แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : 1.คนอ้วนมีรอบเอวลดลงจาก 100 คน ลดลงได้ 80 คน

 

 

ไม่เกิด

2 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ของคนในชุมชนให้เห็นความสำคัญและเกิดความตระหนักในผลกระทบของปัญหาโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงได้เข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อยร้อยละ 80 2. กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยง ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม จำนวน 6 ครั้ง 3. มีท่าทางการออกกำลังกายสำหรับคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงตามวัยต่างๆ 1 ชุด

 

 

กลุ่มคนโรคอ้วนและกลุ่มเสี่ยงได้เข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อยร้อยละ 80

3 เพื่อส่งเสริมการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้เอื้อต่อการแก้ปัญหาโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : 1. มีแปลงผักรวม จำนวน 2 แห่ง 2. มีผักสวนครัวรั้วกินได้60 หลังคาเรือน 3. มีกลุ่มทำปุ๋ยใช้เอง จำนวน 1 กลุ่ม 4. มีเมนูอาหารสุขภาพที่เป็นนวัตกรรม 1 อย่าง 5. มีมาตรการทางสังคม เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เรื่อง o มาตรการการทำอาหารลดหวาน มัน เค็ม ในงานของหมู่บ้าน 6. มีร้านค้าหรือตลาดผักปลอดสารพิษ 1 แห่ง 7. มีกลุ่มหรือชมรมออกกำลังกาย 1 ชมรม 8. มีกลุ่มคนอ้วนและกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนกินผักผลไม้ในชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 9. มีกลุ่มคนอ้วนและกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วนมีการออกกำลังกายเป็นประจำ

 

 

ได้จัดให้มีตลาดนัดเพื่อสุขภาพในชุมชน จัดให้มีมุมสำหรับนำผักปลอดสารพิษมาวางขาย เเละเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ เเละไข่เป็ด ไข่ไก่ที่เหลือจากการบริโภคในครัวเรือนมาวางขาย โดยผ่านการตรวจสารปนเปื้อน ตรวจสอบคุณภาพเเละรับรองโดยจากคณะกรรมการของหมู่บ้าน มีการเฝ้าระวังทุกๆ 3 เดือน เพื่อให้เด็กนักเรียนและชาวบ้านนได้นำผักผลไม้ปลอดสารพิษและอื่นๆไปขายในตลาดนัดสุขภาพ

4 เพื่อพัฒนาสภาผู้นำชุมชนให้มีศักยภาพมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. สภาผู้นำชุมชนมีการประชุมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2. มีแผนชุมชน จำนวน 1 แผน 3. สมาชิกสภาผู้นำของชุมชนมีส่วนรวมในการประชุม ร้อยละ 80(ทั้งหมด 20 คน) 4. มีการปรึกษาหารือ ติดตามงานเก็บข้อมูล แก้ไข้ปัญหา ประเมินผล และคุยปัญหาอย่างหลากหลาย

 

 

  • เกิดทีมสภาผู้นำชุมชนจำนวน 20 คน มีการประชุมทกเดือน .
  • ได้แผนพัฒนาชุมชน จำนวน 1 ฉบับ ได้แก่ ด้านสุขภาพ (การออกกำลังกาย สร้างลานกีฬา) ด้านสิ่งแวดล้อม (ปลูกต้นไม้ ขุดลอกคลอง) ด้านคมนาคม (สร้างถนน ขุดลอกคลอง) และด้านทำนุบำรุงศาสนา
5 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้รับผิดชอบโครงการ และสนับสนุนการทำงานของโครงการ
ตัวชี้วัด : 1. มีการเข้าร่วมการประชุมกับ สสส. สจรส.ม.อ. ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของจำนวนครั้งที่จัด 2. มีการจัดทำป้าย "สถานที่นี้ปลอดบุหรี่" ติดตั้งในสถานที่จัดกิจกรรม 3. มีการถ่ายภาพการดำเนินงานทุกกิจกรรม 4. มีการจัดทำรายงานส่ง สสส. ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

 

  • เข้าร่วมประชุมกับพี่เลี้ยงและสจรส.มอ.จำนวน 4 ครั้ง คือ เข้าร่วมประชุมติดตามโครงการงวดที่ 2 เข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ และประชุมจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ 2 ครั้ง
  • มีรายงานฉบับสมบูรณ์ จำนวน 1 เล่ม
  • มีป้ายปลอดบุหรี่ 1 ป้าย