แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ อาชีพเสริมเพิ่มคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านคลองต่อ

ชุมชน บ้านคลองต่อ หมู่ 10 ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ จ.สงขลา

รหัสโครงการ 58-03816 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2142

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กันยายน 2558 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 5 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการให้เป็นไปตามแผนและบรรลุเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการมีความเข้าใจกระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การทำงานร่วมกันระหว่าง สจรส.ม.อ. พี่เลี้ยง และผู้รับผิดชอบโครงการการบริหารจัดการโครงการ การรายงานผลผ่านเวบไซต์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของโครงการ การสังเคราะห์ผลของโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การเข้าใช้งานระบบเวบไซต์คนใต้สร้าง www.happynetwork.org ผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูลรายละเอีดยโครงการ ลงในเวบไซต์ประกอบด้วย • รายละเอียดโครงการ (วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรม และงบประมาณ) • แผนภาพเชิงระบบโครงการ • กำหนดปฏิทินการดำเนินงานใน 1 ปี • รายงานผู้รับผิดชอบ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

รับฟังคำชี้แจงการบริหารจัดการโครงการ การกรอกข้อมูลในเวปไซต์ และฝึกปฏิบัติการกรอกข้อมูลแผนการดำเนินงานและการรายงานผลการจัดกิจกรรม

กิจกรรมที่ทำจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการทำความเข้าใจกระบวนการติดตามสนับสนุนโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การทำงานร่วมกันระหว่าง สจรส.ม.อ. พี่เลี้ยง และผู้รับผิดชอบโครงการการบริหารจัดการโครงการ การรายงานผลผ่านเวบไซต์ การบริหารจัดการความเสี่ยงของโครงการ การสังเคราะห์ผลของโครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่ภาคใต้ การเข้าใช้งานระบบเวบไซต์คนใต้สร้าง www.happynetwork.org ผู้รับผิดชอบโครงการกรอกข้อมูลรายละเอีดยโครงการ ลงในเวบไซต์ประกอบด้วย • รายละเอียดโครงการ (วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด กิจกรรม และงบประมาณ) • แผนภาพเชิงระบบโครงการ • กำหนดปฏิทินการดำเนินงานใน 1 ปี • รายงานผู้รับผิดชอบ

 

2 2

2. ประชุมสภาผู้นำชุมชน และคณะกรรมการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 1

วันที่ 28 ตุลาคม 2558 เวลา 14:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทำความเข้าใจการดำเนินการโครงการและแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-มีแผน และแนวทางในการดำเนินการกิจกรรม
-นำเสนอปัญหา ร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไข และมีการติดตามความคืบหน้าของโครงการอย่างต่อเนื่อง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการโครงการ โดยคัดเลือกจากสภาผู้นำชุมชน จำนวน 30 คน มีหน้าที่ดำเนินการโครงการและรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาผู้นำทุกเดือน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. รวมกลุ่มแกนนำในชุมชน มาพูดคุยทำความเข้าใจและแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการสภาชุมชน จำนวน 30 คน ประกอบด้วย –ผู้ใหญ่บ้าน –กรรมการหมู่บ้าน –สมาชิกเทศบาล –ตัวแทนกลุ่มอสม. –ตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชน –ผู้อาวุโสของชุมชน -กลุ่มพัฒนาบทบาทสตรี 2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการโครงการ โดยคัดเลือกจากสภาผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน มีหน้าที่ดำเนินการโครงการและรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาผู้นำทุกเดือน
  2. มีการประชุมสภาผู้นำชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง รวมจำนวน 10 ครั้งตลอดระยะเวลาโครงการ เพื่อให้คณะกรรมการดำเนินโครงการรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาผู้นำชุมชนด้านการวางแผนกิจกรรม กำหนดแนวทางในการดำเนินการกิจกรรม ค้นหาปัญหา แนวทางแก้ไข และติดตามความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

-ออกหนังสือเชิญให้กับบุคคลต่างๆที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย -จัดสถานที่สำหรับการประชุม -จัดการประชุมพร้อมบริการอาหารว่าง -ดำเนินการประชุม

 

30 30

3. ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

วันที่ 31 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

จัดทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ จำนวน 4 ป้าย

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จัดทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ จำนวน 4 แผ่นป้าย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

จัดทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ จำนวน 4 แผ่นป้าย

 

260 260

4. สำรวจและรวบรวมข้อมูลการว่างงาน รายรับ รายจ่าย และหนี้ครัวเรือนชุมชนบ้านคลองต่อ

วันที่ 7 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสำรวจข้อมูลด้านการอุปโภคและการบริโภคของคนในชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

  • มีฐานข้อมูลการว่างงาน รายรับ รายจ่าย และหนี้ครัวเรือน
  • เด็กเยาวชนและคนในชุมชนมีทักษะในการสำรวจและการเก็บรวบรวมข้อมูล
  • เด็กและผู้ใหญ่มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลสรุปที่ได้จากการสำรวจข้อมูลชุมชน มีดังนี้ 1. บ้านคลองต่อพื้นที่เป็นที่ราบบางส่วนเป็นควนเอื้ออำนวยต่อการประกอบอาชีพการเกษตรเศรษฐกิจส่วนใหญ่เกิดจากผลผลิตทางการเกษตร และมีประชากรจำนวนครัวเรือน 272 ครัวเรือน ได้มีการประกอบอาชีพของราษฎรในหมู่บ้านแยกเป็นประเภท ดังนี้ 1. การประกอบอาชีพยางพารา จำนวน 214 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 72.05 % 2. การประกอบอาชีพค้าขาย จำนวน 28 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 9.42 % 3. การประกอบอาชีพอื่น ๆจำนวน 55 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 18.15 %

