directions_run

ลดรายจ่าย เสริมรายได้ชุมชนต้นแบบวิถีพอเพียง บ้านหนองไม้แก่น

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ลดรายจ่าย เสริมรายได้ชุมชนต้นแบบวิถีพอเพียง บ้านหนองไม้แก่น
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03886
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 212,950.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ส.ต. สุจิน พุทธกุล
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 081-2760694,0812760694
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ ว่าที่ ร.ต.หญิงใบเฟริ์น สุวรรณมณี
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ 14 ต.ท่าชะมวง อ.รัตภูมิ จ.สงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 11 เม.ย. 2559 85,180.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 12 เม.ย. 2559 15 ต.ค. 2559 106,480.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 21,290.00
รวมงบประมาณ 212,950.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 คนในชุมชนมีการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน
  1. ร้อยละ 60 คน ในชุมชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ในการจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน
  2. ร้อยละ 60 คน ในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ การจัดทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน
  3. เกิดครัวเรือนต้นแบบ จำนวน 30 ครัวเรือน ในการทำระบบบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือนอย่างต่อเนื่อง
2 เพื่อส่งเสริม พัฒนาอาชีพให้คนในชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และมีความมั่นคงยั่งยืน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  1. ร้อยละ 60 คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการทำเกษตรตามหลักปรัญชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถปฎิบัติได้
  2. เกิดกลุ่มผลิตในชุมชนอย่างน้อย 3 กลุ่ม กลุ่มปลูกพืชผักสมุนไพร กลุ่มปุ๋ยชีวภาพ กลุ่มเมล็ดพันธ์เพาะชำกล้าไม้
  3. กลุ่มเป้าหมายอย่างน้อย 30 ครัวเรือน มีรายได้เพิ่มขึ้น (ดูจากบัญชีครัวเรือน)
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการจัดการข้อมูลชุมชน
  1. มีฐานข้อมูลชุมชนที่มีรายละเอียดด้าน สถานการณ์ และทุนของชุมชน
  2. มีกลุ่มเด็กเยาวชนและกลุ่มแกนนำที่มีทักษะในการเก็บข้อมูล
4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
5 1.เกิดสภาแกนนำในการขับเคลื่อนงานชุมชน
  1. มีคณะกรรมการ 30 คน ที่มีความเข้มแข็ง เป็นกลไกในการขับเคลื่อนโครงการ ที่เป็นทางการและไม่ทางการ
  2. มีการประชุมประจำเดือนๆละ 1 ครั้ง จำนวน 10 ครั้ง และบันทึกการประชุมทุกครั้ง โดยการประชุมทุกครั้งมีการปรึกษาหารือเรื่องโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
  3. แต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80และสภาผู้นำต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2558 01:06 น.