directions_run

อนุรักษ์ เพิ่ม สร้าง ทรัพยากรชายฝั่งเพื่อเศรษฐกิจชุมชนอ่าวหลังแดง

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ได้สภาผู้นำ จำนวน 30 คน 2. ประชุมสภาผู้นำทุก 1 เดือน จำนวน 12 ครั้ง 3. สมาชิกสภาผู้นำเข้าประชุมไม่น้อยกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ 4. การประชุมมีการพูดคุยเรื่องโครงการ และสถานการณ์ปัญหาอื่นๆในชุมชนทุกครั้ง

 

 

  • เกิดสภาผู้นำอ่าวหลังแดง จำนวน 30 คน มีการประชุมทุกเดือน มีสมาชิกเข้าร่วมประชุมคบทุกครั้ง คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ แต่ละครั้งมีการรายงานผลการทำกิจกรรม และวางแผนการทำกิจกรรมร่วมกัน
2 เพื่ออนุรักษ์พันธุ์ ฟื้นฟู สัตว์น้ำและทรัพยากรอ่าวหลังแดง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกลุ่มกระชังเลี้ยงปูไข่ เพื่อป้องกันการลดลงของสัตว์น้ำ 2. เกิดธนาคารปู จำนวน 1 ธนาคาร 3. เกิดแปลงเพาะต้นกล้าป่าชายเลน อย่างน้อย 1 แปลง (จำนวน 800 ต้น)

 

 

ไม่เกิด

3 5.เพื่อลดการทำลายทรัพยากรและสัตว์น้ำในอ่าวหลังแดง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดกฎกติกาและมาตรการจับสัตว์น้ำที่ไม่ทำลายระบบนิเวศน์และถูกต้อง เช่น ข้อตกลงในการใช้เครื่องมือประมง ขนาดของสัตว์น้ำที่สามารถจับมาขายได้ ช่วงเวลาที่จับสัตว์น้ำได้ ไม่จับปลาในฤดูวางไข่

 

 

ไม่เกิด

4 เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังอ่าวหลังแดง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดเครือข่ายออกลาดตระเวนตรวจตราการใช้เครื่องมือประมงผิดกฏหมาย 2. เกิดแหล่งเรียนรู้การทำประมงพื้นบ้าน 3. เกิดกลุ่มเยาวชนอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ขับเคลื่อนกิจกรรมในพื้นที่

 

 

  • เกิดกลุ่มเยาวชนเข้าร่วมเก็บข้อมูลชุมชนจำนวน .........คน
5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

  • เข้าร่วมประชุมร่วมกับ สจรส.ม.อ.จำนวน 3 ครั้ง คือ ประชุมปฐมนิเทศโครงการ ประชุมอบรมการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน และประชุมจัดทำรายงานความก้าวหน้า