stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวนาบ้านควนเงิน
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03870
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 193,450.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาว เบญจรัตน์ ทองเมือง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 075355649,0898816292
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ senee,นายณรงค์ เทียมเมฆ
พื้นที่ดำเนินการ บ้านควนเงินหมู่ที่ 2ตำบลบ้านตูล อำเภอชะอวด จ.นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.0344244556999,99.942465349987place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 27 ก.พ. 2559 77,380.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 96,725.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 19,345.00
รวมงบประมาณ 193,450.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อสร้างการเรียนรู้ สร้างความตระหนักในผลกระทบของการบริโภคที่ไม่ปลอดภัยและการใช้สารเคมีในการทำนาเพื่อให้คนในชุมชนปรับพฤติกรรมและฟื้นฟูวิถีการทำนาอินทรีย์
  1. มีเวทีเรียนรู้ มีคนเข้าร่วมเวทีจำนวนมีครัวเรือนตัวแทนของคน 3 วัย ที่ตัดสินเข้าร่วมเป็นครัวเรือนนำร่องจำนวน 25 ครัวเรือน
  2. มีชุดข้อมูลผลกระทบของการทำนาเคมี/ค่าใช้จ่ายในการซื้อข้าว/ปริมาณการกินและการคืนข้อมูลแก่ชุมชน
  3. มีแผนปฏิบัติการหนุนเสริมการทำนาอินทรีย์อย่างต่อเนื่อง
  4. มีชาวนาและเยาวชนที่มีความรู้และสามารถในการจัดการแปลงนา/การทำและใช้ปุ๋ยชีวภาพ/วิธีการบำรุงรักษา/การป้องกันและกำจัดศัตรูพืช/การคัดพันธ์ข้าว/การเก็บเกี่ยวข้าว/การทำนาต้นทุนสูงเปรียบเทียบกับการทำวิถีนาอินทรีย์ที่สามารถลดต้นทุน พึ่งตนเองในการทำนาและเอื้อต่อสุขภาวะของชุมชน จำนวน 30 คน
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
3 2.เพื่อหนุนเสริมให้เกิดปฏิบัติการในการลดต้นทุนการผลิตและ ลดละ เลิกการใช้สารเคมี
  1. มีแปลงผลิตข้าวอินทรีย์ 25 แปลง 25 ครัวเรือน
  2. มีกลุ่มผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ จำนวน 1 กลุ่ม
  3. มีกองทุนเมล็ดพันธ์ข้าว
  4. มีข้าวปลอดภัยไว้บริโภคในหมู่บ้านไม่น้อยกว่า 10 ตัน
  5. มีกฏกติกาของกลุ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำนา
4 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพกลไกสภาผู้นำชุมชนและคณะทำงานรับผิดชอบการผลิตข้าวอินทรีย์ในชุมชน
  1. เกิดสภาผู้นำชมชนมี จำนวน 50 คน มีการประชุมเดือนละครั้ง มีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ในการประชุมแต่ละครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
  2. มีกลุ่มครัวเรือนนำร่องผลิตข้าวกินเอง จำนวน 25 ครัวเรือน จากครัวเรือนทำนาทั้งหมด 60 ครัวเรือน
  3. มีกลุ่มผลิตและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ จำนวน 1 กลุ่ม
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 พ.ค. 2558 11:15 น.