  1. ผู้มีความรู้ /ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านต่าง ๆ ในชุมชน
    แพทย์แผนไทย/ สมุนไพร/ หมอพื้นบ้านได้แก่ 2.1 นางเสียะบิลอะหลีที่อยู่20 หมู่ที่10ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลารายละเอียดหมอบีบนวด 2.2 นายดลเหล๊าะหมัดอะด้ำ ที่อยู่196 หมู่ที่ 10 ตำบลกำแพงเพชรอำเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลารายละเอียดหมอบีบเส้น 2.3นายเหย็บหมัดอารีที่อยู่442 หมู่ที่ 10 ตำบลกำแพงเพชรอำเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลารายละเอียดหมอต้มยา

3.ผู้อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม/ ประเพณีท้องถิ่นได้แก่ 3.1 นายหรอนีบิลหรีม ที่อยู่98 หมู่ที่ 10ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลารายละเอียดจัดงานเมาลิดประจำปี 3.2นายหนอดบุญเลิศที่อยู่29 หมู่ที่ 10ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลารายละเอียดจัดงานทำบุญกุโบร์ประจำปี

  1. งานฝีมือต่าง ๆ เช่นช่างไม้ ช่างปั้นช่างแกะหัตถกรรม/ จักรสาน ทอผ้า ได้แก่
    4.1นายดลเหล๊าะหมีนเส็นที่อยู่564หมู่ที่ 10ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลา รายละเอียด ช่างไม้แกะสลัก 4.2นายอีบหมัดยูโส๊ะที่อยู่437หมู่ที่ 10ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลา รายละเอียด ช่างไม้เฟอร์นิเจอร์

  2. ผู้มีความรู้ด้านการเกษตรเช่นการเพาะปลูก ขยายพันธ์การปรับใช้เทคโนโลยีได้แก่
    5.1 นายสันติหลีอาสันที่อยู่48หมู่ที่ 10ตำบลกำแพงเพชรอำเภอรัตภูมิจังหวัดสงขลา รายละเอียด การขยายพันธ์พืชติดตาลองกอง เสียบยอดลองกอง เสียยอดทุเรียน

    1. การรวมกลุ่มของประชากรในชุมชน มีดังนี้
    • กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตสมาชิก 1,019คน
    • กลุ่มแม่บ้าน (กพสม.) สมาชิก 25 คน
    • กลุ่ม อสม. สมาชิก 299 คน
    • สหกรณ์ ส.ก.ย. จำกัด สมาชิก 299คน
    • สถาบันการเงินชุมชน สมาชิก 2,847 คน
    • กองทุนหมู่บ้าน สมาชิก 1,019คน
    • กองทุนแม่ของแผ่นดิน สมาชิก1,019คน
    • ศูนย์สาธิตการตลาด สมาชิก1,019คน
    • กองทุนปุ๋ย กลุ่มออมทรัพย์ สมาชิก1,019 คน
    • สวัสดิการมูรอบาอะห์ (ขายสินค้าบวกกำไร) สมาชิก1,019คน
    • กองทุนมูรอบาอะห์ (กทบ) สมาชิก475 คน
    • กลุ่มน้ำยางสด สมาชิก59คน
    • กลุ่มฌาปนกิจสงเคราะห์ สมาชิก375 คน
    • กองทุน กข.คจ สมาชิก38คน
    • กองทุนสงเคราะห์ราษฎรประจำหมู่บ้าน สมาชิก- คน
    • กองทุนกลุ่มอาชีพเยาวชนเลี้ยงแพะ สมาชิก 17 คน
    • กองทุนพัฒนาที่อยู่อาศัย / ที่ดินทำกิน สมาชิก 863 คน
    • กลุ่มผู้ใช้น้ำประปา สมาชิก 317 คน

รายได้ของหมู่บ้าน / อาชีพของครัวเรือน แบ่งตามประเภทต่างๆ ดังนี้
- ข้าราชการ ครู ตำรวจ พยาบาล จำนวน 30 คน รายได้เฉลี่ย/ต่อปี16,200,000 บาท
- ลูกจ้าง ราชการ/ประจำ/ชั่วคราว จำนวน 16 คน รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 5,904,000 บาท
- พนักงานบริษัท จำนวน 120 บริษัท รายได้เฉลี่ย/ต่อปี22,860,000 บาท
- ทำสวน (ยางพารา,ปลูกผัก,ผลไม้) จำนวน 447 คน รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 46,916,000 บาท
- รับจ้าง จำนวน 44 บริษัท รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 12,636,000 บาท
- ธุรกิจส่วนตัวรายได้เฉลี่ย/ต่อปี 9,702,000 บาท

อาชีพทางการเกษตร แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- ยางพารา จำนวน 5,500 ไร่ รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 79,200,000 บาท
- มะพร้าว จำนวน 56 ไร่ รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 20,000 บาท
- ทุเรียน จำนวน 50 ไร่ รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 150,000 บาท
- ลองกอง จำนวน 87 ไร่ รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 800,000 บาท
- สะตอ จำนวน 13 ไร่ รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 25,000 บาท
- มังคุด จำนวน 10 ไร่ รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 40,000 บาท
- เงาะ จำนวน 32 ไร่ รายได้เฉลี่ย/ต่อปี 160,000 บาท

อาชีพทางการเลี้ยงสัตว์ แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- ไก่พื้นเมือง จำนวน รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี 1,080 86,400 บาท
- เป็ด จำนวน 400 ตัวรายได้เฉลี่ย/ ต่อปี 32,000 บาท
- แพะ จำนวน 500 ตัว รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี 60,000 บาท
- วัว จำนวน 50 ตัว รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี 50,000 บาท

การเลี้ยงปลา แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้ - ปลาดุก จำนวน 2,000ตัว รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี 100,000 บาท
- ปลานิล จำนวน 1,000 ตัว รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี 50,000 บาท

อาชีพทางการค้าขาย แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- ของชำ จำนวน 8ราย รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี2,880,000 บาท
- เสื้อผ้า จำนวน 3ราย รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี1,620,000 บาท
- ซื้อของขาย(คนกลาง) จำนวน 4ราย รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี1,728,000 บาท
- อาหาร จำนวน 6ราย รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี1,512,000 บาท
- อื่น ๆ จำนวน 4ราย รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี1,008,000 บาท

อาชีพทางการบริการ แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- ร้านช่างตัดผม/เสริมสวย จำนวน3 ราย รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี21,600 บาท
- ร้านซ่อมรถ จำนวน3 ราย รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี108,000 บาท
- ขับรถรับจ้าง จำนวน 120 ราย รายได้เฉลี่ย/ ต่อปี54,000 บาท

รายได้อื่น ๆ
- ลูกหลานส่งให้ 200,000 บาท/ปี
- ดอกเบี้ย/เงินปันผล 700,000 บาท/ปี
- ค่าเช่า 300,000 บาท/ปี
- อื่น ๆ -

ค่าใช้จ่ายของหมู่บ้าน หมวดของใช้สิ้นเปลือง แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- สบู่/ครีบอาบน้ำ 154,480 บาท/ปี
- แชมพู/ครีมนวด 140,860 บาท/ปี
- ผงซักฟอก396,600 บาท/ปี
- น้ำยาล้างจาน 81,720 บาท/ปี
- น้ำยาล้างห้องน้ำ73,000 บาท/ปี
- น้ำยาปรับผ้านุ่ม 73,000 บาท/ปี
- น้ำมันรถจักรยานยนต์ 1,830,725 บาท/ปี
- ยาสีฟัน/แปรงสีฟัน 100,260 บาท/ปี
- ผ้าอนามัย 78,000 บาท/ปี
- สก๊อตไบต์27,000 บาท/ปี
- กระดาษชำระ 205,200 บาท/ปี
- เครื่องสำอางต่าง ๆ 122,400 บาท/ปี
- เสื้อผ้า 235,000 บาท/ปี
- น้ำมันรถยนต์ 2,160,000 บาท/ปี

ค่าใช้จ่าย หมวดการผลิต (ต้นทุนการผลิต/ประกอบอาชีพ) แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- น้ำมันเครื่องสูบน้ำ- บาท/ปี
- ค่าน้ำมันรถไถ- บาท/ปี
- ค่าไถปรับพื้นที่ 366,000 บาท/ปี
- ค่าปุ๋ยเคมี 6,094,400 บาท/ปี
- ค่าปุ๋ยหมัก/ชีวภาพ1,900,000 บาท/ปี
- ยาฆ่าแมลง96,000บาท/ปี
- ค่าจ้างแรงงาน 2,218,000บาท/ปี
- เครื่องมือ/อุปกรณ์การผลิต 856,000บาท/ปี
- ค่าพันธ์พืช 332,000บาท/ปี
- ค่าอาหารสัตว์ 319,200บาท/ปี

ค่าใช้จ่าย หมวดการศึกษา แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- ค่าเทอม/ค่าเล่าเรียน 2,450,000 บาท/ปี
- อุปกรณ์การเรียน 415,000 บาท/ปี
- เงินไปโรงเรียน 6,516,000 บาท/ปี
- ค่ากิจกรรมพิเศษ 7,800 บาท/ปี
- ค่าเรียนพิเศษ/ติว 25,500 บาท/ปี

ค่าใช้จ่าย หมวดอาหารและยารักษาโรค แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- ผัก1,376,400 บาท/ปี
- ผลไม้2,034,000 บาท/ปี
- ข้าสาร 1,749,600 บาท/ปี
- เนื้อสัตว์ 1,789,920 บาท/ปี
- อาหารทะเล 4,068,000 บาท/ปี
- ขนม 4,881,600 บาท/ปี
- ไข่ 813,600 บาท/ปี
- ผงชูรส 13,560 บาท/ปี
- เครื่องปรุงสำเร็จรูป21,600 บาท/ปี
- กาแฟ/โอวัลติน/ครีมเทียม 1,146,000 บาท/ปี
- นมผง/นมสด 345,600 บาท/ปี
- เกลือ 13,620 บาท/ปี
- กะปิ 90,000 บาท/ปี - ยาบำรุงร่างกาย 9,500บาท/ปี
- พริก/หอม/กระเทียม 606,000 บาท/ปี
- น้ำมันพืช 777,000 บาท/ปี
- น้ำตาลทราย 266,400 บาท/ปี
- น้ำปลา/เครื่องปรุงรส 134,400 บาท/ปี
- อาหารสำเร็จรูป 120,000 บาท/ปี
- อาหารกระป๋อง 471,600 บาท/ปี
- น้ำดื่ม 265,200บาท/ปี
- ยาแก้ปวด 1,075 บาท/ปี
- ยาแก้ไข้ 3,800 บาท/ปี
- ยาสมุนไพร 5,500 บาท/ปี
- ยาจากโรงพยาบาล/อนามัย 110,000 บาท/ปี
- ยาจากคลีนิค 17,500 บาท/ปี

ค่าใช้จ่าย
หมวดสังคม แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- งานบุญ (มัสยิด) 90,000 บาท/ปี
- งานสังคม(บวช/แต่งงาน/ศพ) 207,000 บาท/ปี
- บริจาคช่วยเหลือผู้เดือนร้อน 111,000 บาท/ปี

ค่าใช้จ่าย หมวดบันเทิง/ฟุ่มเฟือย แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- เครื่องดื่มชูกำลัง 72,000 บาท/ปี
- น้ำอัดลม/น้ำหวาน 63,000 บาท/ปี
- การพนัน 480,000 บาท/ปี
- บุหรี่ 780,000 บาท/ปี
- ดูหนัง/ฟังเพลง 5,500 บาท/ปี
- ซื้อแผ่นหนัง/เพลง 37,500บาท/ปี
- เสี่ยงโชค(หวย) 5,520 บาท/ปี

หมวดสิ่งอำนวยความสะดวก/ของใช้ในครัวเรือน แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- ปั้มน้ำ ท่อน้ำ 235,000 บาท/ปี
- ค่าไฟ 810,000 บาท/ปี
- ค่าโทรศัพท์บ้าน/มือถือ 232,000 บาท/ปี
- ค่าซื้อของใช้ในครัว(จาน/ช้อน) 38,500 บาท/ปี
- เฟอร์นิเจอร์ 325,000 บาท/ปี
- น้ำมันรถ 6,570,000 บาท/ปี
- คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 315,000บาท/ปี
- พัดลม/แอร์ 135,000 บาท/ปี
- โทรทัศน์/เครื่องเสียง 1,350,000 บาท/ปี
- รถจักรยานยนต์ 7,300,000 บาท/ปี
- รถยนต์ 41,400,000 บาท/ปี

หมวดหนี้สิน ที่ รายการ หนี้คงเหลือ งวดชำระ/เดือน รวม กู้เพื่อ แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- ธ.ก.ส. หนี้คงเหลือ 2000000 งวดชำระ/เดือน 20,000 รวม 2,020,000 กู้เพื่อการเกษตร
- กองทุนหมู่บ้าน หนี้คงเหลือ 1040,000 งวดชำระ/เดือน 10,400 รวม 1,050,400 กู้เพื่อการเกษตร
- กลุ่มออมทรัพย์ หนี้คงเหลือ 683460 งวดชำระ/เดือน 6,834 รวม 690,294 กู้เพื่อการเกษตร
- สถาบันการเงินชุมชน หนี้คงเหลือ 3,069,448 งวดชำระ/เดือน 30,694 รวม 3,100,142 กู้เพื่อการเกษตร
- บริษัทเงินทุน (ไพแนนส์) หนี้คงเหลือ 1,800,000 งวดชำระ/เดือน 18,000 รวม 1,818,000 กู้เพื่อธุรกิจ

ทรัพย์สินสิ้นเปลืองภายในหมู่บ้าน แบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
- รถยนต์กระบะบรรทุก จำนวน 2 มูลค่า 1,000,000
- รถเก๋ง รถนั่งส่วนบุคคล จำนวน 200 มูลค่า 6,000,000
- รถบรรทุก 6ล้อ จำนวน 6 มูลค่า 3,000,000
- จักรยานยนต์ จำนวน 300 มูลค่า 3,000,000
- รถไถนาเดินตาม จำนวน 2 มูลค่า 40,000
- รถแทรกเตอรไถนา จำนวน 2 มูลค่า 1,300,000
- ตู้เย็น จำนวน 270 มูลค่า 2,700,000
- ทีวี จำนวน 270 มูลค่า 1,350,000
- เครื่องเล่น ซีดี ดีวีดี เครื่องเสียง จำนวน 70 มูลค่า 350,000
- โทรศัพท์มือถือ จำนวน 200 มูลค่า 1,000,000
- พัดลม จำนวน 200 มูลค่า 200000
- เครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 100 มูลค่า 100,000

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คัดเลือกกลุ่มเก็บข้อมูลโดยใช้กลุ่มเด็กเยาวชนเป็นตัวหลักในการเก็บรวมรวมข้อมูล
  2. ออกแบบเครื่องมือและรูปแบบการเก็บข้อมูล
  3. ทำการสำรวจข้อมูลด้านการอุปโภคและการบริโภคของคนในชุมชน
  4. สัมภาษณ์แต่ละครัวเรือน ในประเด็นต่อไปนี้
    • ความทุกข์ที่เกิดจากการว่างงาน เป็นหนี้
    • สาเหตุสำคัญที่ทำให้ต้องว่างงาน เป็นหนี้
    • การดำรงชีวิตของแต่ละครัวเรือน
    • ความต้องการและแนวทางการจัดการหนี้ และอาชีพเสริม
  5. จัดทำรายงานการสำรวจ

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ออกแบบใบสอบถามในการเก็บข้อมูล
  • ทำการสำรวจข้อมูลด้านการอุปโภคและบริโภคของคนในชุมชน
  • สัมภาษณ์ข้อมูลของแต่ละครัวเรือนในประเด็นต่างๆ เช่น รายรับ รายจ่าย การว่างงาน ความทุกข์ที่เกิดจากการว่างงาน ความต้องการและแนวทางการจัดการหนี้และอาชีพเสริม เป็นต้น

 

60 60

5. ประชุมสภาผู้นำชุมชน และคณะกรรมการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 2

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2558 เวลา 20:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจข้อมูลด้านการอุปโภคและการบริโภคของคนในชุมชนมาประยุกต์ใช้ในกิจกรรมต่อๆไปของโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-มีแผน และแนวทางในการดำเนินการกิจกรรม
-นำเสนอปัญหา ร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไข และมีการติดตามความคืบหน้าของโครงการอย่างต่อเนื่อง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ข้อสรุปในการประชุม มีดังนี้
- กำหนดวันและเวลาในการนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจรายรับ รายจ่าย และหนี้สินครัวเรือนมาวิเคราะห์
- กำหนดให้อาคารอเนกประสงค์สถาบันการเงินชุมชนฯเป็นสถานที่ในการนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมาวิเคราะห์
- กำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรมของโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. รวมกลุ่มแกนนำในชุมชน มาพูดคุยทำความเข้าใจและแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการสภาชุมชน จำนวน 30 คน ประกอบด้วย –ผู้ใหญ่บ้าน –กรรมการหมู่บ้าน –สมาชิกเทศบาล –ตัวแทนกลุ่มอสม. –ตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชน –ผู้อาวุโสของชุมชน -กลุ่มพัฒนาบทบาทสตรี 2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการโครงการ โดยคัดเลือกจากสภาผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน มีหน้าที่ดำเนินการโครงการและรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาผู้นำทุกเดือน
  2. มีการประชุมสภาผู้นำชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง รวมจำนวน 10 ครั้งตลอดระยะเวลาโครงการ เพื่อให้คณะกรรมการดำเนินโครงการรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาผู้นำชุมชนด้านการวางแผนกิจกรรม กำหนดแนวทางในการดำเนินการกิจกรรม ค้นหาปัญหา แนวทางแก้ไข และติดตามความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ออกหนังสือเชิญให้กับบุคคลต่างๆที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย
  • จัดสถานที่สำหรับการประชุม
  • จัดการประชุมพร้อมบริการอาหารว่าง
  • ดำเนินการประชุม

 

30 30

6. อบรมการเขียนรายงานการดำเนินงานและรายงานการเงิน

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโครงการ ด้านการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้รับทุนโครงการ มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนรายงานผลการดำเนินโครงการการจัดการเอกสารการเงินและการทำรายงานการเงินที่ถูกต้อง การหักภาษีโครงการชุมชนน่าอยู่ และสามารถปฏิบัติการจัดทำรายงานและเอกสารการเงินที่ถูกต้องได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • รับฟังคำชี้แจงการเขียนรายงานการดำเนินงานและการเขียนรายงานการเงิน

กิจกรรมที่ทำจริง

เวลา 08.30 – 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
เวลา 09.00 – 09.30 น. การเขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ โดย คุณญัตติพงค์ แก้วทอง : สจรส.มอ.
เวลา 09.30 – 10.00 น. การจัดการเอกสารการเงินและการทำรายงานการเงินที่ถูกต้อง โดย คุณนงลักษณ์ รักเล่ง และคุณเยาวลักษณ์ ศรีสุกใส : สจรส.มอ.
เวลา 10.30 – 11.00 น. การหักภาษีโครงการชุมชนน่าอยู่ โดย คุณสุทธิพงษ์ อุสาหะพงษ์สิน
เวลา 11.00 – 12.00 น. ซักถามแลกเปลี่ยน
เวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 16.00 น. แบ่งกลุ่มปฏิบัติการจัดทำรายงานและเอกสารการเงินที่ถูกต้อง
กลุ่ม 1 : คุณซูวารีมอซู
กลุ่ม 2 : คุณอารีย์สุวรรณชาตรี
กลุ่ม 3 : คุณใบเฟริ์น สุวรรณมณี
กลุ่ม 4 : คุณนงลักษณ์รักเล่่่่่่ง
กลุ่ม 5 : คุณญัตติพงค์แก้วทอง
กลุ่ม 6 : คุณเยาวลักษณ์ ศรีสุกใส
กลุ่่่่่่่ม 7 : คุณฮามีดะ หวันนุรัตน์
กลุ่่ม 8 : คุณจุรีย์ หนูผุด
เวลา 16.00 – 16.30 น. สรุปและถอดบทเรียนร่วมกัน

 

2 1

7. วิเคราะห์ข้อมูลการว่างงาน รายรับ รายจ่าย และหนี้สินที่ได้จากการสำรวจ

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2558 เวลา 10:00 - 15.00 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้ทราบถึงสาเหตุสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการว่างงาน การจัดการรายได้ และการจัดการปัญหาหนี้สิน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

ทราบสาเหตุสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการว่างงาน การจัดการรายได้ และการจัดการปัญหาหนี้สิน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ข้อมูลทีได้จากการวิเคราะห์และเเบ่งออกเป็นประเภท มีดังนี้
วิเคราะห์SWOTANALYSIS
1. จุดแข็ง (Strengths : S)
- มีผู้นำทางพิธีกรรม
- มีสถานศึกษาระดับมัธยมใกล้หมู่บ้าน
- มีกลุ่มอาชีพหลากหลาย
- มีแหล่งท่องเที่ยวในหมู่บ้าน (น้ำตกโตนปลิว) - มีกลุ่มองค์กรการเงินในหมู่บ้าน (แหล่งเงินทุน)
- มีการนวดแผนโบราณ
- กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
- กองทุนหมู่บ้าน - ธนาคารหมู่บ้าน
- วิสาหกิจชุมชน (ศูนย์สาธิตการตลาด)
- สหกรณ์ยาง
- สภาผู้นำหมู่บ้าน

  1. จุดอ่อน (Weaknesses : W)

- การประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึง (ไม่มีหอกระจายข่าว)
- มีการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย (เครื่องดื่นมึนเมาบุหรี่)
- ความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพอนามัยมีน้อย
- ขาดที่สาธารณะในหมู่บ้าน
- ตลาดการเกษตรต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง
- ขาดระบบโทรศัพท์พื้นฐาน - มีการมั่วสุมอบายมุข
- ที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย ที่ดินไม่มีเอกสารสิทธิ์
- ระบบประปาไม่ทั่วถึง
- ขาดตลาดรองรับงานประดิษฐ์

3.โอกาส (Opportunities : O)
- เงินอุดหนุน SMLโครงการพัฒนาหมู่บ้าน / ชุมชน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (พ.พ.พ.) อยู่ดีมีสุข
- อยู่ใกล้ย่านธุรกิจการค้า (หาดใหญ่) สถานศึกษา (วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย) สถานพยาบาล (ทั้งของรัฐและเอกชน)

  1. อุปสรรคหรือข้อจำกัด (Threats: T)
    -ขาดการวางแผนและการประสานแผนในระยะยาว

สภาพปัญหาของหมู่บ้าน
1. ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน - การคมนาคมในหมู่บ้านไม่สะดวก (เป็นหลุมเป็นบ่อ)
- ถนน 1สายหน้าฝนมีน้ำท่วมขังใช้ได้ไม่สะดวก
- คูระบายน้ำตื้นเขินน้ำไหลไม่สะดวกในช่วงน้ำหลาก
- ท่อระบายน้ำมีน้อย
- ถนนภายในหมู่บ้านไม่ได้มาตรฐาน
- โทรศัพท์พื้นฐานไม่ทั่วถึง
- ระบบประปาที่มีอยู่ไม่สามารถใช้การได้
- น้ำสะอาดสำหรับดื่มไม่เพียงพอ (ต้องซื้อน้ำดื่ม)
- ขาดแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร (ฝาย หรือบึงเก็บน้ำ)
2. ปัญหาด้านการพัฒนาอาชีพ
- การขายผลผลิตต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง
- ต้นทุนการผลิตสูง
- การประกอบอาชีพเสริมมีน้อยและไม่แน่นอน
- สินค้าอุปโภคและบริโภคราคาแพง
- มีการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
- ไม่มีการทำบัญชีรายรับ – รายจ่ายครัวเรือน
- ราคาผลผลิตการเกษตรไม่แน่นอน
- ไม่มีตลาดกลางซื้อขายผลผลิตในหมู่บ้าน

ความต้องการของประชาชนในหมู่บ้าน
1. ความต้องการด้านโครงสร้างพื้นฐาน - การพัฒนาปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและยกระดับถนนภายในหมู่บ้านประสานงานองค์การโทรศัพท์ให้มีการให้บริการโทรศัพท์อย่างทั่วถึง
- พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรเร่งรัดให้มีการประปาหมู่บ้านที่ใช้น้ำบริโภคและอุปโภคให้มีการขุดบ่อน้ำตื้นความลึก15เมตรให้มากขึ้น
2. ความต้องการทางด้านการพัฒนาอาชีพ
- มีการส่งเสริมอาชีพด้านการรวมกลุ่มภายในหมู่บ้านอย่างน้อย3กลุ่มโดยมีคณะกรรมการระเบียบกลุ่มและระบบการจัดการที่ชัดเจนมีการระดมทุน
- จัดให้มีตลาดกลางซื้อขายผลผลิตและร้านค้าริมทางเพื่อรองรับการส่งเสริมการผลิต
- จัดให้มีการอบรมด้านการประกอบอาชีพและด้านคุณภาพชีวิตจากหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง
- ฝึกอบรมกลุ่มอาชีพ
- คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคิด วางแผน เพื่อแก้ปัญหาของชุมชน
- นำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจข้อมูลการว่างงาน รายรับ รายจ่าย และหนี้ครัวเรือนมาวิเคราะห์ เพื่อนำไปสู่การแก้ปัญหา
- สามารถทราบถึงสาเหตุสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการจัดการปัญหาหนี้สิน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • เชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญมาช่วยในการวิคราะห์ร่วมกับเด็กและเจ้าของข้อมูล
  • วิเคราะห์ถึงสาเหตุสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการจัดการปัญหาหนี้สิน

กิจกรรมที่ทำจริง

เชิญวิทยากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญมาช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูลทีได้จากการสำรวจ วิเคราะห์ถึงสาเหตุสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการจัดการปัญหาหนี้สิน

 

60 60

8. ประชุมสภาผู้นำชุมชน และคณะกรรมการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 3

วันที่ 15 ธันวาคม 2558 เวลา 20:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

รายงานและติดตามความคืบหน้าของโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-มีแผน และแนวทางในการดำเนินการกิจกรรม
-นำเสนอปัญหา ร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไข และมีการติดตามความคืบหน้าของโครงการอย่างต่อเนื่อง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ข้อสรุปในการประชุม มีดังนี้
- กำหนดวันและเวลาในการจัดกิจกรรมเปิดเวทีอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการจัดทำบัญชีครัวเรือน
- กำหนดให้อาคารอเนกประสงค์มัสยิดบ้านคลองต่อในเป็นสถานที่ในการจัดกิจกรรมดังกล่าว
- กำหนดแนวทางการดำเนินกิจกรรมของโครงการให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. รวมกลุ่มแกนนำในชุมชน มาพูดคุยทำความเข้าใจและแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการสภาชุมชน จำนวน 30 คน ประกอบด้วย –ผู้ใหญ่บ้าน –กรรมการหมู่บ้าน –สมาชิกเทศบาล –ตัวแทนกลุ่มอสม. –ตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชน –ผู้อาวุโสของชุมชน -กลุ่มพัฒนาบทบาทสตรี 2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการโครงการ โดยคัดเลือกจากสภาผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน มีหน้าที่ดำเนินการโครงการและรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาผู้นำทุกเดือน
  2. มีการประชุมสภาผู้นำชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง รวมจำนวน 10 ครั้งตลอดระยะเวลาโครงการ เพื่อให้คณะกรรมการดำเนินโครงการรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาผู้นำชุมชนด้านการวางแผนกิจกรรม กำหนดแนวทางในการดำเนินการกิจกรรม ค้นหาปัญหา แนวทางแก้ไข และติดตามความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ออกหนังสือเชิญให้กับบุคคลต่างๆที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย
  • จัดสถานที่สำหรับการประชุม ณ อาคารศูนย์ประสานงานประจำหมู่บ้าน
  • จัดการประชุมพร้อมบริการอาหารว่าง
  • ดำเนินการประชุม

 

30 32

9. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดทำบัญชีครัวเรือน

วันที่ 19 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้คนในชุมชนสามารถเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-คนในชุมชนเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการโครงการ และเข้าใจบทบาทของตนเองในการมีส่วนร่วมกับโครงการ

-ครัวเรือนที่สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการ

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สิ่งที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการเปิดเวทีอาชีพเสริมเพิ่มคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านคลองต่อ มีดังนี้ - คนในชุมชนเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินโครงการและเข้าใจบทบาทของตนเองในการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของโครงการ
- ครัวเรือนที่สนใจได้สมัครเข้าร่วมโครงการตามกลุ่มอาชีพที่ตนถนัด
- คนในชุมชนได้แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้ที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งกันและกัน
- คนในชุมชนได้รับข้อมูลจากการสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลของชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. คืนข้อมูลที่ได้จากการสำรวจและวิเคราะห์แก่คนในชุมชน ผ่านนิทรรศการและกิจกรรมการนำเสนอของเด็กและเยาวชน
  2. ประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการแก่ประชาชนในชุมชน ชี้แจงรายละเอียด ตอบข้อซักถาม และเปิดรับสมัครครัวเรือนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
  3. อบรมให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำระดับชั้น ป.4 - ป.ุ6 ของโรงเรียนบ้านคลองต่อและคนในชุมชน

กิจกรรมที่ทำจริง

  • นำเสนอข้อมูลที่ได้จากการสำรวจและวิเคราะห์ให้แก่คนในชุมชน เยาวชน และผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการให้แก่คนในชุมชน เยาวชน และผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทราบ
  • กิจกรรมการเสวนาในหัวข้อ อาชีพเสริมเพิ่มคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านคลองต่อ
  • เปิดรับสมัครครัวเรือนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการตามกลุ่มอาชีพที่ตนถนัด 

 

130 137

10. ประชุมสภาผู้นำชุมชน และคณะกรรมการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 4

วันที่ 20 มกราคม 2559 เวลา 20:00 เป็นต้นไป น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

รายงานและสรุปการจัดกิจกรรมการเปิดเวทีอาชีพเสริมเพิ่มคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านคลองต่อ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

