directions_run

หมู่บ้านยะออ ชุมชนเข้มแข็ง สุขภาพกายใจดี ชีวีมีสุข

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.มีสภาผู้นำที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.มีสมาชิกสภาจำนวน 30 คน 2.มีการประชุมสภาทุกเดือน 3.สมาชิกสภาเข้าร่วมการประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

1.ร้อยละ100มีสมาชิกสภาจำนวน 30 คน

2.ร้อยละ100มีการประชุมสภาทุกเดือน

3.ร้อยละ100สมาชิกสภาเข้าร่วมการประชุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80น

2 1. พัฒนาศักยภาพของแกนนำและคณะทำงานในการจัดการข้อมูลสุขภาพของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. มีกลุ่มแกนนำเยาวชน จำนวน 30 คนที่มีทักษะในการจัดเก็บข้อมูล 2. มีฐานข้อมูลและสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของชุมชนบ้านยะออ

1.ร้อยละ100มีกลุ่มแกนนำเยาวชน จำนวน 30 คน 2.ร้อยละ100มีฐานข้อมูลและสถานการณ์ปัญหาสุขภาพของชุมชนบ้านยะออ

3 1. พัฒนาคนในชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่านิยมความเชื่อ มีการบูรณาการความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามบริบทชุมชน เพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองเด็กอายุ2-3 ปี จำนวน 50 ครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและลูกได้ 2. กลุ่มแกนนำเยาวชนจำนวน 30 คน สามารถเป็นแบบอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีในชุมชนยะออได้ 3.ผู้ปกครองและกลุ่มเยาวชนสามารถเป็นแบบอย่างในการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพในชุุมชนยะออได้ 4. ชุมชนยะออมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ สามารถจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้ 5.กลุ่มแม่บ้าน จำนวน 30 ครอบครัวมีความรู้ในการประกอบอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เพื่อลดโรคและภาวะเสี่ยงต่างๆ 6.มีครอบครัวสุขภาพฟันดีในชุมชนยะออ

.ร้อยละ1001.ผู้ปกครองเด็กอายุ2-3 ปี จำนวน 50 ครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและลูกได้ 2.กลุ่มแกนนำเยาวชนจำนวน 30 คน สามารถเป็นแบบอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีในชุมชนยะออได้
3.ผู้ปกครองและกลุ่มเยาวชนสามารถเป็นแบบอย่างในการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพในชุุมชนยะออได้ ชุมชนยะออมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดีต่อสุขภาพ สามารถจัดการปัญหาสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้ 5.กลุ่มแม่บ้าน จำนวน 30 ครอบครัวมีความรู้ในการประกอบอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เพื่อลดโรคและภาวะเสี่ยงต่างๆ 6.มีครอบครัวสุขภาพฟันดีในชุมชนยะออ

4 1. พัฒนาให้มีการสร้างเสริมสุขภาพในรร.ตาดีกา
ตัวชี้วัด : 1. มีฮูกมปากัตในชุมชนเกี่ยวกับการจัดระเบียบรร.ตาดีกา 2. จัดตั้งร้านค้าปลอดขนมขยะ ลูกอม น้ำอัดลม ในร.ร.ตาดีกา 3.มีการแปรงฟันร่วมกันก่อนปฏิบัติศาสนกิจในรร.ตาดีกา 4.ครูสอนศาสนามีความรู้และเป็นแบบอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี 5.มีการบูรณาการการดูแลสุขภาพในหลักสูตรการสอนศาสนารร.ตาดีกา

1.ฮูกมปากัตในชุมชนเกี่ยวกับการจัดระเบียบรร.ตาดีกา แปรงฟันก่อนละมาด 2.จัดตั้งร้านค้าปลอดขนมขยะ ลูกอม น้ำอัดลม ในร.ร.ตาดีกา
3.มีการแปรงฟันร่วมกันก่อนปฏิบัติศาสนกิจในรร.ตาดีกา 4.ครูสอนศาสนามีความรู้และเป็นแบบอย่างในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี 5.มีการบูรณาการการดูแลสุขภาพในหลักสูตรการสอนศาสนารร.ตาดีกา

5 1.พัฒนาศักยภาพของผู้นำศาสนาในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.โต๊ะอีหม่ามและผู้นำศาสนาสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพบูรณาการกับการปฏิบัติศาสนกิจในมัสยิดได้ 2.ผู้นำศาสนาเป็นแบบอย่างในการแปรงฟันก่อนละหมาดที่มัสยิด 3.มีป้ายรณรงค์การแปรงฟันก่อนละหมาดติดที่มัสยิด

1.โต๊ะอีหม่ามและผู้นำศาสนาสามารถถ่ายทอดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพบูรณาการกับการปฏิบัติศาสนกิจในมัสยิดได้ 2.ผู้นำศาสนาเป็นแบบอย่างในการแปรงฟันก่อนละหมาดที่มัสยิด
3.มีป้ายรณรงค์การแปรงฟันก่อนละหมาดติดที่มัสยิด

6
ตัวชี้วัด :

 

7
ตัวชี้วัด :

 

8
ตัวชี้วัด :

 

9 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

ร้อยละ 100 มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.มีสภาผู้นำที่เข้มแข็ง (2) 1. พัฒนาศักยภาพของแกนนำและคณะทำงานในการจัดการข้อมูลสุขภาพของชุมชน (3) 1. พัฒนาคนในชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่านิยมความเชื่อ มีการบูรณาการความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตามบริบทชุมชน เพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวได้ (4) 1. พัฒนาให้มีการสร้างเสริมสุขภาพในรร.ตาดีกา (5) 1.พัฒนาศักยภาพของผู้นำศาสนาในการดูแลสุขภาพ (6)  (7)  (8)  (9) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh