directions_run

หมู่บ้านสีเขียว ปลอดโรค ปลอดสารเคมี ด้วยแนวทางเกษตรอินทรีย์ หมู่ที่ 4 บ้านควนโต๊ะเหลง

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนาชุมชนสามารถบริหารจัดการตนเองด้านหมู่บ้านสีเขียวได้
ตัวชี้วัด : มีมาตรการทางสังคมร่วมกัน อย่างน้อย 3 เรื่อง

 

 

-

2 เพื่อให้มีปฏิบัติการชุมชนในการสร้างพื้นที่เกษตรสีเขียวชุมชนปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : 1. มีแปลงสาธิต ตัวอย่าง ผักสวนครัวโดยใช้เกษตรอินทรีย์ ระดับครัวเรือนจำนวน 50 แปลงและในโรงเรียน จำนวน 5 แปลง 2. ในชมุชนมีการปลูกผัก โดยใช้เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90

 

 

  1. เกิดแปลงสาธิตตัวอย่างผักสวนครัวโดยใช้เษตรอินทรีย์ จำนวน 52 หลังและมีครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 10 หลัง

2.ในชุมชนมีการปลูกผักโดยใช้เกษรอินทรีย์ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 92

3 เพื่อมีสภาผู้นำที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1. มีการประชุม 1 ครั้ง/เดือน 2. การประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 3. การประชุมทุกครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน

 

 

  1. มีการประชุม 1 ครั้ง/เดือน
  2. การประชุมแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วม ร้อยละ 90
  3. การประชุมทุกครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
4 เพื่อให้ประชาชนในชุมชนตระหนักเห็นความสำคัญต่อการทำเกษตรอินทรีย์ สู่การพึ่งพาตนเองได้
ตัวชี้วัด : 1. มีข้อมูลด้านเศรษฐกิจครัวเรือน จำนวน1 ชุด 2. มีทีมไบซิเคิลทัวร์ จำนวน1 ชุด 3. มีแผนการดำเนินการแก้ไขปัญหา จำนวน 1 แผน

 

 

  1. มีข้อมูลด้านเศรษฐกิจครัวเรือน จำนวน1 ชุด
  2. มีทีมไบซิเคิลทัวร์ จำนวน1 ชุด
  3. มีแผนการดำเนินการแก้ไขปัญหา จำนวน 1 แผน
5 เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการสุขภาพ ในชุมชนป้องกันโรคเรื้อรังโดยการมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเสี่ยงลดลง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 2. บุคคลต้นแบบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของกลุ่ม

 

 

  1. กลุ่มเสี่ยงลดลงร้อยละ 25
  2. บุคคลต้นแบบ จำนวน 2 คน
6 เพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงานหมู่บ้านสีเขียว ด้วยแนวทางเกษตรอินทรีย์
ตัวชี้วัด : 1. มีบ้านต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียงอย่างน้อย 50 หลังคาเรือน 2. ประชาชนเข้าร่วมโครงการ ดำเนินงานเกษตรอินทรีย์ อย่างน้อยร้อยละ 50 จากครัวทั้งหมด 3. ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเกษตรอินทรีย์และนำสู่ปฏิบัติได้ถูกต้อง

 

 

  1. มีบ้านต้นแบบด้านเศรษฐกิจพอเพียงอย่างน้อย 50 หลังคาเรือน

  2. ประชาชนเข้าร่วมโครงการ ดำเนินงานเกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 80 จากครัวทั้งหมด

3.ร้อยละ 85ของประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเกษตรอินทรีย์และนำสู่ปฏิบัติได้ถูกต้อง ...

7 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ทกครั้งของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด