แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคิด วางแผน และดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาในชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นฐาน
ตัวชี้วัด : 1. คนในชุมชนร้อยละ 80 เข้าร่วมกิจกรรมของโครงการ 2. คนในชุมชนร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการคิด วางแผน และดำเนินการกิจกรรมของโครงการ

 

 

จำนวนผู้ชาวบ้านและผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม

2 เพื่อให้คนในชุมชนเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : คนในชุมชนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 เข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

 

ผู้ที่เข้าร่วมโครงการแล้วกลับไปฝึกการทำบัญชีครัวเรือนและทำอาชีพเสริมที่บ้าน

3 เพื่อจัดตั้งคณะทำงานด้านการส่งเสริมอาชีพและเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีคณะทำงานด้านการส่งเสริมอาชีพและเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน จำนวน 1 คณะ

 

 

เกิดการติดตามการทำงานของกลุ่มอาชีพเสริมในชุมชนได้แก่ กลุ่มผลิตภัณฑ์จากเชือกร่ม กลุ่มเลี้ยงผึ้งและชันโรง กลุ่มเกษตรผสมผสานปลูกพืชร่วมยาง และกลุ่มนักเรียนโรงเรียนบ้านคลองต่อ

4 เพื่อสร้างชุมชนพึ่งตนเอง โดยลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้แก่ครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีค่าใช้จ่ายลดลง และมีรายได้เพิ่มขึ้น

 

 

-ครัวเรือนในชุมชนบางส่วนมีจำนวนหนี้สินที่ลดลงพร้อมกับการลดลงของการในสร้างภาระหนี้สินของครัวเรือนในชุมชน

5 เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนรวมกลุ่มกันเพื่อทำอาชีพเสริมตามความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตลาด
ตัวชี้วัด : เกิดกลุ่มอาชีพเสริมในชุมชน อย่างน้อย 3-5 กลุ่ม

 

 

กลุ่มต่างๆที่เกิดจากการรวมกลุ่มของชาวบ้านได้แก่
1.กลุ่มผลิตภัณฑ์จากเชือกร่ม
2.กลุ่มเลี้ยงผึ้งและชันโรง
3.กลุ่มเกษตรผสมผสานปลูกพืชร่วมยาง
4.กลุ่มนักเรียนโรงเรียนบ้านคลองต่อ

6 เพื่อจัดตั้งจุดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีจุดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพในชุมชน อย่างน้อย 1 จุด

 

 

เปิดร้านจำหน่ายสินค้าผลิตในภัณฑ์ชุมชน

7 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูลชุมชน การวางแผน และการจัดทำแผนปฏิบัติการของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านสถานการณ์และทุนชุมชนอย่างน้อย 1 ชุด 2. มีกลุ่มเด็กเยาวชน และคนในชุมชนที่มีทักษะในการเก็บข้อมูล อย่างน้อย 20 คน 3. มีแผนชุมชนหรือแผนปฏิบัติการเพื่อการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน อย่างน้อย 1 ฉบับ

 

 

มีการจัดทำการรวบรวมข้อมูลและจัดทำฐานข้อมูลชุมชนด้านรายรับ รายจ่าย และหนี้สินครัวเรือน

8 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

-เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้งที่ทาง สสส.หรือสจรส.มอ.จัดขึ้น
-มีการจัดทำปิดป้ายปลอดบุหรี่ขึ้นในสถานที่สาธารณะ ได้แก่ บริเวณอาคารอเนกประสงค์มัสยิดบ้านคลองต่อใน และบริเวณอาคารศูนย์ประสานงานประจำหมู่บ้าน