให้มีการประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านและกลุ่มต่างๆทุกวันที่ 8 ของเดือน โดยให้มีตัวแทนครัวเรือนอย่างน้อยบ้านละ 1 คน เข้าร่วมประชุม 2. กำหนดให้มีการพัฒนาเส้นทางเข้าหมู่บ้านในทุกๆ 3 เดือน โดยกำหนดเป็นทุกวันที่ 10 ของเดือนนั้นๆ 3. เรื่องของกองทุนภัยพิบัติที่มีการระดมทุนทุกเดือนๆละ 20 บาท จะมีการบริหารจัดการในลักษณะโซน เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนกำหนดการแบ่งเก็บเป็น 3 โซน ได้แก่ 1) โซนคลองหรั่ง 2)โซนคลองพละ 3) โซนกลางบ้าน ให้ประชาชนส่งได้ที่ตัวแทนกรรมการที่รับผิดชอบของแต่ละโซน 4. เรื่องขยะในชุมชน ห้ามทิ้งขยะบริเวณเส้นทางสัญจรของหมู่บ้านทุกเส้นทาง และให้แต่ละบ้านมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งเพื่อลดปริมาณขยะ 5. ให้ทุกคนร่วมกันอนุรักษ์ป่าและเพิ่มพื้นที่ป่าด้วยการปลูกป่าปีละครั้ง 6. ห้ามทุกคนล่าสัตว์ป่าสงวนในพื้นที่ป่า หากผ่าฝืนจำเป็นต้องนำตัวส่งเจ้าหน้าที่เพื่อดำเนินการตามกฏหมาย 7. ห้ามลักขโมยของ ของผู้อื่น หากมีการทำผิดต้องนำตัวส่งตำรวจเพื่อดำเนินการตามกฏหมาย 8. ห้ามนำยาเสพติดเข้ามาในหมู่บ้านหากพบเจอจำเป็นต้องปฏิบัติตามหน้าที่จับและนำตัวส่งตำรวจ 9. ให้ทุกคนดูแลรักษาและทรัพยากรธรรมชาติของหมู่บ้านไว้ให้เสมือนเป็นทรัพย์สมบัติของตนเอง

ธรรมนูญตำบล

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการประสานเชื่อมโยงกับหน่วยงานทั้งในและนอกชุมชนรวมทั้งเชื่อมประสานกับหมู่บ้านอื่นๆ มีการระดมสมาชิกไปช่วยเหลือซึ่งกันและกันโดยเฉพาะการพัฒนาหมู่บ้าน

ภาพถ่ายกิจกรรมที่ร่วมกัน เช่น การเทหินคลุก การทำถนน จะมีภาคีจากหมู่ 12 หมู่ 15 และหมู่ 1 มาร่วมพัฒนา ในขณะที่หากหมู่บ้านเหล่านี้มีกิจกรรมหมู่บ้านปะติมะจะไปร่วมงานด้วย เป็นการสร้างสัมพันธ์ที่เรียกว่า "ตามแรง" ที่คนสมัยก่อนเขาใช้กันมาฟื้นฟู เพื่อให้เด็กรุ่นหลังได้เห็นและสานต่อ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

มีการจัดเวทีนำปัญหาของชุมชนที่เกิดขึ้นหรือพบใหม่มาพูดคุยแลกเปลี่ยนกันจนตกผลึกจึงจะนำไปวางแผนแก้ไขและปฏิบัติ ประเมินผลซึ่งจะมีสมาชิกบางส่วนที่เป็นฝ่ายติดตามประเมินผลรวมทั้งสมาชิกชุมขนทั่วไปพบเห็นนำมาเปิกเวทีพูดคุยกันและปรับปรุงแก้ไขต่อไป

ภาพถ่ายการจัดเวที/ประเด็นปัญหาที่พบหามาสู่การแก้ไข เช่น ถนนลื่นช่วงฤดูฝนนักเรียนไปโรงเรียนไม่ได้ นำสู่การจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติ นำเงินส่วนนี้มาปรับปรุงถนน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติที่สมาชิกรวมตัวกันจัดตั้งขึ้น โดยมีการอาสาเป็นคณะกรรมการ มีทะเบียนสมาชิก มีระเบียบการใช้เงินที่ชัดเจน มีการประชุมพิจารณาทั้งคณะกรรมการและสมาชิกก่อนนำเงินไปใช้ การเก็บเงินเบื้องต้นลงขันกันครัวเรือนละ 100 บาท ส่วเดือนต่อไปเก็บทุกเดือนๆละ 20 บาทต่อครัวเรือน

สมุดเงินฝาก/ทะเบียนสมาชิก/ระเบียบการใช้เงิน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่องทั้งในส่วนของกองทุนภัยพิบัติ การทำเศรษฐกิจพอเพียง และการดำเนินตามกติกาชุมชนที่วางไว้ ฯลฯ

ภาพถ่ายกิจกรรม

พัฒนาเป็นวัฒนธรรมองค์กร

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีการใช้ข้อมูลของชุมชนมาจัดการปัญหาและมีการทบทวนถอดบทเรียนผลงานหรือกิจกรรมที่ทำเพื่อสรุปนำเสนอสมาชิกหมู่บ้าน

ภาพถ่าย/การบันทึกการถอดบทเรียน

จัดเก็บและจัดทำเป็นการเรียนรู้ของชุมชนเพื่อให้คนรุ่นหลังได้นำไปปรับใช้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

จากการทำโครงการครั้งนี้ทำให้คณะกรรมการได้รู้ถึงวิธีการที่เป็นระบบไม่ได้เกิดจากความรู้สึกแต่เป็นการนำข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงมาถกแถลงกันก่อนตัดสินใจนำไปปฤิบัติการหรือทำแผนพัฒนา

บันทึกรายงานการประชุม

บันทึกรายงานการประชุมของชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ผู้ช่วยแอ๊ส(นางสาวสุวรรณดี เทียมทัน) กล่าวด้วยความภาคภูมิใจว่างานนี้ทุกคนในชุมชนมีส่วนช่วยให้เกิดขึ้น ดีใจที่ทุกคนให้ความไว้วางใจ ทั้งที่ตอนแรกคิดว่าอาจทำได้ไม่ดี เพราะผู้ใหญ่ไม่เข้ามามีส่วนร่วมแต่ผู้ใหญ่รับรู้ไม่ขัด นอกจากสมาชิกในชุมชนจะสนับสนุนแล้วยังได้สมาชิกจากหมู่บ้านใกล้เคียงที่เข้ามาร่วมทำกิจกรรมด้วย ทำให้ชุมชนมีการพัฒนาในหลายเรื่อง โดยเฉพาะน้ำตกที่มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชม ถนนที่ไม่ต้องนั่งรองบจากหน่วยงานรัฐ แต่สามารถทำกันเองได้ อาจช้าแต่สามารถขยายไปได้ ทำให้คนจากภายนอกสามารถเข้ามาในชุมชนได้ ที่ผ่านมาเมื่อใครจะมาเยี่ยมเห็นทางเข้าหมู่บ้านแล้วจะถอยเกือบทุกราย(ทางเข้าหมู่บ้านเชื่อมกับถนนสายหลักของอำเภอ) แต่เป็นถนนที่ไม่มีหน่วยงานเข้าไปพัฒนาเนื่องจากพื้นที่บางส่วนเป็นพื้นที่ป่า คงมีแต่หน่วยงานป่าไม้ที่ให้การสนับสนุนเต็มที่เพราะหน่วยงานตั้งอยู่ในพื้นที่ชุมชน
น้องอร(นางบังอร ทองหัตถา) เป็นตัวตั้งตัวตีในการจัดการเรื่องอาหาร เรื่องการประสานงาน น้องอรบอกว่าหมู่บ้านนี้ไม่มีใครเขาเข้ามาเหลียวแล มีแต่กลุ่มป้าเบญที่เข้ามาเป็นกลุ่มแรก เกิดอะไรดีในหมู่บ้านเยอะมาก หมู่บ้านได้รับการพัฒนา หากป้าเบญไม่เข้ามาและไม่ไปเชื่อมกับอำเภอก็คงเดียวดายเหมือนเดิมแต่ตอนนี้หลายส่วนของรัฐได้เข้ามาเยี่ยมมาสนับสนุนมากขึ้น หากทีมงานป้าไม่เข้ามาสิ่งต่างๆที่เห็นเหล่านี้จะมีหรือไม่ก็ไม่รู้ ยังอยากให้เข้ามาร่วมสนับสนุนให้กำลังใจอีกอย่างต่อเนื่อง พี่เหน่ง (นายเสน่ห์สอนสุทธิ์) ซึ่งเป็นปราญช์ชาวบ้านที่เข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้านทุกครั้ง พี่เขาบอกว่าที่ชอบมากๆคือเวลาประชุมมีข้อกำหนดว่าไม่ให้สูบบุหรี่ และถ้าใครสูบจะถูกไล่ให้ออกไปสูบที่อื่น บอกให้เคารพสถานที่บ้างเขาติดป้ายแขวนไว้ควรให้เกียรติถ้าหากหมู่บ้านมีการจัดกิจกรรมแบบนี้อีกจะให้ความร่วมมือทุกครั้งไป

นางสาวสุวรรณดีเทียมทัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นางบังอรทองหัตถาคณะกรรมการโครงการ นายเสน่ห์สอนสิทธิ์ปราชญ์ชาวบ้าน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ส่วนใหญ่มองว่าประโยชน์ของตนเองสำคัญแต่ถ้าเป็นของส่วนรวมน่าจะสำคัญกว่า เพราะทำแล้วได้ประโยชน์ต่อคนส่วนใหญ่ของชุมชน

นางสาวสุวรรณดีเทียมทัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นางบังอรทองหัตถาคณะกรรมการโครงการ นางจุไรรัตน์ สังข์ดี คณะกรรมการโครงการ นายเสน่ห์สอนสิทธิ์ปราชญ์ชาวบ้าน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

สมาชิกส่วนใหญ่ในชุมชนออกไปติดต่อนอกพื้นที่ส่วนน้อยเพราะเส้นทางไมาสะดวก เมื่อได้มีโอกาสเรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงก็กลับมาทำให้ชุมชน ทำให้ส่วนใหญ่ใช้ทุกอย่างที่สร้างในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์ โดยเฉพาะเรื่องการบริโภค ส่วนประกอบอาหารมีอยู่ในชุมชนสมกับที่สมาชิกต้องการให้เป็นซุปเปอร์มาเก็ตหาได้ทุกอย่างไม่ว่ากุ้ง หอย ปู ปลา(น้ำจืด) ส่วนผักมีทุกชนิด ไม่จำเป็นต้องไปหาซื้อนอกพื้นที่

นางสาวสุวรรณดีเทียมทัน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน นางบังอรทองหัตถาคณะกรรมการโครงการ นางจุไรรัตน์ สังข์ดี คณะกรรมการโครงการ นางอรอุมาหิรัญเรือง คณะกรรมการโครงการและอสม.

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

ชุมชนมีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการลงแรงกันหมุนเวียนในงานบุญ งานแต่ง งานบวช ในชุมชน ใครมีความเดือดร้อนให้การช่วยเหลือ เป็นที่ปรึกษากันและกัน

ภาพถ่าย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

มีการพูดคุยร่วมกันอย่างมีเหตุมีผลก่อนการตัดสินใจเรื่องใดๆในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