directions_run

ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่
ภายใต้โครงการ โครงการร่วมสร้างชุมชนให้น่าอยู่
รหัสโครงการ 58-03865
วันที่อนุมัติ
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559
งบประมาณ 145,950.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย จิรวัฒน์ จิตรเที่ยง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ -0937134219,0937134219
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายตรา เหมโคกน้อย
พื้นที่ดำเนินการ ชุมชนบ้านช่องไทร หมู่ที่ 3 ตำนาทอน อำทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 7.1075360653436,99.827013015747place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 ก.ย. 2558 15 ก.พ. 2559 15 ก.ย. 2558 20 ก.พ. 2559 58,380.00
2 16 ก.พ. 2559 15 ส.ค. 2559 21 ก.พ. 2559 15 ต.ค. 2559 72,980.00
3 16 ส.ค. 2559 15 ต.ค. 2559 14,590.00
รวมงบประมาณ 145,950.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริหารจัดการขยะของชุมชน
  • ชุมชนเกิดกติกาด้านการจัดการขยะโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและสามารถนำไปสู่แหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการขยะในชุมชนที่มีการบริหารจัดโดยคนในชุมชน
2 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
  • มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด
  • มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  • มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  • มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูล การวางแผนงานการทำงานและจัดทำแผนปฏิบัติการเรื่องขยะในชุมชน
  • ประชาชนเข้าใจปัญหาขยะในชุมชน
  • ชุมชนมีการคัดแยกขยะ
  • ขยะในชุมชนลดลง
  • มีการนำขยะไปทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ
  • เกิดธนาคารขยะในชุมชน
  • ครัวเรือนมีสภาพแวดล้อมที่ดี
  • ชุมชนสามารถนำขยะที่เกิดจากการคัดแยกไปสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ครัวเรือนและชุมชนได้
  • ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านขยะ
  • ชุมชนมีนักจัดการข้อมูลด้านการจัดการขยะเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาขยะของชุมชน
  • ชุมชนมีแผนการทำงาน แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ และรูปแบบการทำงาน
4 เพื่อสร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการขยะของชุมชน
  • ชุมชนมีเครือข่ายการจัดการขยะที่ประกอบไปด้วยกลุ่มคนในชุมชนที่หลากหลายทั้งท้องถิ่น ท้องที่ องค์กรศาสนา องค์กรภาคประชาชนแกนนำชุมชน กลุ่มเยาวชนในชุมชนที่มีศักยภาพ
  • มีเวทีประชุมสำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชนเป็นประจำทุกเดือนและสามารถเชื่อมโยงไปสู่ชุมชนอื่นๆได้ในอนาคต
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มิ.ย. 2558 09:25 น.