directions_run

พัฒนาอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ในชุมชนบ้านบารายี

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ พัฒนาอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ในชุมชนบ้านบารายี

รหัสโครงการ 58-03967 รหัสสัญญา 58-00-2243 ระยะเวลาโครงการ 15 กันยายน 2558 - 15 ตุลาคม 2559

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
  • เกิดฐานข้อมูลในการปลูกผักเพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับคนในชุมชน
  • พื้นที่ใน ม.7 บ้านบารายี ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล
  • ขยายพื้นที่ปลูกพืช ผัก เพิ่มขึ้นอีก
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
  • ก่อให้เกิดสภาผู้นำในชุมชนจำนวน 20 คน ที่สามารถบริหารจัดการให้การดำเนินโครงการเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้
  • เว็ปไซด์คนใต้สร้างสุข
  • ครัวเรือนต้นแบบจำนวน 30 ครัวเรือน ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล
  • ในรายงานฉบับสมบูรณ์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
  • สภาผู้นำชุมชน 20 คน เป็นกลไกในการขับเคลื่อนกิจกรรมชุมชนร่วมกับกลุ่มองกรณ์ต่าง ๆ ในชุมชน
  • เว็ปไซด์คนใต้สร้างสุข
  • ครัวเรือนต้นแบบจำนวน 30 ครัวเรือน ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล
  • ในรายงานฉบับสมบูรณ์

-

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
  • แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน
  • เว็ปไซด์คนใต้สร้างสุข
  • ครัวเรือนต้นแบบจำนวน 30 ครัวเรือน ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล
  • ในรายงานฉบับสมบูรณ์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

การหลีกเลี้ยงการซื้อผักตามท้องตลาดมาบริโภคแต่หันมาปลูกผักเองเพื่อบริโภคเอง

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

มีการรณรงค์การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่โดยจะมีการติดป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดในชุมชน เพื่อลดจำนวนครั้งการสูบในแต่ละวันให้น้อยลง

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การปลูกผักที่เป็นสมุนไพรไว้รับประทานเอง เช่น ตะไคร้ มะกรูดเป็นต้น และนำมาแปรรูปให้น่ารับประทานมากขึ้น

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

รู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพและหันมาดูแลตนเองเเละครอบครัวให้รู้เลือกที่จะบริโภคแต่สิ่งดี ๆ ต่อตนเอง

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

สามารถนำพืช ผักที่ปลูกเองไปขายเพื่อสร้างรายได้ให้กับตนเองและชุมชน

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

เกิดกติการ่วมของชุมชน เป็นธรรมนูญหมู่บ้านในการอยู่ร่วมเป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อให้คนในชุมชนยึดถือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบของคนในชุมชน ป้องกันปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงของคนในชุมชน

  • เว็ปไซด์คนใต้สร้างสุข
  • ครัวเรือนต้นแบบจำนวน 30 ครัวเรือน ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล
  • ในรายงานฉบับสมบูรณ์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

มีการรวมกลุ่มกันทำงาน มีการทำตามกติกาของกลุ่มนั้น ๆ เช่น กลุ่มที่ปลูกผักให้มีการลดการใช้สารเคมี และใช้ปุ๋ยคอก

  • เว็ปไซด์คนใต้สร้างสุข
  • ครัวเรือนต้นแบบจำนวน 30 ครัวเรือน ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล
  • ในรายงานฉบับสมบูรณ์

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

สภาผู้นำชุมชน 20 คน มีการประชุมประจำเดือน มีการวางแผนการทำงานร่วมกัน

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

การระดมคนมาร่วมกิจกรรมคนทุนที่สำคัญในการทำกิจกรรม

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

มีการประชุมเป็นประจำทุกเดือนเพื่อให้ผู้รู้สึกว่ากิจกรรมยังมีการดำเนินต่อไม่มีที่สิ้นสุด

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

มีการจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเกษตรกรในชุมชน โดยการประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สนง.เกษตร และพัฒนาชุมชนอำเภอทุ่งหว้า

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

มีการพบปะพูดคุยกับสมาชิกในชุมชน ผ่านการประชุม และนำไปสู่การวางแผนการทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น การลดรายจ่าย การลดใช้สารเคมีในการปลูกผัก

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ชุมชนเป็นพื้นที่ชนบทมีการเป็นอยู่แบบช่วยเหลือซึ่งกันและกัน

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

มีการจัดกิจกรรมเพื่อให้ให้ประชาชนมีส่วมร่วมและเปิดโอกาสให้ทุกคนมีการแสดงความคิดเห็น

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การปลูกผักกินเองทำให้ทำให้ลดรายจ่ายและสามารถเพิ่มรายได้

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

คนในชุมชนมีความเอื่อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกันรู้จักแบ่งปันกันในชุมชนและมีการช่วยเหลือตามความสามารถและกำลังที่ตนมี

บ้านบารายี ม.7 ต.นาทอน อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