directions_run

ร่วมพลังคนบ้านช่องไทรจัดการขยะเพื่อชุมชนน่าอยู่

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูล การวางแผนงานการทำงานและจัดทำแผนปฏิบัติการเรื่องขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : - ประชาชนเข้าใจปัญหาขยะในชุมชน - ชุมชนมีการคัดแยกขยะ - ขยะในชุมชนลดลง - มีการนำขยะไปทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ - เกิดธนาคารขยะในชุมชน - ครัวเรือนมีสภาพแวดล้อมที่ดี - ชุมชนสามารถนำขยะที่เกิดจากการคัดแยกไปสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ครัวเรือนและชุมชนได้ - ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านขยะ - ชุมชนมีนักจัดการข้อมูลด้านการจัดการขยะเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาขยะของชุมชน - ชุมชนมีแผนการทำงาน แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ และรูปแบบการทำงาน
  • ประชาชนเยาวชนมีความเข้าใจปัญหาในการคัดแยกขยะในชุมชน
  • ชุมชนมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องขยะ จำนวน 1 ชุด
  • มีกลุ่มเยาวชนในการจัดเก็บข้อมูล
  • เกิดการนำขยะไปทำปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพ
  • เยาวชนในชุมชน จัดเก็บข้อมูลอย่างถูกต้อง และเกิดธนาคารขยะในชุมชน
  • ครัวเรือนมีสภาพแวดล้อมที่ดีปลูกผักกินเอง
  • ชุมชนสามารถนำขยะที่เกิดจากการคัดแยกนำไปรีไซเคิล
  • ชุมชนมีฐานข้อมูลด้านขยะโดยได้รับความร่วมมือจากชาวบ้านในชุมชนและองค์การบริหารตำบลนาทอนเป็นอย่างดี
  • ชุมชนมีนักจัดการข้อมูลด้านการจัดการขยะเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาขยะของชุมชน
  • เกิดแผนการทำงาน แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ และรูปแบบการทำงาน
2 เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริหารจัดการขยะของชุมชน
ตัวชี้วัด : - ชุมชนเกิดกติกาด้านการจัดการขยะโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและสามารถนำไปสู่แหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการขยะในชุมชนที่มีการบริหารจัดโดยคนในชุมชน
  • คนในชุมชนมีความตระหนักในการมีส่วนร่วมกับชุมชนมากยิ่งขึ้น
  • ชุมชนสู่การปฏิบัติการด้านการจัดการขยะจำนวน 60 ครัวเรือน
  • ครัวเรือนมีความรู้และการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง 40 ครัวเรือน และ40 ครัวเรือน ของครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรมทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพใช้ในครัวเรือนมีการคัดแยกขยะจากบ้านเรือนและร้านค้าในชุมชน
3 เพื่อสร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการขยะของชุมชน
ตัวชี้วัด : - ชุมชนมีเครือข่ายการจัดการขยะที่ประกอบไปด้วยกลุ่มคนในชุมชนที่หลากหลายทั้งท้องถิ่น ท้องที่ องค์กรศาสนา องค์กรภาคประชาชนแกนนำชุมชน กลุ่มเยาวชนในชุมชนที่มีศักยภาพ - มีเวทีประชุมสำหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในชุมชนเป็นประจำทุกเดือนและสามารถเชื่อมโยงไปสู่ชุมชนอื่นๆได้ในอนาคต
  • สภาผู้นำชุมชนมีการประชุมทุกเดือน
  • การประชุมทุกครั้งมีการหารือ ปรึกษาโครงการและเรื่องอื่นๆของชุมชน
  • คณะทำงานมีศักยภาพมากขึ้น
  • คนในชุมชนมีส่วนร่วมกับชุมชนมากขึ้น
4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : - มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด - มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม - มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม - มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด
  • มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ของจำนวนครั้งที่จัด
  • มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม
  • มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม
  • มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพชุมชนในการจัดการข้อมูล การวางแผนงานการทำงานและจัดทำแผนปฏิบัติการเรื่องขยะในชุมชน (2) เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริหารจัดการขยะของชุมชน (3) เพื่อสร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการขยะของชุมชน (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh