directions_run

สร้างหมู่บ้านในฝัน ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ บ้านลานไทร

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ สร้างหมู่บ้านในฝัน ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ บ้านลานไทร
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03839
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 205,150.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย สุกิจ แก้วชื่น
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0824369887,0824369887
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอะหมัด หลีขาหรี
พื้นที่ดำเนินการ บ้านลานไทรหมู่ 2 ต.ทุ่งขมิ้น อ.นาหม่อม จ.สงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.9142424775768,100.56438446091place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 21 พ.ค. 2559 82,060.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 102,580.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 20,510.00
รวมงบประมาณ 205,150.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายในครัวเรือน

1.รายได้ในครัวเรือนเพิ่มขึ้นในขณะที่รายจ่ายลดลง(ดูจากบัญชีครัวเรือน)

2 เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคิดวางแผนและดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยอาศัยการจัดการข้อมูลชุมชนและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  1. ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านสถานการณ์และทุนชุมชนอย่างน้อย 1 ชุด
  2. มีกลุ่มเด็กเยาวชน และคนในชุมชนที่มีทักษะในการเก็บข้อมูล อย่างน้อย 20 คน
  3. มีแผนชุมชนหรือแผนปฏิบัติการเพื่อการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน อย่างน้อย 1 ฉบับ
  4. คนในชุมชนร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของตนเอง
3 เพื่อให้คนในชุมชนเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

คนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 เข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
5 เพื่อสร้างชุมชนปลอดสารเคมี โดยลดค่าใช้จ่ายและการใช้สารเคมีในการประกอบอาชีพ
  • ค่าใช้จ่ายในการใช้ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง และยาปราบศัตรูพืชในบัญชีครัวเรือนลดลง
  • ร้านค้าในชุมชนลดการจำหน่ายสินค้าปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลง และยาปราบศัตรูพืช
  • ร้านค้าในชุมชนเพิ่มการจำหน่ายวัสดุ อุปกรณ์ ที่เกี่ยวของกับการทำเกษตรอินทรีย์ เช่น กากน้ำตาล ถังหมัก เป็นต้น
6 จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้แก่คนในชุมชน

เกิดศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน อย่างน้อย 2 ศูนย์

  1. เกิดธนาคารน้ำหมัก

  2. เกิดโรงเรียนปุ๋ยอินทรีย์

7 จัดตั้งกลุ่มอาสาสมัครขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน

เกิดกลุ่มอาสาสมัครขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน  จำนวน 1 กลุ่ม

8 ส่งเสริมให้ครัวเรือนรวมกลุ่มกันเพื่อทำอาชีพเสริมตามความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตลาด

เกิดกลุ่มอาชีพเสริม อย่างน้อย 5 กลุ่ม

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2558 00:53 น.