task_alt

หมู่บ้านสีเขียว ปลอดโรค ปลอดสารเคมี ด้วยแนวทางเกษตรอินทรีย์ หมู่ที่ 4 บ้านควนโต๊ะเหลง

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ หมู่บ้านสีเขียว ปลอดโรค ปลอดสารเคมี ด้วยแนวทางเกษตรอินทรีย์ หมู่ที่ 4 บ้านควนโต๊ะเหลง

ชุมชน หมู่ที่ 4 บ้านควนโต๊ะเหลง ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 58-03904 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2194

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กันยายน 2558 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการปี 2558 จ.สตูล สงขลา

วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00-17.00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจวิธีการดำเนินโครงการและการรายงานผลการดำเดินการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ทราบแนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง ดังนี้
    • ใบลงทะเบียนต้องมีรายชื่อผู้ร่วมกิจกรรม
    • บันทึกการประชุม วาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุมพร้อมภาพถ่ายกิจกรรม
    • กรณีมีค่าอาหาร ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงินหรือใบบิลเงินสด (ถ้าเกิน 5000 บาท ต้องแนบสำเนาบัตรประชาชนทุกครั้ง)
    • กรณีจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (ค่าวัสดุ คือ ค่าใช้จ่ายเพื่อวัสดุสิ้นเปลืองในการทำกิจกรรม ได้แก่ วัสดุเครื่องเขียน วัสดุสำนักงาน วัสดุโฆษณาและเผยแพร่) ต้องมีหลักฐานทางการเงิน ได้แก่ใบสำคัญรับเงิน/บิลเงินสด โดยออกจากร้านมีชื่อที่อยู่ของร้านชัดเจน มีเลขกำกับภาษี/เลขบัตรประชาชน ของเจ้าของร้าน บิลออกในนามโครงการของพื้นที่ตนเอง
    • ค่าใช้สอย ได้แก่ ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าถ่ายเอกสาร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม
    • ค่าตอบแทน ได้แก่ ค่าตอบแทนวิทยากร กรณีเป็นรายชั่วโมง ต้องมีความรู้ความชำนาญ กรณีเป็นปราญชชาวบ้าน หรือ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. คิดเป็นรายชั่วโมง 600 บาท,กรณีเป็นคนต่างพื้นที่ สามารถเบิกได้ 1000 บาท/วัน -ใบสำคัญรับเงินจะต้องไม่มีรอยลบ รอยขูดหรือรอยขีดเขียน **ห้ามใช้ใบส่งของแทนบิลเงินสดหรือใบสำคัญรับเงิน
  2. รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม จะต้องมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย มากกว่า หรือเท่ากับ 5-10 % ของเป้าหมายที่วางไว้
  3. รับรู้การบริหารจัดการโครงการ (ทีมงาน/ชุมชน) และวิธีการจัดการปัญหา การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์ o ทุกกิจกรรมจะต้องมีการบันทึกรายละเอียดกิจกรรมและรายละเอียดทางการเงิน ในเว็ปไซต์ www.happynetwork.org
  4. สามารถรับรู้ถึงกระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล เพื่อการหนุนเสริมโครงการร่วมสร้างชุมชนและท้องถิ่นให้น่าอยู่พื้นที่ภาคใต้ ทบทวนและออกแบบเชิงระบบของโครงการ
  5. การวางแผนการดำเนินงาน และการป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ • การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ปฐมนิเทศโครงการฯ
  2. เรียนรู้การรายงานผลทางเวปไซด์

กิจกรรมที่ทำจริง

อธิบายให้ความรู้ในเรื่อง ดังนี้

  1. แนวทางในการจัดทำรายงานผล และรายงานการเงิน โดยการทำรายงานการเงินแยกรายกิจกรรม/ครั้ง
  2. กระบวนการและระบบการติดตามประเมินผล
  3. การทำรายงานโครงการ และ รายงานการเงิน การป้อนข้อมูลรายละเอียดโครงการในเว็บไซต์
  4. การป้อนแผนการดำเนินงานในปฏิทินโครงการ
  5. การรายงานผลการจัดกิจกรรม และรายจ่ายในกิจกรรมและการจัดทำรายงาน

 

2 2

2. สร้างทีม สภาผู้นำชุมชน

วันที่ 12 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทราบและชีแจงการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.มีสภาผู้นำชุมชน ในการขับเคลื่อน จำนวน 1 ชุด 2. สภาผู้นำชุมชนมีการประชุม 10ครั้ง 3..การประชุมแต่ละครั้งของสภาผู้นำชุมชนมีผู้เข้าร่วมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4.การประชุมทุกครั้ง มีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • มีสภาผู้นำชุมชน จากคณะกรรมการหมู่บ้านและคัดเลือกจากผู้นำแบบไม่เป็นทางการและจากกลุ่มต่างๆในชุมชนอาสาสมัคร จิตอาสาในชุมชน เข้าร่วมเป็นทีมทำงาน โดยกำหนดกลุ่มที่มีความหลากหลาย จาก ตัวแทนกลุ่มแม่บ้าน เยาวชนนักเรียน อสม และแกนนำอื่นๆในชุมชน จำนวน 30 คน

  • มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของสภาผู้นำชุมชน และมีการพัฒนาศักยภาพผู้นำสภาชุมชน โดยมีการประสานกลุ่มเป้าหมายวิทยากรภายนอก และปราชญ์ชาวบ้าน ในชุมชน ร่วมเป็นวิทยากร เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อปรับฐานแนวคิด ความรู้ให้กับสภาผู้นำชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คัดเลือกสภาผู้นำชุมชน จากคณะกรรมการหมู่บ้านและคัดเลือกจากผู้นำแบบไม่เป็นทางการและจากกลุ่มต่างๆในชุมชนอาสาสมัคร จิตอาสาในชุมชน เข้าร่วมเป็นทีมทำงาน โดยกำหนดกลุ่มที่มีความหลากหลาย จาก ตัวแทนกลุ่มแม่บ้าน เยาวชนนักเรียน อสม และแกนนำอื่นๆในชุมชน จำนวน 30 คน
  2. มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของสภาผู้นำชุมชน
  3. พัฒนาศักยภาพผู้นำสภาชุมชน โดยมีการประสานกลุ่มเป้าหมายวิทยากรภายนอก และปราชญ์ชาวบ้าน ในชุมชน ร่วมเป็นวิทยากร เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อปรับฐานแนวคิด ความรู้ให้กับสภาผู้นำชุมชน
  4. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการทีมงาน เพื่อทำความเข้าใจแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง กำหนดบทบาทหน้าที่ และร่วมวิเคราะห์แนวทางการดำเนินงานเพิ่มเติม การออกแบบการเก็บข้อมูลเพื่อการวางแผนการแก้ไขปัญหาในประเด็นที่ทำจากโครงการ จำนวน 2 วัน
  5. มีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิในชุมชนเข้าร่วมเป็นที่ปรึกษาโครงการ และการเติมเต็มกิจกรรมการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อน หมู่บ้านและโรงเรียนสีเขียว
  6. จัดทำแผนการติดตาม ประชุมประเมินผลการดำเนินงาน จำนวน10ครั้ง
  7. มีการประชุมปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นของชุมชนทุก 1 เดือน

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมสร้างทีมงานและประชุมสภาผู้นำชุมชนในครั้งนี้มีทั้งหมด 2 วัน

โดยกิจกรรมในวันแรกวันที่ 13 ตุลาคม 2559 ก็จะมีการพบปะพูดคุยกับทีมงานโดยนางสาวนริศราแกสมานประธานโครงการหลังจากนั้น ก็จะมีการคัดเลือกสภาผู้นำชุมชน จากคณะกรรมการหมู่บ้านและคัดเลือกจากผู้นำแบบไม่เป็นทางการและจากกลุ่มต่างๆในชุมชนอาสาสมัคร จิตอาสาในชุมชน เข้าร่วมเป็นทีมทำงาน โดยกำหนดกลุ่มที่มีความหลากหลาย จาก ตัวแทนกลุ่มแม่บ้าน เยาวชนนักเรียน อสม และแกนนำอื่นๆในชุมชน รวมทั้งหมด จำนวน 30 คนมีกำหนดบทบาทหน้าที่ของสภาผู้นำชุมชนซึ่งจะมีการพัฒนาศักยภาพผู้นำสภาชุมชน โดยมีการประสานกลุ่มเป้าหมายวิทยากรภายนอก และปราชญ์ชาวบ้าน ในชุมชน ร่วมเป็นวิทยากร เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อปรับฐานแนวคิด ความรู้ให้กับสภาผู้นำชุมชน

กิจกรรมวันที่ 13 ตุลาคม 2559ประชุมเชิงปฏิบัติการทีมงาน เพื่อทำความเข้าใจแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง กำหนดบทบาทหน้าที่ และร่วมวิเคราะห์แนวทางการดำเนินงานเพิ่มเติม การออกแบบการเก็บข้อมูลเพื่อการวางแผนการแก้ไขปัญหาในประเด็นที่ทำจากโครงการ จำนวน 2 วันและมีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิในชุมชนเข้าร่วมเป็นที่ปรึกษาโครงการ และการเติมเต็มกิจกรรมการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อน หมู่บ้านและโรงเรียนสีเขียว หลังจากนั้นจัดทำแผนการติดตาม ประชุมประเมินผลการดำเนินงาน จำนวน10ครั้ง และมีการประชุมปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นของชุมชนทุก 1 เดือน

 

30 30

3. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

วันที่ 24 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อการเรียนรู้การดำเนินงานของชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จัดทำป้ายปลอดบุหรี่ ตามมาตรฐานของ สสส.กำหนด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดทำป้ายปลอดบุหรี่ ตามมาตรฐานของ สสส.กำหนด

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำป้ายปลอดบุหรี่ ตามมาตรฐานของ สสส.กำหนด

 

5 5

4. จัดทำเสื้อประชาสัมพันธ์พร้อมโลโก้ สสส.

วันที่ 26 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อประชาสัมพันธ์ สสส.

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีผู้เข้าร่วมเวทีเปิดตัวโครงการมากกว่า ร้อยละ 70% ของจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้
  2. มีการจัดเปิดตัวโครงการ จำนวน 1 ครั้ง
  3. มีข้อเสนอแนะโครงการจากการจัดกิจกรรม
  4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ร้อยละ 80

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. สภาผู้นำชุมชน ประชุมเตรียมความพร้อม การเปิดตัวโครงการคณะทำงานเพื่อร่วมกำหนดรูปแบบกิจกรรม มอบมายความรับผิดชอบ และร่วมกำหนดวันในการดำเนินงาน 2.จัดทำสื่อ วัสดุประชาสัมพันธ์ สสส. เสื้อทีมสภาชุมชนพร้อมโลโก้ สสส. เพื่อเชิงสัญลักษณ์ การเสริมพลัง การทำงานเป็นทีม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. สภาผู้นำชุมชน ประชุมเตรียมความพร้อม การเปิดตัวโครงการคณะทำงานเพื่อร่วมกำหนดรูปแบบกิจกรรม มอบมายความรับผิดชอบ และร่วมกำหนดวันในการดำเนินงาน 2.จัดทำสื่อ วัสดุประชาสัมพันธ์ สสส. เสื้อทีมสภาชุมชนพร้อมโลโก้ สสส. เพื่อเชิงสัญลักษณ์ การเสริมพลัง การทำงานเป็นทีม
  2. จัดทำหนังสือเชิญผู้เกี่ยวข้อง ตัวแทนครัวเรือน จำนวน 213 คน
  3. ทีมทำงาน ประสาน กลุ่ม อสม. ในการร่วมแจกหนังสือเชิญในเขตที่รับผิดชอบของตนเอง
  4. ทีมงานเตรียมความพร้อม ด้านข้อมูล ด้านสถานที่ อุปกรณ์ และเชิญภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม อาทิ อบต ควนโดนรพ,สต ควนโดนเกษตรตำบล พัฒนาชุมชนกศน.
  5. พี่เลี้ยงโครงการในพื้นประชาสัมพันธ์ภาระกิจการดำเนินงานของ สสส.
  6. จัดเปิดตัวโครงการ โดยฉายวีดีทัศน์ หมู่บ้านต้นแบบวิถีพอเพียง การทำเกษตรอินทรีย์
  7. ตัวแทนสภาชุมชน มีการพูดคุย แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และผู้รับผิดชอบโครงการ นำเสนอข้อมูล แผนงานโครงการ รายละเอียดงบประมาณ การประเมินผล
  8. เปิดเวทีข้อซักถาม และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  9. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
  10. ทีมงานสรุปผลการจัดกิจกรรม 10.พร้อมรับสมัครผู้เข้าร่วมครอบครัวต้นแบบ ผู้เข้าร่วมจำนวน 100 คน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สภาผู้นำชุมชน ประชุมเตรียมความพร้อม การเปิดตัวโครงการคณะทำงานเพื่อร่วมกำหนดรูปแบบกิจกรรม มอบมายความรับผิดชอบ และร่วมกำหนดวันในการดำเนินงาน 2.จัดทำสื่อ วัสดุประชาสัมพันธ์ สสส. เสื้อทีมสภาชุมชนพร้อมโลโก้ สสส. เพื่อเชิงสัญลักษณ์ การเสริมพลัง การทำงานเป็นทีม

 

30 30

5. เปิดตัวโครงการและประชาสัมพันธ์สสส.

