task_alt

ชุมชนสามัคคีปลอดโรค ปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียง หมู่ที่ 3 บ้านถ้ำทะลุ

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ ชุมชนสามัคคีปลอดโรค ปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียง หมู่ที่ 3 บ้านถ้ำทะลุ

ชุมชน หมู่ที่ 3 บ้านถ้ำทะลุ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 58-03928 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2187

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กันยายน 2558 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม

วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

วัตถุประสงคเพื่อการเสริมสรางสมรรถนะขีด ความสามารถของผูรับทุนดานตางๆ ที่เกี่ยวของ ผานกระบวนการ ปฐมนิเทศ การอบรมการเขียนรายงาน การจัดการ เอกสารการเงิน และการติดตามสนับสนุนโครงการ เพื่อใหสามารถนําความรูไปปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง ดังนี้ - ใบลงทะเบียนต้องมีรายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม - บันทึกการประชุม วาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุมพร้อมภาพถ่ายกิจกรรม - กรณีมีค่าอาหาร ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงินหรือใบบิลเงินสด (ถ้าเกิน 5000 บาท ต้องแนบสำเนาบัตรประชาชนทุกครั้ง) - กรณีจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (ค่าวัสดุ คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อวัสดุสิ้นเปลืองในการทำกิจกรรม ได้แก่ วัสดุเครื่องเขียน วัสดุสำนักงาน วัสดุโฆษณาและเผยแพร่) ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงิน/บิลเงินสด โดยออกจากร้านมีชื่อที่อยู่ของร้านชัดเจน มีเลขกำกับภาษี/เลขบัตรประชาชน ของเจ้าของร้าน บิลออกในนามโครงการของพื้นที่ตนเอง - ค่าใช้สอย ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าถ่ายเอกสาร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม - ค่าตอบแทน ได้แก่ ค่าตอบแทนวิทยากร กรณีเป็นรายชั่วโมง ต้องมีความรู้ความชำนาญ กรณีเป็นปราญชชาวบ้าน หรือ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. คิดเป็นรายชั่วโมง 600 บาท,กรณีเป็นคนต่างพื้นที่ สามารถเบิกได้ 1000 บาท/วัน - ใบสำคัญรับเงินจะต้องไม่มีรอยลบ รอยขูดหรือรอยขีดเขียน **ห้ามใช้ใบส่งของแทนบิลเงินสดหรือใบสำคัญรับเงิน

2.รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม จะต้องมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย มากกว่า หรือเท่ากับ 5-10 % ของเป้าหมายที่วางไว้

3.รับรู้การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ - ทุกกิจกรรมจะต้องมีการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมและรายละเอียดทางการเงิน ในเว็ปไซต์ www.happynetwork.org

4.สามารถรับรู้ถึงกระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ

5.การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

• ปฐมนิเทศโครงการฯ • เรียนรู้การรายงานผลทางเวปไซด์ • ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง • กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล • การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ • การป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

กิจกรรมที่ทำจริง

• ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง • กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล • การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ • การป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

 

2 2

2. ประชุมทีมงาน ครั้งที่ 1 ตค.

วันที่ 17 ตุลาคม 2558 เวลา 08.30-16.00 o. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  1. คัดเลือกแกนนำเพื่อสร้างทีมทำงานในการขับเคลื่อนกิจกรรมตามโครงการ2. จัดตั้งสภาผู้นำ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีสภาผู้นำจำนวน 1ชุดและมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงาน
  2. มีการประชุมสภาผู้นำทุกเดือน 3.การประชุม แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ80
  3. การประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่น ๆ ของชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ในการประชุมคัดเลือกคณะกรรมการสภาผู้นำชุมชนในที่ประชุมได้เสนอให้มีคณะกรรมการที่มาจากหลายกลุ่มเพื่อเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนและดำเนินงานในกิจกรรมต่างๆในโครงการ

  • รายชื่อทีมงานสถาผู้นำดังนี้คือ

  1. นายสันติดาราหมานเศษประธานโครงการ
  2. นางนูรีย๊ะหวังกุหลำเหรํญญิก
  3. นางสีตีสามัญประชาสัมพันธ์
  4. นารอเกี๊ยะมรรคาเขคประชาสัสัมพันธ์
  5. นางสาวจีรนาอาดตันตราบันทึกข้อมูล
  6. นายเอกรัตญ์ปังหลีเส็นปฏิคม
  7. นายไพศาลหวังกุหลำ
  8. นายอบูบากากคงแก้ว
  9. นายอูหมากอาดตันตรา(กรรมการมัสยิด)
  10. นายเฉนสมายุ้ย(อบต.)
  11. นายสมชายมาลา(อิหม่าม)
  12. นายวิรัตสามัญ(ใหญ่บ้าน)
  13. นายฮาหมิดแกสมาน
  14. นางสาวยารอนีสมายุ้ย
  15. นางสอเปี๊ยะหลีเส็น
  16. นางสาน๊ะหลีเส็น
  17. นายยูโสบเพ็ชรเนียม
  18. นายรอเฉดลัสมาน (หมอดิน)
  19. นายสันใบหมาดปันจอร์(ปราชญ์ชาวบ้าน)
  20. นางสาวนูรีสาเกษมสัน
  21. นางสาวต่วนวรรณยาดาราหมานเศษ
  22. นายบากา อาดำ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คัดเลือกและแต่งตั้ง สภาผู้นำชุมชนโดยคัดเลือกจากคณะกรรมการหมู่บ้านและผู้นำแบบไม่เป็นทางการ ในชุมชนที่มีความหลากหลายกลุ่ม เช่น อสม กลุ่มกองทุน เยาวชน โดยคัดเลือกตัวแทนจาก 2 โซน เหนือและใต้ จำนวน 22 คน
  2. จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และขั้นตอนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการตลอดจนเพื่อสร้างความเข้าใจและความรู้ความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
  3. จัดทำแผนการประชุม ติดตามการดำเนินงานจำนวน10ครั้ง
  4. ทำคำสั่งแต่งตั้งทีมทำงาน
  5. เลขาทีมรับผิดชอบโครงการ ประเมินผลและสรุปกิจกรรม
  6. จัดทำแผนร่วมกัน ในการติดตามโครงการและการพบปะพูดคุยเพื่อการประเมินผลโครงการเป็นระยะๆ จำนวน 10ครั้ง.
  7. มีการประชุมประจำเดือนเพื่อปรึกษาหารือเรื่องโครงการและปัญหาต่าง ๆ ของชุมชนทุกเดือน

กิจกรรมที่ทำจริง

ประธานโครงการได้กล่าวต้อนรับผู้ที่มาเข้าร่วมประชุมและพี่เลี้ยงได้ชี้แจงรายละเอียนเกี่ยวกับกิจกรรมในครั้งนี้ว่าเป็นกิจกรรมที่จะมาคัดเลือกตัวแทนเพื่อที่จะตั้งสภาผู้นำเพื่อที่จะมาเป็นตัวขับเคลื่อนดำเนินโครงการต่อไปในที่ประชุมได้มีการคัดเลือกตัวแทนตั้งเป็นคณะกรรมการสถาผู้นำเข้ามาทำงานจำนวน 22 คน จากตัวแทนกลุ่มต่างๆจากกลุ่มผู้นำที่เป็นทางการ (ผู้นำชุมชนผู้นำศาสนาผู้นำท้องถิ่นอบต.)กลุ่มสตรีกลุ่มเยาวชน จาก 2 โซนในหมู่บ้าน เหนือและใต้ซึ่งได้ เพื่อเป็นแกนนำในการดำเนินโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

 

22 22

3. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สสส.

วันที่ 19 ตุลาคม 2558 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ สสส.  สร้างสัญลักษณ์การทำงานเป็นทีม และประชาสัมพันธ์ภาระกิจการดำเนินงานของ สสส.

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีการจัดเปิดตัวโครงการ จำนวน 1 ครั้ง
  2. มีข้อเสนอแนะโครงการจากการจัดกิจกรรม
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ร้อยละ 80

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ชุมชนได้รับรู้ถึงวัตถุประสงค์และที่มาของงบประมาณการจัดกิจกรรมของโครงการ -ประชาชนได้รับทราบถึงภาระกิจการดำเนินงานของสสส. มากขึ้นและมีความสนใจในกิจกรรมของโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คณะสภาผู้นำชุมชนเตรียมความพร้อม การเปิดตัวโครงการ เพื่อร่วมกำหนดรูปแบบกิจกรรม มอบมายความรับผิดชอบ และร่วมกำหนดวันในการดำเนินงาน
  2. จัดทำหนังสือเชิญผู้เกี่ยวข้อง ตัวแทนครัวเรือน จำนวน 91 คน
  3. ทีมทำงาน ประสาน กลุ่ม อสม. ในการร่วมแจกหนังสือเชิญในเขตที่รับผิดชอบของตนเอง
  4. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เสื้อทีมสภาชุมชนพร้อมโลโก้ สสส. เพื่อเป็นประชาสัมพันธ์โครงการ สสส. เชิงสัญลักษณ์การทำงานเป็นทีม และการเสริมพลังการทำงาน
  5. ทีมงานเตรียมความพร้อม ด้านข้อมูล ด้านสถานที่ อุปกรณ์ และเชิญภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม อาทิ อบต ควนโดนรพ,สต ควนโดนเกษตรตำบล พัฒนาชุมชนกศน.
  6. พี่เลี้ยงในพื้นที่ประชาสัมพันธ์ภาระกิจการดำเนินงานของสสส.
  7. จัดเปิดตัวโครงการ โดยฉายวีดีทัศน์ หมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงและผู้รับผิดชอบโครงการ นำเสนอข้อมูล แผนงานโครงการ รายละเอียดงบประมาณ การประเมินผล
  8. เปิดเวทีข้อซักถาม และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  9. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
  10. ทีมงานสรุปผลการจัดกิจกรรม

กิจกรรมที่ทำจริง

  • จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผ่านป้ายไวนิลและจัดทำเสื้อทีมสภาชุมชนพร้อมโลโก้ สสส. เพื่อเป็นประชาสัมพันธ์โครงการ สสส. เชิงสัญลักษณ์การทำงานเป็นทีม และการเสริมพลังการทำงาน
  • พี่เลี้ยงในพื้นที่ประชาสัมพันธ์ภาระกิจการดำเนินงานของสสส.

 

22 22

4. เปิดตัวโครงการและประชาสัมพันธ์สสส.

วันที่ 23 ตุลาคม 2558 เวลา 13.30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานโครงการ ปี 2558

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีการจัดเปิดตัวโครงการ จำนวน 1 ครั้ง
  2. มีข้อเสนอแนะโครงการจากการจัดกิจกรรม
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ร้อยละ 80

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

• คนในชุมชนเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ และเห็นด้วยกับโครงการที่จะเกิดขึ้น
• ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมซึ่งก่อให้เกิดความสามัคคี • ประชาชนให้ความสนใจในเรื่องสุภาพกันมากขึ้น • ทุกคนอย่ากให้หมู่บ้าน/ชุมชนมีความสสุขสามัคคี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คณะสภาผู้นำชุมชนเตรียมความพร้อม การเปิดตัวโครงการ เพื่อร่วมกำหนดรูปแบบกิจกรรม มอบมายความรับผิดชอบ และร่วมกำหนดวันในการดำเนินงาน
  2. จัดทำหนังสือเชิญผู้เกี่ยวข้อง ตัวแทนครัวเรือน จำนวน 91 คน
  3. ทีมทำงาน ประสาน กลุ่ม อสม. ในการร่วมแจกหนังสือเชิญในเขตที่รับผิดชอบของตนเอง
  4. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เสื้อทีมสภาชุมชนพร้อมโลโก้ สสส. เพื่อเป็นประชาสัมพันธ์โครงการ สสส. เชิงสัญลักษณ์การทำงานเป็นทีม และการเสริมพลังการทำงาน
  5. ทีมงานเตรียมความพร้อม ด้านข้อมูล ด้านสถานที่ อุปกรณ์ และเชิญภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม อาทิ อบต ควนโดนรพ,สต ควนโดนเกษตรตำบล พัฒนาชุมชนกศน.
  6. พี่เลี้ยงในพื้นที่ประชาสัมพันธ์ภาระกิจการดำเนินงานของสสส.
  7. จัดเปิดตัวโครงการ โดยฉายวีดีทัศน์ หมู่บ้านต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงและผู้รับผิดชอบโครงการ นำเสนอข้อมูล แผนงานโครงการ รายละเอียดงบประมาณ การประเมินผล
  8. เปิดเวทีข้อซักถาม และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  9. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
  10. ทีมงานสรุปผลการจัดกิจกรรม

กิจกรรมที่ทำจริง

เวลา13.30 น. ประชาชนได้เริ่มมาลงทะเบียนเริ่มต้นเปิดกิจกรรมด้วยนายสันติดาราหมานเศษ ประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมและแนะนำคณะทำงานพี่เลี้ยงโครงการและกล่าวถึงที่มาของโครงการซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนมาจากสำนักงานกองทุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)ทางโครงการชุมชนสามัคคีปลอดโรค ปลดหนี้ด้วยวิถีพอเพียง หมู่ที่ 3 บ้านถ้ำทะลุได้รับงบทั้งหมด212,030บาทโดยจะมีการแบ่งการโอนเงินเข้ามาเป็นงวดๆมีทั้งหมด 3 งวดตามกิจกรรมของโครงการเพื่อเป็นการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่และเกิดความสามัคคีโดยใช้กระบวนการกิจกรรมในโครงการเป็นตัวเชื่อมสัมพันธ์และเพื่อได้รู้ถึงสาเหตุปัญหาในชุมชนเพื่อนำมาเป็นแนวทางในการกำหนดวางแผนในการแก้ไขต่อไปโดยใช้การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาหลังจากนั้นในช่วงท้ายกิจกรรมเป็นการซักถามข้อสงสัยต่างๆ ในการทำกิจกรรมซึ่งบรรยากาศเป็นไปด้วยความเป็นกันเอง และมีประชาชนหลายคนได้ถามเกี่ยวกับสถานการหมอกควันที่ปกคลุมอยู่ในขณะนี้ด้วยว่าจะรับมืออย่างไรซึ่ง อสม.ในพื้นที่ก็ได้เตรียมหน้ากากมาแจกให้ชาวบ้านด้วยพร้อมกับพี่เลี้ยงได้ทำการสาธิตวิธีใช้ไห้ถูกต้องผู้เข้าร่วมประชุมให้ความสนใจและแสดงความต้องการเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในครั้งต่อไป

 

91 91

5. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

วันที่ 24 ตุลาคม 2558 เวลา 13.30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อประชาสัมพันธ์และรณรงค์การงดสูบบุหรีให้คนในชุมชนได้ปฎิบัติตามเพื่อสุขภาพของตนเองและคนใกล้ชิดรวมทั้งคนในชุมชนเอง

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คนในชุมชนทราบตระหนักถึงภัยของบุหรี่
  2. มีป้ายประชาสัมพันธ์สถานที่ปลอดบุหรี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์  ลดละเลิก  สูบบุหรี่  ในรูปของป้านไว้นิล

กิจกรรมที่ทำจริง

• จัดทำป้ายสถานที่นี้ปลอดสูบบุหรี่ • ติดป้ายสถานที่ประชุมหมู่บ้านอาคารที่ประชุมและสถานที่ประชาชนเข้าใช้บริการ • คณะทำงานโครงการผู้นำชุมชน และผู้นำศาสนา รณรงค์เพื่อลดการสูบบุหรี่ในหมู่บ้าน

 

2 2

6. คัดเลือกเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมการจัดเก็บข้อมูลชุมชนพร้อมจัดทำเสื้อทีมประชาสัมพันธ์พร้อมโลโก สสส.

วันที่ 14 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-คัดเลือกเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม เลือกตัวแทนเยาวชนใน 7 กลุ่มบ้านและคัดเลือกจากตัวแทนกลุ่มต่างๆครอบคลุมทั้ง 2 โซน เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ความสามัคคี จำนวน 15 คน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีทีมเยาวชนในการจัดเก็บข้อมูล
  2. มีเครื่องมือการจัดเก็บข้อมูลด้าน เศรษฐกิจ สังคมสุขภาพ จำนวน 1 ชุด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • มีความเข้าใจในการปฏิบัติงานในการจัดเก็บข้อมูลชุมชน
  • จัดเก็บข้อมูลชุมชนที่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์และจัดทำฐานข้อมูลชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. สภาผู้นำชุมชนคัดเลือกเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม เลือกตัวแทนเยาวชนใน 7 กลุ่มบ้านและคัดเลือกจากตัวแทนกลุ่มต่างๆครอบคลุมทั้ง 2 โซน เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ความสามัคคี จำนวน 15 คน โดยเชิญเด็กทีมีความเสี่ยง ลำดับแรก ที่อยู่นอกระบบ และตามความสมัครใจของเยาวชนอื่นๆ จำนวน15 คน
  2. ส้รางทีมเยาวชนนักจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำฐานข้อมูลชุมชน
  3. ปรึกษา พี่เลี้ยง ในเรื่องการสร้างและออกแบบเครื่องมือร่วมกันโดยมีพี่เลี้ยงเป้นที่ปรึกษา
  4. สร้าง สืบค้น แนวทางแบบสอบถาม ข้อคำถามเพิ่มเติม
  5. ประชุมสรุป แบบสอบถาม
  6. จัดเตรียมนำแบบสอบถาม ถ่ายเอกสารเพื่อเตรียมความพร้อม
  7. ทีมทำงานประสานเยาวชนอาสา เข้าร่วมในการเตรียมความพร้อม การเก็บแบบสอบถาม
  8. มอบเสื้อทีมพร้อมโลโก้ สสส เพื่อเป็นเชิงสัญลักษณ์ในการทำงานเป็นทีมและการขอความร่วมมือการจัดเก็บข้อมูลในโครงการของชุมชนเพื่อชุมชน และประชาสัมพันธ์ สสส.
  9. พัฒนาศักยภาพ ของเยาวชนในการเตรียมความพร้อมก่อนการจัดเก็บข้อมูล จำนวน15คน จำนวน2วัน

กิจกรรมที่ทำจริง

  • คัดเลือกเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม
  • ชี้แจงทำความเข้าใจการปฎิบัติงานในการจัดเก็บข้อมูลชุมชน
  • ออกพื้นที่จัดเก็บข้อมูลชุมชนและนำมาวิเคราะห์สรุปผลเพื่อจัดทำฐานข้อมูลชุมชน

 

15 15

7. ประชุมทีมงาน ครั้งที่ 2 พย

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13.00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-เพื่อทบทวนการจัดกิจกรรมที่ผ่านมาและวางแผนการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีสภาผู้นำจำนวน 1ชุดและมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงาน
  2. มีการประชุมสภาผู้นำทุกเดือน 3.การประชุม แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ80
  3. การประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่น ๆ ของชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. เตรียมความพร้อม แบ่งงาน มอบหมายหน้าที่ รับผิดชอบในกิจกรรมครั้งต่อไป
  2. สภาผู้นำมีความเข้าใจ และเกิดการทำงานร่วมกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คัดเลือกและแต่งตั้ง สภาผู้นำชุมชนโดยคัดเลือกจากคณะกรรมการหมู่บ้านและผู้นำแบบไม่เป็นทางการ ในชุมชนที่มีความหลากหลายกลุ่ม เช่น อสม กลุ่มกองทุน เยาวชน โดยคัดเลือกตัวแทนจาก 2 โซน เหนือและใต้ จำนวน 22 คน
  2. จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และขั้นตอนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการตลอดจนเพื่อสร้างความเข้าใจและความรู้ความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
  3. จัดทำแผนการประชุม ติดตามการดำเนินงานจำนวน10ครั้ง
  4. ทำคำสั่งแต่งตั้งทีมทำงาน
  5. เลขาทีมรับผิดชอบโครงการ ประเมินผลและสรุปกิจกรรม
  6. จัดทำแผนร่วมกัน ในการติดตามโครงการและการพบปะพูดคุยเพื่อการประเมินผลโครงการเป็นระยะๆ จำนวน 10ครั้ง.
  7. มีการประชุมประจำเดือนเพื่อปรึกษาหารือเรื่องโครงการและปัญหาต่าง ๆ ของชุมชนทุกเดือน

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ประชุมประเมินกิจกรรมที่ผ่านมา เตรียมความพร้อม แบ่งงาน มอบหมายหน้าที่ รับผิดชอบในกิจกรรมครั้งต่อไป

 

22 22

8. พัฒนาศักยภาพเยาวชนการจัดเก็บข้อมูล

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

-พัฒนาศักยภาพ ของเยาวชนในการเตรียมความพร้อมในการจัดเก็บข้อมูล จำนวน15คน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีทีมเยาวชนในการจัดเก็บข้อมูล
  2. มีเครื่องมือการจัดเก็บข้อมูลด้าน เศรษฐกิจ สังคมสุขภาพ จำนวน 1 ชุด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-เยาวชนมีความเข้าใจในข้อมูลและแบบสอบถามที่จะออกไปจัดเก็บข้อมูล -เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและเรียนรู้ร่วมกันในการที่จะนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อที่จพะใช้ในการพัฒนาชุมชน/หมู่บ้านต่อไป -มีการมีกิจกรรมระหว่างแกนนำ/สภาผู้นำกับเยาวชนทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างวัย -เยาวชนมีความพร้อมที่จะออกไปจัดเก็บข้อมูล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. สภาผู้นำชุมชนคัดเลือกเยาวชนเข้าร่วมกิจกรรม เลือกตัวแทนเยาวชนใน 7 กลุ่มบ้านและคัดเลือกจากตัวแทนกลุ่มต่างๆครอบคลุมทั้ง 2 โซน เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ความสามัคคี จำนวน 15 คน โดยเชิญเด็กทีมีความเสี่ยง ลำดับแรก ที่อยู่นอกระบบ และตามความสมัครใจของเยาวชนอื่นๆ จำนวน15 คน
  2. ส้รางทีมเยาวชนนักจัดเก็บข้อมูลเพื่อจัดทำฐานข้อมูลชุมชน
  3. ปรึกษา พี่เลี้ยง ในเรื่องการสร้างและออกแบบเครื่องมือร่วมกันโดยมีพี่เลี้ยงเป้นที่ปรึกษา
  4. สร้าง สืบค้น แนวทางแบบสอบถาม ข้อคำถามเพิ่มเติม
  5. ประชุมสรุป แบบสอบถาม
  6. จัดเตรียมนำแบบสอบถาม ถ่ายเอกสารเพื่อเตรียมความพร้อม
  7. ทีมทำงานประสานเยาวชนอาสา เข้าร่วมในการเตรียมความพร้อม การเก็บแบบสอบถาม
  8. มอบเสื้อทีมพร้อมโลโก้ สสส เพื่อเป็นเชิงสัญลักษณ์ในการทำงานเป็นทีมและการขอความร่วมมือการจัดเก็บข้อมูลในโครงการของชุมชนเพื่อชุมชน และประชาสัมพันธ์ สสส.
  9. พัฒนาศักยภาพ ของเยาวชนในการเตรียมความพร้อมก่อนการจัดเก็บข้อมูล จำนวน15คน จำนวน2วัน

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพเยาวชนในการจัดเก็บข้อมูลมีทั้งหมด 2 วัน

  • ขั้นตอนที่ 1 เริ่มด้วยการชี้แจงทำความเข้าใจกับเยาวชนที่จะออกจัดเก็บข้อมูล
  • ขั้นตอนที่ 2 สร้างและออกแบบเครื่องมือ(แบบสอบถาม)ร่วมกันโดยมีพี่เลี้ยงเป็นที่ปรึกษา
  • ขั้นตอนที่ 3 การวางแผน จัดทำแผนที่แบ่งกลุ่มแบ่งโซน

    ในการเดินเก็บข้อมูล โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม 2 โซนมีโซนบ้านเหนือและโซนบ้านใต้เมื่อเยาวชนเข้าใจก็มีความพร้อมที่จะลงเก็บข้อมูล

 

15 15

9. การทำรายงานและการเงิน

วันที่ 4 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทำความเข้าใจระบบการทำงานของโครงการ การคีย์ระบบติดตามโครงการ และเรียนรู้รายงานการเงิน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมวันนี้ จำนวน 2 คน ทั้งประธานโครงการ และบันทึกข้อมูลเพื่อมารับรู้การทำงานร่วมกันและเข้าใจการทำงานในระบบผ่านเว็ปและติดตามการดำเนินโครงการให้เสร็จสมบูรณ์พร้อมทั้งการหักภาษีของกิจกรรมในโครงการให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

-เรียนรู้การคีย์ข้อมูลเข้าระบบในรูปแบบเดียวกัน -ติดตามการทำงานตั้งแต่เริ่มโครงการ และดำเนินโครงการไปแล้วบางส่วน พร้อมทั้งคีย์ระบบข้อมูลลงในเว็ป -การจัดทำรายงานการเงินของโครงการ - การหักภาษีของโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

เข้าร่วมรับฟังบรรยายการคีย์ระบบติดตามและการเงิน เป็นขั้นตอนตั้งแต่ติดตามกิจกรรมที่บันทึกไว้ในปฏิทินที่ดำเนินการไว้ก่อนแล้ว ทำการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมให้ครบถ้วน เพื่อให้ระบบบันทึกการทำรายงานเสร็จสมบูรณ์  และรับฟังการหักภาษีที่โครงการจะต้องดำเนินการต่อไปจากนี้ด้วย

 

2 2

10. ประชุมทีมงาน ครั้งที่ 3 ธค

วันที่ 17 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  • สภาผู้นำชุมชน มีการติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมทุกเดือน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีสภาผู้นำจำนวน 1ชุดและมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงาน
  2. มีการประชุมสภาผู้นำทุกเดือน 3.การประชุม แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ80
  3. การประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่น ๆ ของชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันของสภาผู้นำในชุมชน ประเมินและติดตามผลการดำเนินงานและวางแผนงาน การพบปะพูดคุย ทำให้คนในชุมชนเกิดความเข้าใจในการทำงาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คัดเลือกและแต่งตั้ง สภาผู้นำชุมชนโดยคัดเลือกจากคณะกรรมการหมู่บ้านและผู้นำแบบไม่เป็นทางการ ในชุมชนที่มีความหลากหลายกลุ่ม เช่น อสม กลุ่มกองทุน เยาวชน โดยคัดเลือกตัวแทนจาก 2 โซน เหนือและใต้ จำนวน 22 คน
  2. จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และขั้นตอนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการตลอดจนเพื่อสร้างความเข้าใจและความรู้ความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
  3. จัดทำแผนการประชุม ติดตามการดำเนินงานจำนวน10ครั้ง
  4. ทำคำสั่งแต่งตั้งทีมทำงาน
  5. เลขาทีมรับผิดชอบโครงการ ประเมินผลและสรุปกิจกรรม
  6. จัดทำแผนร่วมกัน ในการติดตามโครงการและการพบปะพูดคุยเพื่อการประเมินผลโครงการเป็นระยะๆ จำนวน 10ครั้ง.
  7. มีการประชุมประจำเดือนเพื่อปรึกษาหารือเรื่องโครงการและปัญหาต่าง ๆ ของชุมชนทุกเดือน

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะกรรมการสภาผู้นำแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ที่ผ่านมา และการทำงานในกิจกรรมในระยะต่อไป

 

22 22

11. กิจกรรมถอดบทเรียนศึกษาวีถีการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนและรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์

วันที่ 8 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

•เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญวิถีชีวิตชุมชนและตระหนักถึงการมีสุขภาวะที่ดี สามารถนำข้อมูลไปวางแผน และกำหนดกิจกรรม ได้ตรงประเด็นสืบค้นประวัติชุมชนเพื่อรวบรวมข้อมูลในหมู่บ้าน มาวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาเพื่อนำข้อมูลที

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

มีข้อมูลประวัติศาสตร์ชุมชนเชิงคุณภาพ

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากการศึกษาและถอดบทเรียนได้ทำทราบข้อมูลปัญหาของประชาชนในชุมชน เดิมหมู่ที่3บ้านถำ้ทะลุเป็นหมู่ที่14 และต่อมาได้แยกออกมาเป็นหมู่ที่ 8ด้วยขบนธรรมเนียม วัฒนธรรมและความเป็นที่แตกต่างกันในปี พ.ศ. 2521ได้แยกออกมาเป็นหมู่ที่ 3 เรียกว่าบ้านถ้ำทะลุในอตีดชาวบ้านมีอาชีพทำสวนทำนาอยู่แบบพอเพียงต้นตระกูลใหญ่ๆ ที่เข้าตั้งรกรากคือตระกูลส่องสว่างซึ่งย้ายมาจากหมู่บ้านเขาไครและตระกูลสามัญซึ่งมาจากท่าแพแต่ปัจจุบันมีการเป็นอยู่ที่แตกต่างไปจากอดีตปัญหาต่างๆจึงเข้ามาในหมู่บ้านการดำเนินชีวิตก็เปลี่ยนไป มีปัญหาทั้งด้านรายได้ในครอบครัวปัญหาด้านสุขภาพของคนในชุมชนปัญหาด้านความสามัคคีของคนในชุมชน

