แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.เพื่อส่งเสริมให้คนในชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 ของครัวเรือนในชุมชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะ 2. ร้อยละ 60 ของครัวเรือนในชุมชนมีการปลูกผักไว้บริโภคในครัวเรือน 3. คนในชุมชนมีการออกกำลังทั้ง 3 ช่วงวัย (วัดจากสมุดบันทึกสุขภาพ) 4. กลุ่มเด็กและเยาวชนเรียนรู้การออกกำลังกายมโนราห์บิค

 

 

-ครัวเรือนในชุมชนมีการบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะจากการผ่านการอบรม

-ครัวเรือนในชุมชนมีการปลูกผักไว้บริโภคในครัวเรือน

-คนในชุมชนมีการออกกำลังทั้ง 3 ช่วงวัย (วัดจากสมุดบันทึกสุขภาพ)

-กลุ่มเด็กและเยาวชนเรียนรู้การออกกำลังกายมโนราห์บิค

2 1.เพื่อให้คนในชุมชนมีฐานข้อมูลการจัดการสุขภาพของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีฐานข้อมูลด้านการจัดการสุขภาพของคนในชุมชน 1 ชุด 2. มีการจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวของกลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 3ช่วงวัย

 

 

-มีฐานข้อมูลด้านการจัดการสุขภาพของคนในชุมชน 1 ชุด

-สมุดจดบันทึกสุขภาพของคนในชุมชน

3 1.เกิดสภาแกนนำในการขับเคลื่อนงานชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. สภาแกนนำ มาจากกลุ่มต่างๆในชุมชนที่มีจิตอาสา จำนวน 30 คน 2. มีกฎกติกาของสภาแกนนำที่เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายและยึดถือปฏิบัติร่วมกัน 3. กลุ่มสภาแกนนำมีการประชุมติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการทุกเดือน จำนวน 10 เดือน 4. มีผู้เข้าร่วมประชุมสภาแกนนำไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของสภาแกนนำทั้งหมด

 

 

-มีสภาแกนนำ มาจากกลุ่มต่างๆในชุมชนที่มีจิตอาสา จำนวน 30 คน

-กฎกติกาของสภาแกนนำที่เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายและยึดถือปฏิบัติร่วมกัน

-กลุ่มสภาแกนนำมีการประชุมติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการทุกเดือน จำนวน 10 เดือน

-มีผู้เข้าร่วมประชุมสภาแกนนำไม่น้อยกว่า24 ของสภาแกนนำทั้งหมด

4 เพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ สมุนไพรชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีครัวเรือนเข้าร่วมปลูกสมุนไพร 100 ครัวเรือน 2. มีการปลูกพืชสมุนไพรในโรงเรียนใน 1 แห่ง 3. เกิดศูนย์เรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร

 

 

-มีครัวเรือนเข้าร่วมปลูกสมุนไพร 100 ครัวเรือน

-มีการปลูกพืชสมุนไพรในโรงเรียนใน 1 แห่ง

-เกิดศูนย์เรียนรู้เรื่องการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร

5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

-เข้าร่วมประชุมพี่เลี้ยงและสจรส ทุกครั้งที่จัดอบรม

-มีป้ายพื้นที่ปลอดบุหรี่บริเวณพื้นที่ดำเนินกิจกรรม

-มีภาพถ่ายในการทำกิจกรรมทุกครั้ง

-จัดส่งรายงานตามกำหนด