วันที่ 2 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานโครงการ ปี 2558

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีผู้เข้าร่วมเวทีเปิดตัวโครงการมากกว่า ร้อยละ 70% ของจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้
  2. มีการจัดเปิดตัวโครงการ จำนวน 1 ครั้ง
  3. มีข้อเสนอแนะโครงการจากการจัดกิจกรรม
  4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจ ร้อยละ 80

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • การประชุมทีมคณะกรรมการก่อนเพื่อมอบหมายการดำเนินงาน และมีการจัดทำหนังสือเชิญเข้าร่วมเวทีประชาคมเพื่อเปิดตัวโครงการ (โดยมีเลขานุการโครงการผู้จัดทำหนังสือและลงนามโดยผู้รับผิดดชอบโครงการ) ทีมงานมีการส่งหนังสือถึงครัวเรือนและมอบหมายการชี้แจง ดังนี้
    โดยเปิดเวที และพูดคุยโครงการ การจัดสรรงบประมาณโดยภาพรวม (หัวหน้าโครงการ)
    ชี้แจงรายละเอียดกิจกรรม งบประมาณในแต่ละกิจกรรม (หัวหน้าโครงการและเลขา) และสรุปผล แนวทางการเบิกจ่ายงบประมาณ การอุดหนุนจาก สสส การติดตามและประเมินผล (พี่เลี่ยง) ณ โรงเรียนข้าวในพระราชดำริเริ่มเวลา 13.00 น.ลงทะเบียน โดย คณะกรรมการสภาชุมชน

  • เริ่มพูดคุย เวลา 14.00 น. โดยหัวหน้าโครงการ พูดกล่าวทักทาย และเปิดตัวโครงการ วัตถุประสงค์ การได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก สสส แนะนำคณะกรรมการทีมทำงานแนะนำพี่เลี่ยง ในพื้นที่มีการชี้แจงรายละเอียดชี้แจงงบประมาณ ที่ได้รับการจัดสรรให้ชุมชนได้รับทราบในแต่ละงวดและ พี่เลี้ยง ก็ สรุป พูด ถึง นโยบาย แนวทางการดำเนินงานของ สสส และประชาสัมพันธ์ การดำเนินงาน วัตถุประสงค์ การสนับสนุนในโครงการร่วมสร้างชุมชนน่าอยู่ฯ เพื่อให้ ชุมชนได้ทราบขั้นตอน การขอรับการสนับสนุน และสรุปกิจกรรมโดยภาพรวมของโครงการ ขอความร่วมมือชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ทางทีมทำงานโครงการจะได้ดำเนินการนับจากนี้ต่อไป หัวหน้าโครงการ เชิญทางเกษตรตำบลพูดคุย เรื่องแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อรับทราบและสร้างการรียนรู้ร่วมกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. สภาผู้นำชุมชน ประชุมเตรียมความพร้อม การเปิดตัวโครงการคณะทำงานเพื่อร่วมกำหนดรูปแบบกิจกรรม มอบมายความรับผิดชอบ และร่วมกำหนดวันในการดำเนินงาน 2.จัดทำสื่อ วัสดุประชาสัมพันธ์ สสส. เสื้อทีมสภาชุมชนพร้อมโลโก้ สสส. เพื่อเชิงสัญลักษณ์ การเสริมพลัง การทำงานเป็นทีม
  2. จัดทำหนังสือเชิญผู้เกี่ยวข้อง ตัวแทนครัวเรือน จำนวน 213 คน
  3. ทีมทำงาน ประสาน กลุ่ม อสม. ในการร่วมแจกหนังสือเชิญในเขตที่รับผิดชอบของตนเอง
  4. ทีมงานเตรียมความพร้อม ด้านข้อมูล ด้านสถานที่ อุปกรณ์ และเชิญภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม อาทิ อบต ควนโดนรพ,สต ควนโดนเกษตรตำบล พัฒนาชุมชนกศน.
  5. พี่เลี้ยงโครงการในพื้นประชาสัมพันธ์ภาระกิจการดำเนินงานของ สสส.
  6. จัดเปิดตัวโครงการ โดยฉายวีดีทัศน์ หมู่บ้านต้นแบบวิถีพอเพียง การทำเกษตรอินทรีย์
  7. ตัวแทนสภาชุมชน มีการพูดคุย แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และผู้รับผิดชอบโครงการ นำเสนอข้อมูล แผนงานโครงการ รายละเอียดงบประมาณ การประเมินผล
  8. เปิดเวทีข้อซักถาม และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  9. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
  10. ทีมงานสรุปผลการจัดกิจกรรม 10.พร้อมรับสมัครผู้เข้าร่วมครอบครัวต้นแบบ ผู้เข้าร่วมจำนวน 100 คน

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สภาผู้นำชุมชน ประชุมเตรียมความพร้อม การเปิดตัวโครงการคณะทำงานเพื่อร่วมกำหนดรูปแบบกิจกรรม มอบมายความรับผิดชอบ และร่วมกำหนดวันในการดำเนินงาน 2.จัดทำสื่อ วัสดุประชาสัมพันธ์ สสส. เสื้อทีมสภาชุมชนพร้อมโลโก้ สสส. เพื่อเชิงสัญลักษณ์ การเสริมพลัง การทำงานเป็นทีม
  2. จัดทำหนังสือเชิญผู้เกี่ยวข้อง ตัวแทนครัวเรือน จำนวน 213 คน
  3. ทีมทำงาน ประสาน กลุ่ม อสม. ในการร่วมแจกหนังสือเชิญในเขตที่รับผิดชอบของตนเอง
  4. ทีมงานเตรียมความพร้อม ด้านข้อมูล ด้านสถานที่ อุปกรณ์ และเชิญภาคีที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม อาทิ อบต ควนโดนรพ,สต ควนโดนเกษตรตำบล พัฒนาชุมชนกศน.
  5. พี่เลี้ยงโครงการในพื้นประชาสัมพันธ์ภาระกิจการดำเนินงานของ สสส.
  6. จัดเปิดตัวโครงการ โดยฉายวีดีทัศน์ หมู่บ้านต้นแบบวิถีพอเพียง การทำเกษตรอินทรีย์
  7. ตัวแทนสภาชุมชน มีการพูดคุย แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง และผู้รับผิดชอบโครงการ นำเสนอข้อมูล แผนงานโครงการ รายละเอียดงบประมาณ การประเมินผล
  8. เปิดเวทีข้อซักถาม และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
  9. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจ
  10. ทีมงานสรุปผลการจัดกิจกรรม 10.พร้อมรับสมัครผู้เข้าร่วมครอบครัวต้นแบบ ผู้เข้าร่วมจำนวน 100 คน

 

231 236

6. จัดทำเสื้อทีมโลโก้ สสส เพื่อประชาสัมพันธ์

วันที่ 9 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทราบและชีแจงการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

.1. เกิดการจัดการข้อมูลชุมชน ฐานข้อมูลรายรับ รายจ่าย หนี้สินของชุมชน เกิดแผนที่คุณค่าทรัพยากร สถานะสุขภาพชุมชน 2. ได้เครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลชุมชน 3. เยาวชนนักจัดการข้อมูลจำนวน1ชุด(ทีมเยาวชนไบซิเคิลทัวร์)

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดการจัดการข้อมูลชุมชน ฐานข้อมูลรายรับ รายจ่าย หนี้สินของชุมชน เกิดแผนที่คุณค่าทรัพยากร สถานะสุขภาพชุมชน และได้เครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลชุมชนและเกิดเยาวชนนักจัดการข้อมูลจำนวน1ชุด(ทีมเยาวชนไบซิเคิลทัวร์)

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. สภาผู้นำชุมชนประชุมหารือ และเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
  2. รับสมัครเยาวชนจิตอาสา เข้าร่วมพัฒนาชุมชน
  3. สร้างทีมเยาวชนไบซิเคิลทัวร์ นักจัดการข้อมูล จำนวน 20 คน ร่วมปฏิบัติการเรียนรู้การจัดเก็บข้อมูลในชุมชน จำนวน 3 วัน
  4. จัดทำสื่อ เสื้อทีมในการออกจัดเก็บข้อมูล เพื่อการทำงานเป็นทีมเชิงสัญลักษณ์ และประชาสัมพันธ์ สสส เสริมพลังคนทำงาน วันที่1 เรื่องหลักการเศรษฐกิจพอเพียงและ การวิเคราะห์ชุมชน อดีต สภาพความเป็นจริง ณ ปัจจุบัน และความคาดหวังในอนาคต
    วันที่2 ทำความเข้าใจกับทีมเยาวชนและการพัฒนาออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูลที่ตรงกับสภาพความเป็นชุมชนและทบทวนให้เป็นปัจจุบันโดยจัดเก็บ ข้อมูล ด้านเศรษฐกิจรายรับรายจ่าย หนี้ การดำรงชีวิตด้านสถานะสุขภาพและด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน วันที่3 พัฒนาเครื่องมือ/บัญชีครัวเรือน และทดลองฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูล
  5. จัดทำเสื้อทีม เยาวชนนักจัดเก็บข้อมูล เพื่อการทำงานเป็นทีม เชิงสัญลักษณ์พร้อมประชาสัมพันธ์ สสส.
  6. โดยแบ่งโซน มีครู อสม. เป็นหัวหน้าทีม และกลับมาสรุปรายงานสิ่งที่ได้เรียนรู้
  7. ประเมินผลการทำงานนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ มาสรุป วางแผน สิ่งที่จะดำเนินการต่อ

กิจกรรมที่ทำจริง

  • วันที่ 2 ทำความเข้าใจกับทีมเยาวชนและการพัฒนาออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูลที่ตรงกับสภาพความเป็นชุมชนและทบทวนให้เป็นปัจจุบันโดยจัดเก็บ ข้อมูล ด้านเศรษฐกิจรายรับรายจ่าย หนี้ การดำรงชีวิตด้านสถานะสุขภาพและด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน

  • วันที่ 3 พัฒนาเครื่องมือ/บัญชีครัวเรือน และทดลองฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูล

  • จัดทำเสื้อทีม เยาวชนนักจัดเก็บข้อมูล เพื่อการทำงานเป็นทีม เชิงสัญลักษณ์พร้อมประชาสัมพันธ์ สสส.

  • โดยแบ่งโซน มีครู อสม. เป็นหัวหน้าทีม และกลับมาสรุปรายงานสิ่งที่ได้เรียนรู้
  • ประเมินผลการทำงานนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ มาสรุป วางแผน สิ่งที่จะดำเนินการต่อ

 

20 20

7. ศึกษาและออกแบบเครื่องมือ ข้อมูลดี มันหาย ปลอดสารเคมี ปลดหนี้ ด้วย ไบซิเคิลทัวร์

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสร้างทีมมนักจัดเก็บข้อมูลชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

.1. เกิดการจัดการข้อมูลชุมชน ฐานข้อมูลรายรับ รายจ่าย หนี้สินของชุมชน เกิดแผนที่คุณค่าทรัพยากร สถานะสุขภาพชุมชน 2. ได้เครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลชุมชน 3. เยาวชนนักจัดการข้อมูลจำนวน1ชุด(ทีมเยาวชนไบซิเคิลทัวร์)

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กิจกรรมออกเเบบเครื่องมือในครั้งนี้มีทั้งหมด 3วันประกอบด้วย กิจกรรมวันแรก วันที่ 23 พฤศจิกายน 2558 ประธานโครงการร่วมพบปะพูดคุย ผู้เข้าร่วมประชุมและชี้แจ้งกิจกรรมการดำเนินในครั้งนี้ หลังจากนั้นประธานโครงการก็เชิญพี่เลี้ยงโครงการร่วมพูดคุยที่มาในการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่คณะทำงานโครงการและผู้เข้าร่วมประชุมและหลังจากนั้นเชิญทีมวิทยากรร่วมพูดคุยในเรื่องหลักเศรษฐกิจพอเพียง และมีการวิเคราะห์ชุมชนโดยทีมเยาวชนในชุมชน ทีมเยาวชนแนะนำตัวเองกับเพื่อนๆทีมงาน หลังจากนั้นก็แบ่งโซนการเก็บเครื่องมือ ซึ่งในการแบ่ง โซในครั้งนี่ได้ทั้งหมด 3 โซน คือ

• โซนควนโต๊ะเหลง • โซนทุ่งกาด • โซนตีหงี

โดนในแต่ละโซนก็จะคัดเลือกประธานรองประธานและเลขาขอแต่ละโซนและร่วมกันวาดแผนผังในโซนที่ตัวเองรับผิดชอบและกำหนดจุดสำคัญในแต่ละโซนทีมเยาวชนร่วมมือกันและให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี กิจกรรมวันที่24 พฤศจิกายน2558 ก็เป็นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับทีมเยาวชนในเรื่องการออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูลให้ตรงกับสภาพความเป็นจริงของชุมชน ซึ่งผลที่ได้จากการออกแบบเครื่องมือมือในครั้งนี้ จะมีอยู่ 4 ประเด็นประด้วยรายละเอียดดังนี้

ข้อมูลทั่วไป

  • จำนวนสมาชิกในครัวเรือน
  • อาชีพ (หลัก ,เสริม)
  • รายได้ รายจ่าย
  • อายุของสมาชิกในครัวเรือน
  • บ้านเลขที่ผู้ให้ข้อมูล
  • ค่าใช้จ่ายหลัก

ด้านสุขภาพ

  • โรคประจำตัว
  • น้ำหนัก ส่วนสูง
  • อาหารการกิน
  • การออกกำลังกาย
  • ประประเสี่ยงของการเกิดโรค
  • น.ส.ค. ที่รับผิดชอบ

ด้านเศรษฐกิจ

  • อาชีพ (หลัก เสริม)
  • รายได้มาจากไหนเป็นหลัก
  • รายจ่ายหมดไปกับ
  • อาชีพเสริมที่นาสนใจ

ด้านเกษตรอินทรีย์

  • ปลูกผัก กินเองไหม
  • ใช้ปุ๋ยอะไร
  • เป็นสมาชิกกลุ่มไหนบ้าง
  • ทำปุ๋ยชีวภาพใช้เองไหม

กิจกรรมวันที่ 25 พฤศจิกายน2558 หลักจากที่ได้เครื่องมือมาแล้วก็จะมีการพัฒนาเครื่องมือ บัญชีครัวเรือน และทดลองฝึกการปฏิบัติในการเก็บข้อมูล ด้านต่างๆที่ได้ออกแบบมาในชุมชน ทีมเยาวชนให้ความร่วมมือและสนุกสนานมากทุกคนดีใจที่ได้ทำงานร่วมกับเพื่อนๆในชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. สภาผู้นำชุมชนประชุมหารือ และเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
  2. รับสมัครเยาวชนจิตอาสา เข้าร่วมพัฒนาชุมชน
  3. สร้างทีมเยาวชนไบซิเคิลทัวร์ นักจัดการข้อมูล จำนวน 20 คน ร่วมปฏิบัติการเรียนรู้การจัดเก็บข้อมูลในชุมชน จำนวน 3 วัน
  4. จัดทำสื่อ เสื้อทีมในการออกจัดเก็บข้อมูล เพื่อการทำงานเป็นทีมเชิงสัญลักษณ์ และประชาสัมพันธ์ สสส เสริมพลังคนทำงาน วันที่1 เรื่องหลักการเศรษฐกิจพอเพียงและ การวิเคราะห์ชุมชน อดีต สภาพความเป็นจริง ณ ปัจจุบัน และความคาดหวังในอนาคต
    วันที่2 ทำความเข้าใจกับทีมเยาวชนและการพัฒนาออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูลที่ตรงกับสภาพความเป็นชุมชนและทบทวนให้เป็นปัจจุบันโดยจัดเก็บ ข้อมูล ด้านเศรษฐกิจรายรับรายจ่าย หนี้ การดำรงชีวิตด้านสถานะสุขภาพและด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน วันที่3 พัฒนาเครื่องมือ/บัญชีครัวเรือน และทดลองฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูล
  5. จัดทำเสื้อทีม เยาวชนนักจัดเก็บข้อมูล เพื่อการทำงานเป็นทีม เชิงสัญลักษณ์พร้อมประชาสัมพันธ์ สสส.
  6. โดยแบ่งโซน มีครู อสม. เป็นหัวหน้าทีม และกลับมาสรุปรายงานสิ่งที่ได้เรียนรู้
  7. ประเมินผลการทำงานนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ มาสรุป วางแผน สิ่งที่จะดำเนินการต่อ

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. สภาผู้นำชุมชนประชุมหารือ และเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
  2. รับสมัครเยาวชนจิตอาสา เข้าร่วมพัฒนาชุมชน
  3. สร้างทีมเยาวชนไบซิเคิลทัวร์ นักจัดการข้อมูล จำนวน 20 คน ร่วมปฏิบัติการเรียนรู้การจัดเก็บข้อมูลในชุมชน จำนวน 3 วัน
  4. จัดทำสื่อ เสื้อทีมในการออกจัดเก็บข้อมูล เพื่อการทำงานเป็นทีมเชิงสัญลักษณ์ และประชาสัมพันธ์ สสส เสริมพลังคนทำงาน วันที่1 เรื่องหลักการเศรษฐกิจพอเพียงและ การวิเคราะห์ชุมชน อดีต สภาพความเป็นจริง ณ ปัจจุบัน และความคาดหวังในอนาคต
    วันที่2 ทำความเข้าใจกับทีมเยาวชนและการพัฒนาออกแบบเครื่องมือในการเก็บข้อมูลที่ตรงกับสภาพความเป็นชุมชนและทบทวนให้เป็นปัจจุบันโดยจัดเก็บ ข้อมูล ด้านเศรษฐกิจรายรับรายจ่าย หนี้ การดำรงชีวิตด้านสถานะสุขภาพและด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน วันที่3 พัฒนาเครื่องมือ/บัญชีครัวเรือน และทดลองฝึกปฏิบัติการเก็บข้อมูล
  5. จัดทำเสื้อทีม เยาวชนนักจัดเก็บข้อมูล เพื่อการทำงานเป็นทีม เชิงสัญลักษณ์พร้อมประชาสัมพันธ์ สสส.
  6. โดยแบ่งโซน มีครู อสม. เป็นหัวหน้าทีม และกลับมาสรุปรายงานสิ่งที่ได้เรียนรู้
  7. ประเมินผลการทำงานนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ มาสรุป วางแผน สิ่งที่จะดำเนินการต่อ

 

20 20

8. การทำรายงานและการเงิน

วันที่ 4 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อขอคำแนะนำในการดำเนินกิจกรรมของโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เข้าใจการจัดทำเอกสารรายงาน เข้าเร่ื่องการเขียนผลผลิต ผลลัพธ์ ของกิจกรรม และเข้าใจเรื่องเอกสารทางการเงินอันไหนใช้ได้อันไหนใช้ไม่ได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

อบรมการเขียนรายงาน และเอกสารการเงิน

กิจกรรมที่ทำจริง

อบรมการเขียนรายงาน และเอกสารการเงิน

 

3 3

9. กิจกรรมจัดเก็บข้อมูลในชุมชน

วันที่ 7 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อจัดเก็บข้อมูลในชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. ชุมชนมีฐานข้อมูลในการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้านรายรับ รายจ่าย หนี้สินชุมชน แผนที่ทรัพยากร จำนวน1 ชุด
  2. มีข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ การบริโภค 1 ชุด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้ข้อมูลข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพที่ตรงกับสภาพความเป็นจริงของชุมชน และชุมชนมีฐานข้อมูลในการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้านรายรับ รายจ่าย หนี้สินชุมชน แผนที่ทรัพยากร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ทีมไบซิเคิลทัวร์ จัดทำตารางเวลาในการจัดเก็บข้อมูลและศึกษาแผนที่ โดยประสานขอแผนที่จาก อบต.ควนโดน
  2. เตรียมจักรยาน ทีมไบซิเคิลทัวร์
  3. แบ่งโซนการเก็บข้อมูลเตรียมแบบสอบถาม และประสาน ครูอสม.ในพื้นที่
  4. แบ่งทีมลงเก็บข้อมูล นำแบบสอบถาม และแผนที่ย่อๆเพื่อบันทึก จุด ที่ดินว่างเปล่า ศูนย์เรียนรู็ ทรัพยากรชุมชน บ้านผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงหรืออื่นๆพร้อมทั้งบันทึกกิจกรรม ปัญหาอุปสรรคและสิ่งที่ค้นพบระหว่างการเก็บข้อมูลจำนวน 4 วัน
  5. นัดหมายรวบรวมแบบสอบถาม เพื่อตรวจสอบความสมบูรณ์1วัน
  6. ทีมคณะทำงานร่วมประเมินเสริมพลัง ให้กำลังใจ

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมการเก็บข้อมูลในครั้งนี้มีทั้งหมด 4 วัน ซึ่งทั้ง4 วันนี้ ทีมไบซิเคิลทัวร์ ก้จะมีการจัดจัดทำตารางเวลาในการจัดเก็บข้อมูลและศึกษาแผนที่และเตรียมจักรยาน ทีมไบซิเคิลทัวร์แบ่งโซนการเก็บข้อมูลเตรียมแบบสอบถามตามโซนที่ได้แบ่งไว้ซึ่งจะมีทั้งหมด 3 โซนโดยจะมีการประสาน อสม.ในพื้นที่หลังจากนั้นทีมไบซิเคิลทัวร์ก็จะนำแบบสอบถามตามที่ได้ออกแบบไว้และผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว รวมถึงแผนที่ย่อๆเพื่อบันทึก จุด ที่ดินว่างเปล่า ศูนย์เรียนรู้ ทรัพยากรชุมชน บ้านผู้ป่วย กลุ่มเสี่ยงหรืออื่นๆพร้อมทั้งบันทึกกิจกรรมซึ่งในการลงเก็บข้อมูลในครั้งนี้ ชาวบ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี

 

20 20

10. จัดกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

วันที่ 23 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อการเรียนรู้การดำเนินงานของชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  1. มีข้อมูลพื้นฐานชมชน ด้านรายได้ ทรัพยากรต่างๆของชุมชน

2.มีชุดข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการกิน,การใช้ชีวิต,การออกกำลังกาย ที่ผ่านการวิเคราะห์ จำนวน 1 ชุด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีข้อมูลพื้นฐานชมชน ด้านรายได้ ทรัพยากรต่างๆของชุมชนและมีชุดข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการกิน,การใช้ชีวิต, การออกกำลังกาย ที่ผ่านการวิเคราะห์ จำนวน 1 ชุด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ทีมสภาผู้นำชุมชน เตรียมงานทำความเข้าใจ ชี้แจงวัตถุประสงค์ กับทีมไบซิเคิลทัวร์
  2. จัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย กรณีศึกษา ผู้ป่วย3ราย กลุ่มเสี่ยง3 ราย ปราชญ์ชาวบ้านจำนวน4 คนให้ทีมไบซิเคิลทัวร์ ได้ศึกษาข้อมูลสอบถามพูดคุย การดูแลสุขภาพ
  3. ทีมไบซิเคิลทัวร์ แบ่งกลุ่มออกปฏิบัติการ โดยมีครู อสม.เป็นพี่เลี้ยง
  4. ทีมไบซิเคิลทัวร์ พูดคุยบันทึกข้อมูลนำข้อมูลกลับมาร่วมวิเคราะห์ 5.นำเสนอข้อมูล
  5. ร่วมกัน นำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ มาวิเคราะห์ข้อมูล เป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วย เสี่ยง6คน กลุ่มนักเรียนจำนวน 15คนกลุ่ม อสม.จำนวน17คน กลุ่มแกนนำ ปราชญ์ จำนวน 4 คนรวม 42คน

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมในครั้งนี้จะเป็นการศึกษาพื้นที่โดนทีมทีมไบซิเคิลทัวร์หลังจากนั้นเตรียมงานทำความเข้าใจ ชี้แจงวัตถุประสงค์ กับทีมไบซิเคิลทัวร์และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย กรณีศึกษา ผู้ป่วย 3 ราย กลุ่มเสี่ยง 3 ราย ปราชญ์ชาวบ้านจำนวน 4 คนให้ทีมไบซิเคิลทัวร์ ได้ศึกษาข้อมูลสอบถามพูดคุย การดูแลสุขภาพและประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหลังจากนั้นมีการแบ่งทีมไบซิเคิลทัวร์ แบ่งกลุ่มออกปฏิบัติการ โดยมีครู อสม.เป็นพี่เลี้ยง ทีมไบซิเคิลทัวร์ พูดคุยบันทึกข้อมูลนำข้อมูลกลับมาร่วมวิเคราะห์ นำเสนอข้อมูล ร่วมกัน นำข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ มาวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป

 

52 42

11. คืนข้อมูล

วันที่ 29 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  • เพื่อให้แก้ไขปัญหาการจัดการสุขภาพในชุมชน ป้องกันโรคเรื่อรังอย่างมีส่วนร่วม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.ชุมชนมีการรับรู้ข้อมูลชุมชน ด้านรายรับ รายจ่าย หนี้สินชุมชน แผนที่ทรัพยากร พฤติกรรมสุขภาพ 2. มีมาตราการทางสังคมของชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

• ชุมชนมีการรับรู้ข้อมูลชุมชน ด้านรายรับ รายจ่าย หนี้สินชุมชน แผนที่ทรัพยากร พฤติกรรมสุขภาพ
• มีมาตราการทางสังคมของชุมชน คือ

  1. คนในชุมชนกินปลาให้มากขึ้น
  2. ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วัน
  3. ลดอาหาร หวาน มัน เค็ม ในงานบุญ งานแต่ง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. ประชาสัมพันธ์การจัดทำเวทีคืนข้อมูลแก่ชุมชน โดยเชิญตัวแทนครัวเรือนเข้าร่วม
  2. ขอความร่วมมือ จาก อสม. ในการแจ้งครัวเรือนเข้าร่วม
  3. เชิญ ภาคีเครือข่าย อบตรพ.สตเกษตร พัฒนา
  4. คณะทำงานแบ่งหน้าที่เตรียมข้อมูล โดยผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้นำเสนอข้อมูลร่วมเตรียมสถานที่ เตรัยมอาหารว่าง และความสะดวกอื่นๆ
  5. จัดเวทีคืนข้อมูล โดยเชิญ นายก อบต กล่าวพบปะผู้รับผิดชอบโครงการ คุยความเป็นมารูปแบบ การจัดเก็บข้อมูลต่อเวที
  6. ทีมไบซิเคิลทัวร์แสดงละคร การเก็บข้อมูล เรื่องราวความประทับใจที่ไปเจอและฉายวีดีทัศน์ เพื่อเป็นการสร้างความตระหนักให้ชุมชน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อนำไปสู่การวางแผนปฏิบัติการร่วมกัน นำเสนอข้อมูล เพิ่มเติม จาก ผู้รับผิดชอบโครงการ และข้อเสนอแนะ
  7. ร่วมพูดคุย และเปิดโอกาสการซักถาม การแสดงความคิดเห็นของชุมชน
  8. พูดคุย เสนอ กติกาชุมชนรือมาตราการทางสังคม ในชุมชน
  9. จัดทำป้าย มาตราการทางสังคม ติดในที่ชุมชน
  10. รวบรวมข้อเสนอแนะจากชุมชน ภาคเครือข่ายเป็นข้อมูลเพิ่มเติมในการจัดเตรียมการทำแผนชุมชน ร่วมกิจกรรม จำนวน 231 คนในช่วงบ่ายวันพุธ(เพราะเป็นวันหยุดและเป็นวันที่สะดวกของชุมชน)

กิจกรรมที่ทำจริง

  • กิจกรรมในครั้งนี้ได้รับงบสนับสนุนจาก อบต.ควนโดน
  • กิจกรรมคืนข้อมูลในครั้งนี้ ได้มีตัวแทนจากอบต.ควนโดน กศน. คณะกรรมการโครงการ ผู้นำศาสนาและอสม.เข้าร่วมประชุมหลังจากนั้นทางคณะกรรมโครงการพูดคุยความเป็นมาของโครงการและกิจกรรมต่างๆที่ได้ดำเนินงานมา และสรุปผลการดำเนินงานให้ผู้เข้าร่วมประชุมร่วมรับทราบ ซึ่งกิจกรรมที่เด่นๆในครั้งนี้คือจะมีการดึงทีมเยาวชนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมของชุมชนทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันระหว่างเยาวชนกับชุมชน เพื่อนำไปสู่การวางแผนปฏิบัติการร่วมกัน นำเสนอข้อมูล

 

231 180

12. ประชุมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

  - เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดการสุขภาพ ในชุมชนป้องกันโรคเรื้อรังโดยการมีส่วนร่วม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

บุคคลต้นแบบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของกลุ่ม

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดพันธะสัญญาใจของกลุ่มสลัดมัน ลำดับที่ ชื่อ-สกุล เกิดพันธะสัญญาใจ

  1. นางเจ๊ะหยีแกสมาน ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม
  2. นางปรีดาดาหูนุ้ย ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม
  3. นางภูริษาชำนาญนา เพิ่มน้ำหนัก 2 กิโลกรัม
  4. เสาด๊ะตาเดอิน ลดน้ำหนัก 3 กิโลกรัม
  5. รอหนายะรินทร์ ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัมในเวลา 3 เดือน
  6. ชารินาแกสมาน ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัมในเวลา 3 เดือน
  7. ดาริสล่านุ้ย ลดน้ำหนัก 5 กิโลกรัม
  8. สาน๊ะตาเดอิน ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัมในเวลา 3 เดือน
  9. ไซม๊ะหลังยาหน่าย ลดความดัน
  10. สีตีบาดน แกสมาน ลดเอว ลดพุง
  11. อำหรงระโซยล๊ะ ปลูกผักปลอดสารพิษ
  12. ฮาหวากรมเมือง ลดน้ำหนัก
  13. ฮาบีบ๊ะล่านุ้ย ออกกำลังกายทุกวัน
  14. รัตนาล่านุ้ย ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม
  15. สาเปี๊ยะมาราสา ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม
  16. ไหมหม๊ะแกสมาน ลดความดัน
  17. ออระวรรณหวังกุหลำ ปลูกผักกินเอง ลดน้ำหนัก ลดเอว
  18. สารีหยันหลีหมาด ลดน้ำหนัก 3 กิโลกรัม
  19. นริศราแกสมาน งดอาหารรสจืด
  20. อาแซะอามา ลดน้ำหนัก ให้เหลือ 38 กิโลกรัม
  21. นัยนายาพระจันทร์ ลดน้ำหนัก ให้เหลือ 47 กิโลกรัม
  22. สุวิทย์ตาเดอิน ลดน้ำหนัก
  23. ดนราหมานตาเดอิน ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม ปลูกผัก
  24. เอกชัยตาเดอิน ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม ปลูกผัก
  25. ฮามีด๊ะตาเดอิน ลดน้ำหนัก ลดความดัน
  26. สุดาแปะโพระ ลดน้ำหนัก
  27. พิทักษ์แกสมาน ออกำลังกาย ปลูกผัก
  28. อรทัยฮะยีบิลัง ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม
  29. มารีย๊ะหลังยาหน่าย ลดน้ำหนัก
  30. สาน๊ะแกสมาน ลดน้ำหนัก 3 กิโลกรัม ลดเอว
  31. สีนวลประพฤติ ลดน้ำหนัก 3 กิโลกรัม ลดเอว
  32. ปรีดาแกสมาน ลดน้ำหนัก ลดเอว
  33. มารีย๊ะหลงหัน ลดน้ำหนัก 1 กิโลกรัม ลดเอว
  34. กฤษณาโซ๊ะสม ลดน้ำหนัก 3 กิโลกรัม ลดเอว
  35. ยาร๊ะเล็มโดย ลดน้ำหนักให้เหลือ 63 กิโลกรัม
  36. อาซันแกสมาน เพิ่มน้ำหนัก 5 กิโลกรัม
  37. รอเดี๊ยะแกสมาน ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม ลดเอว
  38. ปรีชาแกสมาน ลดน้ำหนักให้เหลือ 65 กิโลกรัม
  39. มัรวานตาเอดิน ลดน้ำหนัก 3 กิโลกรัม
  40. คอรีย๊ะ แกสมาน ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม
  41. สุดารัตน์แกสมาน ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม
  42. ผุสดีหวังกุหลำ ลดเอว
  43. ไซม๊ะตาเดอิน ลดน้ำหนัก 3 กิโลกรัม ลดความดัน
  44. ฮาเมี๊ยะหวังกุหลำ ปลูกผักกินเอง
  45. อังคณาเล๊ะสัน ออกกำลังกาย
  46. ฮัมซ๊ะตาเดอิน ออกกำลังกาย
  47. ฮามีด๊ะตาเดอิน ลดเรื่อยๆ
  48. มารีหยำตาเดอิน ทำให้สุขภาพแข็งแรง
  49. ฮาเบี๊ยะตาเดอิน ลดน้ำหนัก 2 กิโลกรัม ปลูกผัก
  50. สะเดี๊ยะแกสมาน ลดน้ำหนัก
  51. ลลิตายะฝา ลดน้ำหนัก 3 กิโลกรัม ภายใน 3 เดือน
  52. โนรีนาหลีเส็น ลดน้ำหนัก 1 กิโลกรัม ภายใน 3 เดือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. เตรียมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย
  2. ประสานกลุ่มเป้าหมาย วิทยากร
  3. ตรวจสุขภาพก่อนเข้าร่วมโคงการ 4.ประชุมเชิงปฏิบัติการ จำนวน 2 วัน โดยใช้กระบวนการ พัฒนาศักยภาพ การวิเคราะห์ตนเอง ประสบการณ์ชีวิต การเติมเต็ม องค์ความรู้ในการจัดการสุขภาพตนเอง ให้ความรู้ ทักษะชีวิต เปลี่ยนวิธิคิด วิธีกิน สู่ปลอดโรค
  4. จัดทำสมุดบันทึกน้ำหนัก รอบเอวของตัวเองพร้อมมีคำแนะนำเรื่องอาหาร การออกกำลังกายในสมุด
  5. ฟื้นฟูชมรมออกกำลังกายในชุมชน
    7.ประกวดเมูนูชูสุขภาพ ผักปลอดโรคจากแปลงผักที่เข้าร่วมโครงการ
  6. จัดทำ สัญญา“ฟากาต 60 90 180 สู่คนต้นแบบ ลดมันภายใน 360 วัน
  7. ติดตามประเมินผลการดูแลสุขภาพ ในสมุดบันทึกโดยทีมไบซิเคิลทัวร์ 1 เดือน 3 เดืิิอน 6 เดือน
  8. มอบของที่ระลึก ประกาศเกียรติ เสริมพลัง บุคคลต้นแบบ

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เส้นทางสู่การสลัดมัน มีทั้งหมด 2 วัน

  • วันที่3 กุมภาพันธ์ 2559 กลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม ซักประวัติ และได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น เช่น การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดัน และเจอะเลือดเพื่อหาค่าน้ำตาลในเลือดโดยมีทีม อสม. จดบันทึกลงในสมุดประจำตัว หลังจากนั้นได้ร่วมพูดคุยถึงพฤติกรรมสุขภาพโดยรวมของชุมชน ซึ่งทางทีมไบซิเคิ้ลทัวร์ได้เก็บข้อมูลมาและได้เปิดโอกาสให้กลุ่มเป้าหมายที่ได้เข้าร่วมประชุมร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน จากการร่วมพูดคุยก็ได้มีข้อสรุปที่คล้ายๆกัน คือ ต้องเริ่มที่พฤติกรรมการกิน หลังจากนั้นได้มีการแบ่งกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุมเป็น 5 กลุ่ม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม หลังจากนั้นก็ออกมานำเสนอผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม โดยในภาพรวมได้ข้อสรุปคือให้จัดทำประกวดเมนูอาหารเพื่อกระตุ้นให้ตระหนักและเห็นความสำคัญของอาหารที่รับประทานในแต่ละวันซึ่งแต่ละกลุ่มคิดเมนูอาหารกันเองและสรรพคุณเมนูอาหารโดยแต่ละกลุ่มไม่ซ้ำกัน เมื่อตกลงกันได้แร้วผู้รับผิดชอบโครงการได้สนับสนุนงบประมาณในการทำเมนูอาหารให้แต่ละกลุ่มและได้มอบเมล็ดพันธุ์ผักเพื่อต่อยอดการปลูกผักปลอดสารเคมีเพื่อรับประทานในครัวเรือน โดยจะมีการติดตามผลความก้างหน้าเป็นระยะๆ

  • วันที่4 กุมภาพันธ์ 2559 ประธานโครงการกล่าวต้อนรับผู้เข้ร่วมประชุม และเชิญวิทยากรร่วมพุดคุยให้ความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารและการออกกำลังกาย หลังจากนั้นก็มาที่โซประกวดเมนูอาหาร ซึ่งให้แต่ละกลุ่มนำเสนอเมนูอาหารที่เตรียมมาพร้อมทั้งบอกสรรคุณว่ามีผลดีต่อสุขภาพอย่างไรบ้างและจะมีทีมคณะกรรมการให้คะแนนระหว่างรอคะแนนจากทีมกรรม ก็จะมีการสาธิตการออกกำลังกายไม้พลองป้าบุญมีโดยทีมวิทยากรในชุมชน และหลังจากนั้นคณะกรรมการประกาศผลและมอบของรางวัลพร้อมทั้งให้คำแนะนำเพิ่มเติม

 

50 50

13. พบพี่เลี้ยงปรึกษาการดำเนินงาน

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรายงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • พี่เลี้ยงให้คำรึกษาและอธิบายอย่างเข้าใจ ทำให้ทีมงานสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • เพื่อปรึกษาการลงรายงานในเวปไซส์

กิจกรรมที่ทำจริง

  • พบพี่เลี้ยงเพื่อปรึกษาการลงรายงานในเวปไซส์ และสรุปเอกสารการเงินงวด1

 

2 2

14. จัดทำรายงานปิดงวด1

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อปิดโครงการและสรุปผลการดำเนินงาน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เข้าร่วมประชุมปิดโครงการและสรุปผลการดำเนินงาน งวดที่1

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เข้ารับการตรวจเอกสารการเงิน ปิดงวดโครงการ ในระยะที่ 1 ณ  สจรส.มอ

กิจกรรมที่ทำจริง

เข้ารับการตรวจเอกสารการเงิน ปิดงวดโครงการ ในระยะที่ 1 ณสจรส.มอ

 

3 3

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 28 14                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 212,940.00 106,478.00                  
คุณภาพกิจกรรม 56 48                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. จัดทำแผนชุมชนสร้างแผน สลัดมัน สลัดสารเคมี เติมเต็มวิถีพอเพียง" ( 1 มี.ค. 2559 - 2 มี.ค. 2559 )
  2. พบพี่เลี้ยงในการปรึกษาการดำเนินงาน ( 13 มี.ค. 2559 )
  3. กิจกรรมปรับวิถี สลัดสารเคมีด้วยแนวทางเกษตรอินทรีย์ ( 1 เม.ย. 2559 - 2 เม.ย. 2559 )
  4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ชุมชนการทำบัญชีครัวเรือน ( 16 พ.ค. 2559 - 17 พ.ค. 2559 )
  5. พบพี่เลี้ยงในการปรึกษาการดำเนินงาน ( 15 มิ.ย. 2559 )
  6. ประเมินผลมอบของที่ระลึก และรับประกาศเกีตรติ เสริมพลัง บุคคลต้นแบบ กิจกรรมปรับพฤติกรรมสุขภาพ เส้นทางสู่การสลัดมัน ( 6 ส.ค. 2559 )
  7. พบพี่เลี้ยงในการปรึกษาการดำเนินงาน ( 7 ส.ค. 2559 )

(................................)
นาย ดนรอหมาน ตาเดอิน
ผู้รับผิดชอบโครงการ