stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ บ้านโปนปลอดสารพิษด้วยวิถีชีวิตพอเพียง
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03888
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 212,960.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาง อรสา เจริญผล
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 081-0778461
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ น.ส.รัชฎาภรณ์ จันทสุวรรณ์
พื้นที่ดำเนินการ บ้านโปน ม.4 ต.อินคีรี อ.พรหมคีรี จ.นครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด 8.5289692871302,99.920301103775place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 5 มี.ค. 2559 85,190.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 6 มี.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 106,480.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 21,290.00
รวมงบประมาณ 212,960.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ครัวเรือนมีความรู้ สามารถปลูกผักปลอดสารพิษ และสามารถลดค่าใช้จ่ายในการซื้อผักของครอบครัว
  1. ครัวเรือนเป้าหมายอย่างน้อย 80 ครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายในการซื้อพืชผักลดลงอย่างน้อยร้อยละ 50
  2. ครัวเรือนอย่างน้อย 40 ครัวเรือนมีการจัดทำบัญชีครัวเรือน
  3. ครัวเรือนอย่างน้อย 80 ครัวเรือนมีต้นทุนทางการเกษตร เช่น การใช้ปุ๋ยเคมี สารเคมี ลดลง
  4. ครัวเรือนอย่างน้อย 80 ครัวเรือนปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือนอย่างน้อย 10 ชนิด
  5. มีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องการทำเกษตรปลอดสารพิษ การทำการเกษตรแบบพึ่งตนเอง โทษของการใช้สารเคมีในการเกษตร
2 คนในชุมชนมีระดับสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยง/ไม่ปลอดภัยลดลง
  1. เจ้าหน้าที่รพ.สต. หรือผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ตรวจสารเคมีในเลือดในกับคนในชุมชนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
  2. คนในชุมชนอย่างน้อย 120 คนได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือด
  3. คนที่มีสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัยอย่างน้อยร้อยละ 60 มีสารเคมีในเลือดอยู่ในระดับปกติ
  4. คนในชุมชนอย่างน้อย 120 คนได้รับความรู้เกี่ยวกับโทษของการใช้สารเคมีในการเพาะปลูกทั้งต่อสิ่งแวดล้อม และต่อสุขภาพ
3 สภาผู้นำทำให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการทำเกษตรปลอดสารพิษในชุมชน
  1. เกิดกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ 1 กลุ่ม
  2. เกิดศูนย์เรียนรู้การทำเกษตรปลอดสารพิษ 1 แห่ง
  3. เกิดสภาผู้นำ (ทางการ/ไม่เป็นทางการ) โดยสมาชิกมีการประชุมเพื่อทราบแนวทางการดำเนินโครงการ ความก้าวหน้าของโครงการ และเรื่องอื่นๆ ในชุมชนเดือนละ 1 ครั้ง และร่วมบริหารจัดการการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในชุมชน
  4. สมาชิกในสภาผู้นำเข้าร่วมประชุมอย่างน้อยร้อยละ 80 ในการประชุมแต่ละครั้ง
  5. กลุ่มปลูกผักปลูกสารพิษมีการรวมกลุ่มกันเพื่อขายสินค้าในวันที่มีกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน และขายสินค้าปลอดสารพิษให้กับแม่ค้าในชุมชนเพื่อนำไปขายต่างชุมชน
4

 

5

 

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 พ.ค. 2558 21:52 น.