สถานการณ์และปัญหาในหมู่บ้านซึ่งมีทั้งข้อดีและข้อเสีย คือ ข้อดี -ประชาชนในหมู่บ้านยึดมั่นในหลักการของศาสนาในการดำเนินชีวิต -ประชาชนในหมู่บ้านมีอาชีพทำสวนและทำการเกษตร -มีโรงเรียนสอนศาสนา(ตาดีกา)ในชุมชนโดยมีครูที่อยู่ในชุมชนเป็นผู้สอน -มีผู้รู้ทางด้านศาสนามาสอนคนในชุมชนอาทิตย์ละ 1ครั้งเพื่อเป็นการเรียนรู้และขัดเกลาจิตใจคนในชุมชน

ข้อเสีย-มีปัญหายาเสพติดในชุมชน -มีความแตกแยกซึ่งมาจากปัญหาทางการเมือง

ปัญหาทางด้านสุขภาพ-การรับประทานอาหารที่ไม่ถูกลักษณะส่งผลให้เกิดโรคตามมา -ดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์สูงมาก

ปัญหาในเรื่องของรายได้ของคนในชุมชน-รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่าย -ไม่มีอาชีพเสริม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ได้หารือกันว่าจะรณรงค์ให้คนในชุมชนได้มีการออกกำลังกาย ทำกิจกรรมปลูกผักสวนครัวกินเอง เพื่อส่งเสริมการทานผักที่ปลอดสารพิษและเป็นการลดรายจ่ายด้วย ทั้งนี้เพื่อนำข้มูลคืนกลับไปให้ชุมชนเพื่อร่วมกันแก้ไขพัฒนาต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. สภาผู้นำชุมชน ประชุม ทำความเข้าใจร่วมกัน
  2. เชิญวิทยากรกระบวนการ ร่วมถอดบทเรียน พูดคุย จัดสนทนากลุ่ม ศึกษาวิถีชีวิต การดำเนินชีวิตในแต่ละวันของคนในชุมชนเพื่อจัดทำชุดข้อมูลเพื่อการร่วมกันในการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมโดยคัดเลือก ปราชญ์ชุมชน หรือผู้แทนจากชุมชน จำนวน 10 คนดำเนินกิจกรรม 2 วัน เพื่อค้นหาข้อมูลเชิงคุณภาพ ทั้งด้านสุขภาพด้านความเป็นอยู่ ด้านชีวิตประวัติชุมชน รากเหง้า ของสกุล และค้นหา เส้นทางของเหตุผลที่ทำให้เกิดรอยร้าวของสัมพันธภาพที่ดีในชุมชน เพื่อนำมาหาแนวทาง วิธีการจัดการปัญหาโดยชุมชน
  3. รวบรวใข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมถอดบทเรียนเป็นกิจกรรมที่ผู้แทนจากชุมชนปราชญ์ ร่วมพูดคุ่ยเพื่อจัดทำชุดข้อมูลชุมชนโดยวิทยากรได้ตั้งโจทก์ร่วมพูดคุยเพื่่อศึกษาถึงวิถีชีวิตชุมชน ประวัติความเป็นมาของชุมชนการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงการดำเนินชีวิตจากวิถีชีวิตในอดีตจนถึงปัจจุบันทั้งทางด้านของเศรษฐกิจภายในชุมชนการประกอบอาชีพเพื่อที่จะนำข้อมูลมาวิเคราะห์และกำหนดรูปแบบการคืนข้อมูลให้ชุมชนต่อไป

 

10 11

12. ประชุมทีมงาน ครั้งที่ 4 มค

วันที่ 17 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อประชุม ติดตามการดำเนินกิจกรรมโครงการและสรุปผลการดำเนินงานโครงการจากการดำเนินงานในงวดที่ 1 และเตรียมสะสางงานเอกสารที่ยังค้างอยู่ให้เสร็จ ภายในระยะเวลาที่กำหนด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีสภาผู้นำจำนวน 1ชุดและมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงาน
  2. มีการประชุมสภาผู้นำทุกเดือน 3.การประชุม แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ80
  3. การประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่น ๆ ของชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ประธานที่ประชุม ได้สรุปผลการดำเนินกิจกรรมให้ที่ประชุมรับทราบ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คัดเลือกและแต่งตั้ง สภาผู้นำชุมชนโดยคัดเลือกจากคณะกรรมการหมู่บ้านและผู้นำแบบไม่เป็นทางการ ในชุมชนที่มีความหลากหลายกลุ่ม เช่น อสม กลุ่มกองทุน เยาวชน โดยคัดเลือกตัวแทนจาก 2 โซน เหนือและใต้ จำนวน 22 คน
  2. จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และขั้นตอนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการตลอดจนเพื่อสร้างความเข้าใจและความรู้ความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
  3. จัดทำแผนการประชุม ติดตามการดำเนินงานจำนวน10ครั้ง
  4. ทำคำสั่งแต่งตั้งทีมทำงาน
  5. เลขาทีมรับผิดชอบโครงการ ประเมินผลและสรุปกิจกรรม
  6. จัดทำแผนร่วมกัน ในการติดตามโครงการและการพบปะพูดคุยเพื่อการประเมินผลโครงการเป็นระยะๆ จำนวน 10ครั้ง.
  7. มีการประชุมประจำเดือนเพื่อปรึกษาหารือเรื่องโครงการและปัญหาต่าง ๆ ของชุมชนทุกเดือน

กิจกรรมที่ทำจริง

  • สรุปผลการดำเนินกิจกรรมครั้งที่ผ่านมา
  • สรุปยอดค่าใช้จ่ายในกิจกรรม
  • วางแผนในการดำเนินกิจกรรมต่อไป

 

22 22

13. สภาผู้นำนำข้อมูลมากำหนดแนวทางกิจกรรมในการแกำหนดรูปแบบการคืนข้อมูลสุ่ชุมชน

วันที่ 18 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อรวบรวมข้อมูลในหมู่บ้าน มาวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีชุดข้อมูลจำนวน1ชุด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การทำกิจกรรมครั้งนี้คือการรวบรวมข้อมูลการสำรวจจัดเก็บแบบสอบถาม นำมาวิเคราะห์ และเก็บเป็นข้อมูลหมู่บ้านเพื่อดำเนินแก้ไขต่อไป ข้อมูลทั้งหมดมี 4 ส่วนคือส่วนที่1ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านสาธารณะชุมชนและเศรษฐกิจ ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ ส่วนที่4 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการ จากการวิเคราะห์ข้อมูล

  • ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของครัวเรือน พบว่า 56.04 % ของครัวเรือนที่สำรวจประชาชนมีอาชีพทางด้านการเกษตรรองลงมาคือรับจ้างและค้าขายส่วนในเรื่องของรายได้ของคนในชุมชน 63.73% พบว่ามีรายได้อยู่ที่ประมาณ 5,001 – 10,000 บาท

  • ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านสาธารณะชุมชนและเศรษฐกิจ สำรวจจากครัวเรือน 91 ครัวเรือนพบว่าการรับประทานอาหารส่วนใหญ่ได้ซื้ออาหารผักมาจากตลาดมีการปลูกผักกินเองน้อยมากแค่ 27.47 % จากครัวเรือนทั้งหมด 91 ครัวเรือนในเรื่องของการทำบัญชีครัวเรือนคนในชุมชนยังไม่ค่อยให้ความสนใจครัวเรือนแต่ละครัวมีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย คิดได้ 63.73 % จากครัวเรือนที่ได้สำรวจการกู้เงิน/เป็นหนี้ส่วนใหญ่จะกู้ยืมจากญาติและเพื่อนบ้าน 21.79% จาก 91 ครัวเรือน สาเหตุการเป็นหนี้มาจากมีภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นรายได้ไม่เพียงพอค่าเล่าเรียนของบุตรและค่าอุปกรณ์ทางการเกษตร

  • ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพจากข้อมูลการสำรวจการรับประทานอาหารของคนในชุมชนชอบกินอาหารสำเร็จรูป 96.70 % ชอบกินอาหารที่มีรสจัดเมื่อมีการเจ็บป่วยจะใช้ยาสามัญประจำบ้าน 87.91 % และจะซื้อยาชุดมากินเอง 49.45 % จากข้อมูลแบบสอบถามสมาชิกในครัวเรือนมีภาวะน้ำหนักเกิน 63.73 % และมีโรคประจำตัว 64.83 % และพบว่าในแต่ละครอบครัวมีการสูบบุหรี่ 46.15 %

  • ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการประชาชน 68.13 % มีความสนใจโครงการและอยากให้มีโครงการต่อไป ประธานได้ชี้แจงผลการจัดเก็บข้อมูลของชุมชนเพื่อคืนข้อมูลนี้ให้กับชุมชนหมู่ที่3 บ้านถ้ำทะลุ จากการวิเคราะห์ข้อมูลจะเห็นว่าคนในชุมชนมีอาชีพส่วนใหญ่ทำทำสวนและการเกษตรมีรายได้น้อยซึ่งอยู่ในช่วง 5,001-10,000 บาท ปัญหาอีกอย่างของชุมชนคือความไม่สามัคคีความคิดเห็นไม่ตรงกันก่อให้เกิดความแตกแยกและคนในชุมชนส่วนใหญ่อยากให้มีกิจกรรมสัมพันธ์ร่วมกันเพื่อให้ความสามัคคีเกิดขึ้นในชุมชนจัดเก็บข้อมูลเพื่อที่จะนำข้อมูลนี้ไปสู่กิจกรรมการคืนข้อมูลสู่ชุมชนต่ไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. สภาผู้นำชุมชนร่วมในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดแนวทางและกิจกรรมในการแก้ปัญหาหรือหลักสูตรของชุมชนในการแก้ไขปัญหา
  2. ปรึกษาพี่เลี้ยงโครงการ ในการวิเคราห์ข้อมูล
  3. เตรียมข้อมูลเพื่อใช้ข้อมูลในการออกมาตรการทางสังคมหรือข้อตกลงร่วมกันของหมู่บ้าน ประกอบด้วย ตัวแทนจากกลุ่มต่างๆ จำนวน 15 คน
  4. ร่วมพูดคุยเพือกำหนดรูปแบบการคืนข้อมูลสู่ชุมชน

กิจกรรมที่ทำจริง

ประธานโครงการได้ชี้แจงข้อมูลแบบสำรวจที่ได้จากการออกไปสำรวจข้อมูลในชุมชนแล้วและนำเอาข้อมูลมาวิเคราะห์ซึ่งมีข้อมูลทั้งหมด 4 ส่วนคือ

  • ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
  • ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านสาธารณะชุมชนและเศรษฐกิจ
  • ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
  • ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะ

  • เกี่ยวกับโครงการจากการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้จะเห็นว่าคนในชุมชนมีอาชีพส่วนใหญ่ทำทำสวนและการเกษตรมีรายได้น้อยซึ่งอยู่ในช่วง 5,001-10,000 บาท ปัญหาอีกอย่างของชุมชนคือความไม่สามัคคีความคิดเห็นไม่ตรงกันก่อให้เกิดความแตกแยกและคนในชุมชนส่วนใหญ่อย่างให้มีกิจกรรมสัมพันธ์ร่วมกันเพื่อให้เกิดความสามัคคีเกิดขึ้นในชุมชน

 

15 15

14. จัดกิจกรรมเวทีคืนข้อมูลให้ชุมชน

วันที่ 19 มกราคม 2559 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อคืนข้อมูลจากการสำรวจและวิเคราะห์โดยทีมสภาผู้นำเสนอให้สมาชิกชุมชนได้รับทราบ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

ชุมชนรับทราบรายละเอียดกิจกรรมที่เกิดขึ้น ร่วมกันแสดงความคิดเห็นและวางแผนการดำเนินกิจกรรม

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประธานได้สรุปการจัดเก็บข้อมูลของชุมชนเพื่่อคืนข้อมูลนี้ให้กับชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านถ้ำทะลุ จากข้อมูลแบบสอบถามทั้งหมด 4 ส่วนซึ่งสำรวจจากครัวเรือน 91 ครัวเรือน คือ

  • ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของครัวเรือน พบว่า 56.04 % ของครัวเรือนที่สำรวจประชาชนมีอาชีพทางด้านการเกษตรรองลงมาคือรับจ้างและค้าขายส่วนในเรื่องของรายได้ของคนในชุมชน 63.73 % พบว่ามีรายได้อยู่ที่ประมาณ 5,001 – 10,000 บาท

  • ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านสาธารณะชุมชนและเศรษฐกิจ สำรวจจากครัวเรือน 91 ครัวเรือนพบว่าการรับประทานอาหารส่วนใหญ่ได้ซื้ออาหารผักมาจากตลาดมีการปลูกผักกินเองน้อยมากแค่27.47%จากครัวเรือนทั้งหมด 91ครัวเรือน

2.1 ในเรื่องของการทำบัญชีครัวเรือนคนในชุมชนยังไม่ค่อยให้ความสนใจครัวเรือนแต่ละครัวมีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย คิดได้63.73 % จากครัวเรือนที่ได้สำรวจ

2.2 การกู้เงิน / เป็นหนี้ส่วนใหญ่จะกู้ยืมจากญาติและเพื่อนบ้าน 21.79 % จาก 91 ครัวเรือน สาเหตุการเป็นหนี้มาจากมีภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นรายได้ไม่เพียงพอค่าเล่าเรียนของบุตรและค่าอุปกรณ์ทางการเกษตร

  • ส่วนที่ 3 ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
    3.1 จากข้อมูลการสำรวจการรับประทานอาหารของคนในชุมชนชอบกินอาหารสำเร็จรูป 96.70 %
    3.2 ชอบกินอาหารที่มีรสจัดเมื่อมีการเจ็บป่วยจะใช้ยาสามัญประจำบ้าน 87.91 % และจะซื้อยาชุดมากินเอง 49.45 %
    3.3 จากข้อมูลแบบสอบถามสมาชิกในครัวเรือนมีภาวะน้ำหนักเกิน 63.73 % และมีโรคประจำตัว 64.83 % และพบว่าในแต่ละครอบครัวมีการสูบบุหรี่ 46.15%

  • ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการประชาชน 68.13 % มีความสนใจโครงการและอยากให้มีโครงการต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประชาสัมพันธ์การจัดทำเวทีคืนข้อมูลแก่ชุมชน โดยเชิญตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วม จำนวน91ครัวเรือน
  2. ขอความร่วมมือ จาก อสม. ในการแจ้งครัวเรือนเข้าร่วม
  3. เชิญ ภาคีเครือข่าย อบตรพ.สตเกษตร พัฒนา
  4. สภาผู้นำชุมชนแบ่งหน้าที่เตรียมข้อมูลโดยผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้นำเสนอข้อมูล และร่วมเตรียมสถานที่ เตรัยมอาหารว่าง และความสะดวกอื่นๆ
  5. จัดเวทีคืนข้อมูล โดยเชิญ นายก อบต กล่าวพบปะผู้รับผิดชอบโครงการ คุยความเป็นมาเป็นมา รูปแบบ การจัดเก็บต่อเวที
  6. แกนนำเยาวชน แสดงบทบาทสมมุติ การใช้ชีวิตวิถีพอเพียง
  7. นำเสนอข้อมูล เพิ่มเติม จาก ผู้รับผิดชอบโครงการ และข้อเสนอแนะ
  8. ร่วมพูดคุย และเปิดโอกาสการซักถาม การแสดงความคิดเห็นของชุมชน
  9. พูดคุย เสนอ กติกาชุมชนรือมาตราการทางสังคม ด้านการจัดการขยะในชุมชน
  10. นำเสนอมาตราการทางังคม เพื่อลงมติของชุมชน
  11. รวบรวมข้อเสนอแนะจากชุมชน ภาคเครือข่ายเป็นข้อมูลเพิ่มเติมในการจัดเตรียมการทำแผนชุมชน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ประชาสัมพันธ์การจัดทำเวทีคืนข้อมูลแก่ชุมชน โดยเชิญตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วม จำนวน 91 ครัวเรือน
  2. ขอความร่วมมือ จาก อสม. ในการแจ้งครัวเรือนเข้าร่วม
  3. เชิญ ภาคีเครือข่าย อบตรพ.สตเกษตร พัฒนา
  4. สภาผู้นำชุมชนแบ่งหน้าที่เตรียมข้อมูลโดยผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้นำเสนอข้อมูล และร่วมเตรียมสถานที่ เตรัยมอาหารว่าง และความสะดวกอื่นๆ
  5. จัดเวทีคืนข้อมูล โดยเชิญ นายก อบต กล่าวพบปะผู้รับผิดชอบโครงการ คุยความเป็นมาเป็นมา รูปแบบ การจัดเก็บต่อเวที
  6. แกนนำเยาวชน แสดงบทบาทสมมุติ การใช้ชีวิตวิถีพอเพียง
  7. นำเสนอข้อมูล เพิ่มเติม จาก ผู้รับผิดชอบโครงการ และข้อเสนอแนะ
  8. ร่วมพูดคุย และเปิดโอกาสการซักถาม การแสดงความคิดเห็นของชุมชน
  9. พูดคุย เสนอ กติกาชุมชนรือมาตราการทางสังคม ด้านการจัดการขยะในชุมชน
  10. นำเสนอมาตราการทางังคม เพื่อลงมติของชุมชน
  11. รวบรวมข้อเสนอแนะจากชุมชน ภาคเครือข่ายเป็นข้อมูลเพิ่มเติมในการจัดเตรียมการทำแผนชุมชน

 

91 91

15. กิจกรรมเวทีปรับเปลี่ยนเรียนรู้ดูแลสุขภาพ

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อเสริมสร้างการดูแลสุขภาพร่วมกัน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.มีรูปแบบการออกกำลังกายสอดคล้องอาชีพ จำนวน 1 ชุด 2. มีตำรับอาหารสมุนไพรพื้นบ้าน 3.จำนวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน เรื่องการร่วมกลุ่ม จำนวน 50 ครัวเรือน 4.ประชาชนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีสุขภาพดีขึ้น

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. มีรูปแบบการออกกำลังกายสอดคล้องอาชีพ จำนวน 1 ชุด
  2. มีตำรับอาหารสมุนไพรพื้นบ้าน
  3. จำนวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน เรื่องการร่วมกลุ่ม จำนวน 50 ครัวเรือน
  4. ประชาชนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีสุขภาพดีขึ้น
    กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ถึงชายเริ่น(ถึงชายคาบ้าน)มี 3วัน กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมมีการซักประวัติและได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นเช่นการวัดความดันชั่งน้ำหนักวัดรอบเอวโดยทีมอสม.จดบันทึกลงในสมุดประจำตัวพี่เลี้ยงได้พบปะพูดคุยแนะนำเกี่ยวกับการจดบันทึกลงในสมุดประจำตัวกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ประธานโครงการได้กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม หลังจากนั้นวิทยากรได้เริ่มกระบวนการด้วยการร่วมพูดคุยให้ความรู้ในเรื่องพฤติกรรมสุขภาพโดยร่วมของชุมชนเรื่องการรับประทานอาหารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพการออกกำลังกายและได้ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันมีการแบ่งกลุ่มจัดทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพกระตุ้นให้เห็นความสำคัญของอาหารที่รับประทานในแต่ละวัน ซึ่งแต่ละกลุ่มมีเมนูอาหารที่ไม่ซ้ำกันเสร็จแล้วจะต้องนำอาหารมาบรรยายสรรคุณและสารอาหารที่จะได้รับในแต่ละเมนูให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบด้วย และมีการสาธิตการออกกำลังกายไม้พลองป้าบุญมีโดยมีวิทยากรชุมชนเป็นผู้สาธิตและนำผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนออกกำลังกายกิจกรรมในครั้งนี้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนจะได้รับเมล็ดพันธ์ผักเพื่อต่อยอดการปลูกผักปลอดสารเคมีรับประทานในครัวเรือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. สภาผู้นำชุมชนเตรียมความพร้อม หารือ การทำกิจกรรมร่วมกันและพูดคุยกับปราชญชุมชน ในการจัดทำเมนู สุมนไพร
  2. ประสานข้อมูลกลุ่มเสี่ยง กับ อสมรพสต ควนโดน เพื่อวิเคราะห์สถานะสุขภาพ
  3. ประสานกลุ่มเป้าหมาย และวิทยากร
  4. จัดพัฒนาศักยภาพ กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ถึงชายเริ่น(ถึงชายคาบ้าน)ร่วมเวทีชุมชนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ จำนวน 45 คน
  5. วิทยากรคอยสรุปแนะนำรูปแบบการปฏิบัติตนที่เหมาะสม นำของจริงมาเล่าสู่การฟัง และปรับเรื่องจริง ความเชื่อที่ยังไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมเพื่อการเรียนรู้แบบเรื่องจริงผ่านจอ จำนวน 3 วัน ุ6. จัดทำสมุดบันทึกน้ำหนัก รอบเอวพร้อมมีคำแนะนำเรื่องอาหาร การออกกำลังกายในสมุด
  6. ศึกษาสอบถาม พัฒนารูปแบบการออกกำลังกายที่เหมาะกับการประกอบอาชีพ
  7. นำเสนอเมนู ตำรับอาหารสมุนไพรพื้นบ้าน
  8. ประสาน อสม. แบ่งโซนการติดตาม และรายงานสถานะสุขภาพ ทุก 1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สภาผู้นำชุมชนเตรียมความพร้อม หารือ การทำกิจกรรมร่วมกันและพูดคุยกับปราชญชุมชน ในการจัดทำเมนู สุมนไพร
  2. ประสานข้อมูลกลุ่มเสี่ยง กับ อสมรพสต ควนโดน เพื่อวิเคราะห์สถานะสุขภาพ
  3. ประสานกลุ่มเป้าหมาย และวิทยากร
  4. จัดพัฒนาศักยภาพ กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ถึงชายเริ่น(ถึงชายคาบ้าน)ร่วมเวทีชุมชนในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพ จำนวน 45 คน
  5. วิทยากรคอยสรุปแนะนำรูปแบบการปฏิบัติตนที่เหมาะสม นำของจริงมาเล่าสู่การฟัง และปรับเรื่องจริง ความเชื่อที่ยังไม่ถูกต้อง
    ุ6. จัดทำสมุดบันทึกน้ำหนัก รอบเอวพร้อมมีคำแนะนำเรื่องอาหาร การออกกำลังกายในสมุด
  6. นำเสนอเมนู ตำรับอาหารสมุนไพรพื้นบ้าน
  7. ประสาน อสม. แบ่งโซนการติดตาม และรายงานสถานะสุขภาพ ทุก 1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน

 

45 45

16. จัดทำรายงานปิดงวดที่ 1

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

• ตรวจเอกสาร รายงานผลดำเนินงาน เอกสารการเงิน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

• ตรวจเอกสารทางเงิน เพื่อปิดการรายงานการเงินงวด 1 โดยมีเจ้าหน้าที่ให้การแนะนำในการแยกหมวดหมู่ทางการเงินให้ถูกต้อง และการส่งรายงาน การทำใบปะหน้าในการตรวจเอกสารให้ง่ายและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น และรวมถึงการดำเนินแบบ ภาคีเครือข่าย ในการดำเนินโครงการเพื่อให้โครงการบรรลุเป้าหมายมากที่สุด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ติดตามรายงานความก้าวหน้าโครงการ งวดที่ 1ส 1และ ง 1 เอกสารทางการเงิน พร้อมทั้งรับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะ สรุปผลการดำเนินงาน ระยะที่ 1

กิจกรรมที่ทำจริง

ติดตามรายงานความก้าวหน้าโครงการ งวดที่ 1ส 1และ ง 1 เอกสารทางการเงิน พร้อมทั้งรับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะ สรุปผลการดำเนินงาน ระยะที่ 1

 

2 2

17. ประชุมทีมงาน ครั้งที่ 5 กพ.

วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 14:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

สภาผู้นำชุมชน มีการติดตามและประเมินผลโครงการและมีการประชุมทุกเดือน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีสภาผู้นำจำนวน 1ชุดและมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงาน
  2. มีการประชุมสภาผู้นำทุกเดือน 3.การประชุม แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ80
  3. การประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่น ๆ ของชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันของสภาผู้นำในชุมชน ประเมินและติดตามผลการดำเนินงานกิจกรรมโครงการ  และวางแผนงาน การพบปะพูดคุย ทำให้คนในชุมชนเกิดความเข้าใจ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คัดเลือกและแต่งตั้ง สภาผู้นำชุมชนโดยคัดเลือกจากคณะกรรมการหมู่บ้านและผู้นำแบบไม่เป็นทางการ ในชุมชนที่มีความหลากหลายกลุ่ม เช่น อสม กลุ่มกองทุน เยาวชน โดยคัดเลือกตัวแทนจาก 2 โซน เหนือและใต้ จำนวน 22 คน
  2. จัดประชุมชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และขั้นตอนการดำเนินงานกิจกรรมของโครงการตลอดจนเพื่อสร้างความเข้าใจและความรู้ความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
  3. จัดทำแผนการประชุม ติดตามการดำเนินงานจำนวน10ครั้ง
  4. ทำคำสั่งแต่งตั้งทีมทำงาน
  5. เลขาทีมรับผิดชอบโครงการ ประเมินผลและสรุปกิจกรรม
  6. จัดทำแผนร่วมกัน ในการติดตามโครงการและการพบปะพูดคุยเพื่อการประเมินผลโครงการเป็นระยะๆ จำนวน 10ครั้ง.
  7. มีการประชุมประจำเดือนเพื่อปรึกษาหารือเรื่องโครงการและปัญหาต่าง ๆ ของชุมชนทุกเดือน

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะกรรมการสภาผู้นำ  แลกเปลี่ยนความคิดเห็น  เพื่อติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ที่ผ่านมา และการทำงานในกิจกรรมในระยะต่อไป

 

22 22

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 38 17                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 212,030.00 76,423.00                  
คุณภาพกิจกรรม 68 52                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน
  1. การทำงานเป็นทีมเนื่องจากภารกิจในการทำงานอื่นๆ

ภารกิจงานประจำและขาดการมอบบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน

  1. ประชุมทีมงาน พูดคุยและร่วมแสดงความคิดเห็นในการทำงานมอบหมายบทบาทหน้าที่ในการทำงานแต่ละคนให้ชัดเจนเพิ่มมากขึ้น
  2. แบ่งหน้าที่แต่ละกิจกรรมให้ทีมงานและมอบหมายหัวหน้าทีมในการรับผิดชอบกิจกรรมนั้นๆเพื่อลดภาระงาน
  3. บริหารเวลาและกิจกรรมให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ประชุมทีมงาน ครั้งที่ึ 6 มีค ( 12 มี.ค. 2559 )
  2. พัฒนารูปแบบสื่อการออกกำลังกาย ( 14 มี.ค. 2559 )
  3. ประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนในการแก้ไขปัญหาโดยการมีส่วนรวมและบูรณาการแผนร่วมกัน ( 18 มี.ค. 2559 - 20 มี.ค. 2559 )
  4. จัดกิจกรรมสัมพันธ์เพื่อสร้างความรัก ความไว้วางใจและมีทัศนะคติที่ดีต่อกัน ( 29 มี.ค. 2559 )
  5. ประชุมทีมงาน ครั้งที่ 7 เมย ( 16 เม.ย. 2559 )
  6. กิจกรรมบัญชีครัวเรือน ช่วยออม สู่สุขภาพดี ( 18 เม.ย. 2559 - 19 เม.ย. 2559 )
  7. ลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลการทำระบบบัญชีรายรับ - รายจ่ายของครัวเรือน ( 23 เม.ย. 2559 - 1 พ.ค. 2559 )
  8. ประชุมทีมงาน ครั้งที่8พ.ค. ( 12 พ.ค. 2559 )
  9. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพครูชุมชน ( 21 พ.ค. 2559 - 23 พ.ค. 2559 )
  10. ประชุมทีมงาน ครั้งที่ 9มิย. ( 12 มิ.ย. 2559 )
  11. กิจกรรมสร้างรายได้และการออม ( 21 มิ.ย. 2559 - 22 มิ.ย. 2559 )
  12. พบพี่เลี้ยงในการปรึกษาการดำเนินงาน ( 16 ก.ค. 2559 )
  13. สภาผู้นำชุมชนออกติดตามการดำเนินกิจกรรม ในครัวเรือนและสรุปผลการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม ( 19 ก.ค. 2559 )
  14. ประชุมทีมงาน ครั้งที่ 10ส.ค. ( 15 ส.ค. 2559 )

(................................)
นาย สันติ ดาราหมานเศษ
ผู้รับผิดชอบโครงการ