-มีแผน และแนวทางในการดำเนินการกิจกรรม
-นำเสนอปัญหา ร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไข และมีการติดตามความคืบหน้าของโครงการอย่างต่อเนื่อง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลสรุปที่ได้จากการประชุม มีดังนี้
- ได้มีการรายงานรายละเอียดในการจัดกิจกรรมการเปิดเวทีอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ผ่านมา
- ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ
- ติดตามความคืบหน้าและกระแสตอบรับของผู้เข้าร่วมโครงการ
- ได้มีมติให้มีการเปลี่ยนรูปแบบการสำรวจข้อเกี่ยวกับอาชีพเสริมของครัวเรือนในชุมชนจากเดิมที่จะให้เด็กนักเรียนเป็นผู้สำรวจข้อมูลเปลี่ยนมาเป็นการประชุมย่อยตามกลุ่มอาชีพต่างๆ กลุ่มองค์กรในชุมชน และกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียงนักเรียนบ้านคลองต่อแทน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  1. รวมกลุ่มแกนนำในชุมชน มาพูดคุยทำความเข้าใจและแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการสภาชุมชน จำนวน 30 คน ประกอบด้วย –ผู้ใหญ่บ้าน –กรรมการหมู่บ้าน –สมาชิกเทศบาล –ตัวแทนกลุ่มอสม. –ตัวแทนกลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชน –ผู้อาวุโสของชุมชน -กลุ่มพัฒนาบทบาทสตรี 2.แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการโครงการ โดยคัดเลือกจากสภาผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน มีหน้าที่ดำเนินการโครงการและรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาผู้นำทุกเดือน
  2. มีการประชุมสภาผู้นำชุมชน เดือนละ 1 ครั้ง รวมจำนวน 10 ครั้งตลอดระยะเวลาโครงการ เพื่อให้คณะกรรมการดำเนินโครงการรายงานผลการดำเนินงานต่อสภาผู้นำชุมชนด้านการวางแผนกิจกรรม กำหนดแนวทางในการดำเนินการกิจกรรม ค้นหาปัญหา แนวทางแก้ไข และติดตามความคืบหน้าของโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ออกหนังสือเชิญให้กับบุคคลต่างๆที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย
  • จัดสถานที่สำหรับการประชุม
  • จัดการประชุมพร้อมบริการอาหารว่าง
  • ดำเนินการประชุม

 

30 30

11. สำรวจข้อมูลอาชีพเสริมของครัวเรือนในชุมชน

วันที่ 24 มกราคม 2559 เวลา 09:00 - 16.00 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อส่งเสริมให้ครัวเรือนรวมกลุ่มกันเพื่อทำอาชีพตามความถนัด ความสนใจ และความต้องการของตลาด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

มีข้อมูลอาชีพเสริมที่แต่ละครัวเรือนมีความถนัด สนใจ และมีตลาดรองรับ

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ได้ข้อสรุปข้อมูลจากการสำรวจและสอบถามจากกลุ่มอาชีพต่างๆและกลุ่มองค์กรในหมู่บ้าน
  • ได้มีการคัดเลือกอาชีพเสริมที่ครัวเรือนมีความถนัด จำนวน 3 ลำดับ ได้แก่
    1. เลี้ยงผึ้งและอุง(ชันโรง)
    2. แปรรูปผลิตภัณฑ์จากเชือกร่ม
    3. ปลูกพืชเกษตรผสมผสานและปุ๋ยหมักอินทรีย์โรงเรียนบ้านคลองต่อ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

  • สำรวจอาชีพเสริมที่แต่ละครัวเรือนมีความถนัด สนใจ และมีตลาดรองรับ โดยให้เด็กเป็นตัวหลักในการสำรวจข้อมูล
  • สรุปข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ
  • คัดเลือกอาชีพเสริมที่ครัวเรือนมีความถนัดและสนใจมากที่สุด จำนวน 3 ลำดับ

กิจกรรมที่ทำจริง

  • นัดรวมกลุ่มอาชีพต่างๆมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
  • สรุปข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสอบถาม
  • คัดเลือกอาชีพเสริมที่ครัวเรือนมีความถนัดและสนใจมา 3 ลำดับ

 

230 230

12. ประชุมปิดงวดโครงการ งวดที่ 1

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทำความเข้าใจ ตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขด้านการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนรายงานผลการดำเนินโครงการการจัดการเอกสารการเงินและการทำรายงานการเงินที่ถูกต้อง การหักภาษีโครงการชุมชนน่าอยู่ และสามารถปฏิบัติการจัดทำรายงานและเอกสารการเงินที่ถูกต้องได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ปรึกษาพี่เลี้ยงโครงการในการทำความเข้าใจ ครวจสอสอบและปรับปรุงแก้ไขด้านการเขียนรายงานและเอกสารการเงิน

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ลงทะเบียน 10.00 น.
  • ตรวจสอบรายงานการดำเนินงานและเอกสารการเงิน
  • ปรับปรุงและแก้ไขรายงานการดำเนินงานและเอกสารการเงินในส่วนทียังบกพร่องไม่สมบูรณ์

 

2 2

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 30 12                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 145,350.00 47,450.00                  
คุณภาพกิจกรรม 48 41                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ประชุมสภาผู้นำชุมชน และคณะกรรมการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 5 ( 20 มี.ค. 2559 )
  2. ประชุมสภาผู้นำชุมชน และคณะกรรมการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 6 ( 17 เม.ย. 2559 )
  3. ประชุมสภาผู้นำชุมชน และคณะกรรมการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 7 ( 9 ก.ค. 2559 )
  4. ประชุมตัวเเทนครัวเรือนเพื่อจัดตั้งกลุ่มอาชีพเสริมตามความถนัด ( 24 ก.ค. 2559 )
  5. ประชุมสภาผู้นำชุมชน และคณะกรรมการดำเนินโครงการ ครั้งที่ 8 ( 13 ส.ค. 2559 )
  6. ให้ความรู้เกี่ยวกับอาชีพเสริมแก่ครัวเรือน และมอบวัสดุอุปกรณ์สำหรับการประกอบอาชีพ ( 14 ส.ค. 2559 )

(................................)
นาย เดชา หมัดอารี
ผู้รับผิดชอบโครงการ