task_alt

ภูมิปัญญา เพิ่มรายได้ สร้างสุขที่บ้านยางในลุ่ม (ต่อยอดปี 2)

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ ภูมิปัญญา เพิ่มรายได้ สร้างสุขที่บ้านยางในลุ่ม (ต่อยอดปี 2)

ชุมชน บ้านยางในลุ่ม หมู่ที่ 3 ตำบลสวนขัน อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช

รหัสโครงการ 58-03889 เลขที่ข้อตกลง 58-00-2026

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กันยายน 2558 ถึง 15 ตุลาคม 2559

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กันยายน 2558 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2559

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการใหม่

วันที่ 3 ตุลาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อปฐมนิเทศโครงการใหม่ และชี้แจงเกี่ยวกับรายละเอียดของการทำโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงานโครงการ พบว่า คณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรม 2 คน

  1. เรียนรู้วิธีการดำเนินงานตามโครงการ
  2. เรียนรู้วิธีการทำเอกสารของโครงการเช่นการเขียนบิลการเขียนรายงานโครงการ
  3. เรียนรู้วิธีการถ่ายรูปอย่างไร ให้เห็นถึงกิจกรรมที่เราได้ทำไป
  4. ได้วางแผนการดำเนินงานตามโครงการในการกำหนดวันกำหนดปฏิทินในการทำกิจกรรม
  5. ได้เรียนรู้ความเสี่ยง ต่อการดำเนินงาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

สจรส.มอ.รวมกับพี่เลี้ยงจังหวัดนครศรึธรรมราช จัดปฐมนิเทศโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.วันนี้ สจรส.มอ.ได้จัดปฐมนิเทศโครงการใหม่ โดย อ.พงศ์เทพ ได้ชี้แจงแนวทางการทำโครงการ วัตถุประสงค์การดำเนินงาน
อ.กำไล ได้แนะนำแนวคิดการทำโครงการ และขั้นตอนการทำโครง3 ระยะ ช่วงก่อนดำเนินงาน ระหว่างดำเนินงานและหลังดำเนินงาน อ.สุดา ได้แนะนำเรือ่งเกี่ยวกับเอกสารเงิน
อ.ถนอม ได้แนะนำเกี่ยวกับการบันทึกข้อมุลลงในเวปไซด์ และการเรียนรู้วันนี้เป็นการเรียนรู้วิธีดำเนินงานตามโครงการ คือต้องทำไปตามกิจกรรมที่วางไว้มีการเรียงกิจกรรมไว้แล้วหนึ่งสองสามจนถึงกิจกรรมสุดท้าย เพื่อความถูกต้องของกิจกรรมจะวางไว้อย่างดีแล้ว และมีการเรียนรู้การตรวจสอบเอกสารของโครงการ คือกิจกรรมหนึ่ง๐ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง ให้นำมาประกอบให้ครบถ้วนและเก็บไว้ให้เรียบร้อย เรียนรู้การวางแผนการดำเนินงานตามโครงการให้ถูกต้อง และความเสี่ยงต่างๆในการดำเนินงานของโครงการ และการเก็บเอกสารต่างๆที่นำมาใช้ทำกิจกรรมของโครงการ

 

2 2

2. สภาผู้นำบ้านยางในลุ่ม ครั้งที่ 1

วันที่ 20 ตุลาคม 2558 เวลา 13.00-16.00 น. น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อทำความเข้าใจชี้แจงโครงการภูมิปัญญาเพิ่มรายได้สร้างสุขที่บ้านยางในลุ่ม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.คณะทำงานมีการบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ชุมชนมีส่วนร่วมในการทำงาน 3.มีภาคีร่วมทำงาน 4 มีแผนงานล่วงหน้า 5คณะทำงานมีแนวทางการบริหารจัดการโครงการและโครงสร้างชัดเจน
6สร้างการมีส่วนของคณะทำงานมากขึ้น 7.มีสภาผู้นำ 1 ชุด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงานโครงการ พบว่า
1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม30 คน
2.ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี ในการประชุมมีความตั้งใจการฟังในการเข้าร่วมประชุม 3.ได้ชี้แจงโครงการภูมิปัญญาเพิ่มรายได้สร้างสุขที่บ้านยางในลุ่มให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับทราบ


กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.คณะกรรมการ15 คน และตัวแทนกลุ่มชุมชน 4 กลุ่ม คัดเลือกมา กลุ่มละ 2 คน รวมเป็น 8 คนตัวแทนจากหน่วยงานราชการในพื้นที่ 2 คน และจิตอาสาร่วมพัฒนาชุมชน 5 คน เข้าร่วมประชุมทุกเดือน โดยนำวาระการดำเนินงานตามโครงการมาพูดคุยในวันประชุม และประเด็นการพัฒนาหมู่บ้าน ตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ มาพูดคุยเดือนละ 1 ครั้ง โดยใช้สถานที่ประชุมหมู่บ้านหมู่ที่ 3(ศาลาประชุม)

2.มีการจัดบันทึกวาระการประชุม และนำผลการประชุมมาพูดคุยให้ประชาชนได้รับฟัง เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
3.มีการรายงานผลกิจกรรม และการติดตามความก้าวหน้าโครงการให้สภาชุมชนได้รับทราบ เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการทบทวน บทเรียนในการพัฒนา และร่วมกันปรับปรุงกิจกรรม

คณะทำงานมีการประชุม เป้าหมาย 30คน เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 10 ครั้ง เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางการทำงาน การรายงานตามกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า รวมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะจากทีมงาน ใช้ศาลาประชุมของหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทเรียนในการพัฒนา มีหัวข้อในการพูดคุยดังนี้ 1) การจัดทำข้อมูลครัวเรือน
2) การจัดทำข้อมูลชุมชน 3) ข้อบัญญัติชุมชน 4) การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
5) เกษตรผสมผสานและเกษตรอินทรีย์ 6) วิสาหกิจปุ๋ยชุมชน
7) มหกรรมสุขภาพบ้านยางในลุ่ม 8)สรุปผลการดำเนินงาน 9) ถอดบทเรียนการดำเนินงาน • ในการจัดประชุมจะมีการให้ความรู้และส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายออกกำลังกายตามความเหมาะสม • การจัดประชุมมีการรณรงค์ให้คณะทำงาน ลดบุหรี่ สุรา และวางแผนที่จะ ลด ละ เลิกบุหรี่ สุรา • สถานที่ประชุมมีป้ายห้ามสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ แอลกอฮอล์ และในวันนี้พี่เลี้ยงโครงการได้ไปชี้แจงกิจกรรมโครงการที่จะทำรายละเอียดต่างๆในการทำโครงการพร้อมพบปะพูดคุอยกับคณะทำงานก่อนเริ่มทำโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เริ่มประชุมเวลา 13.00น.นายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์ พี่เลี้ยงโครงการภูมิปัญญาเพิ่มรายได้สร้างสุขที่บ้านยางในลุ่ม ได้เปิดประชุม ขอสวัสดีทุกท่านที่เข้าประชุม กระผมขอชี้แจงโครงการภูมิปัญญาเพิ่มรายได้สร้างสุขที่บ้านยางในลุ่ม ประเด็นของโครงการ 1.ประชุมคณะทำงาน 10 ครั้ง(สภาผู้นำ)2.ออกแบบสำรวจข้อมูลหนี้ครัวเรือน 3.สำรวจข้อมูล 4.วิเคราะห์ข้อมูล5.คืนข้อมูลให้ชุมชนและประชาสัมพันธ์โครงการ6.เรียนรู้บัญชีครัวเรือน7.สร้างภูมิปัญญาปลดหนี้8.เรียนรู้เรื่องการทำผึ้งโพรง9.เรียนรู้เกษตรผสมผสานและทำศูนย์เรียนรู้10.พัฒนากลุ่มเลี้ยงผึ้งโพรง11.แลกเปลี่ยนเรียนรู้12. ถอดบทเรียน13.สรุปโครงการและเผยแพร่ วาระที่ 2. ภาระกิจที่ต้องทำหลักฐาน 4 อย่าง 1.ประชุมสภาผู้นำ 2.บัญชีครัวเรือน 3.ทำน้ำหมักชีวภาพและพืชผักสมุนไพร 4.ทำรังผึ้ง วาระที่ 3. เรื่องอื่น ไม่มี ปิดประชุมเวลา 16.00 น.

 

30 30

3. ครั้งที่ 1ทำป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่

วันที่ 21 ตุลาคม 2558 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อเตือนใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้งดสูบบุหรี่ และผู้ที่่พบเห็นป้ายสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่เลิกสูบบุหรี่

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงานโครงการ พบว่า
ผลผลิต 1.ได้ป้ายสัญลักษณ์ห้ามสูบบุหรี่จำนวน 2 แผ่น 2.ป้ายโครงการจำนวน 1 แผ่น ผลลัพธ์ 1.มีป้ายโครงการเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ 2.มีป้ายงดสูบบุหรี่ เพื่อเป็ฯการรณรงค์งดสูบบุหรี่และติดไว้ที่ประชุมเพื่อเป็นเขตปลอดบุหรี่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ทำป้ายเพื่อติดตั้งในสถานที่ทำกิจกรรมให้เลิกสูบบุหรี่

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.ออกแบบป้ายสัญลักษณ์ห้ามสูบบุหรี่ตามแบบให้ถูกต้องจำนวน 2 แผ่น และป้ายชื่อของโครงการจำนวน 1 แผ่นตามแบบให้ถูกต้อง แล้วไปจัดทำนำมาติดไว้ที่ทำกิจกรรมในพื้นที่ ด้วยวัตถุประสงค์ในสถานที่ทำกิจกรรมนั้นให้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ลดละเลิกการสูบบุหรี่ ต้องการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมต้องไม่สูบบุหรี่ เป็นการรณรงค์ไม่ให้สูบบุหรี่ในชุมชน ทำให้ผู้ที่พบเห็นก็มีความคิดในการลดละเลิกสูบบุหรี่ไปด้วย เพราะการสูบบุหรี่เป็นการสร้างมลพิษให้กับผู้คนรอบข้าง ทำให้คนใกล้เคียงรังเกียจ มีกลิ่นเหม็น เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยอยู่ในที่เดียวกัน บางรายเดินออกห่างคล้ายรังเกียจ และบางรายแพ้ควันบุหรี่ เกิดอาการจามและไอเมื่ออยู่ใกล้คนที่สูบบุหรี่ทางโครงการจึงให้ทำป้ายห้ามสูบบุหรี่ไว้

 

2 2

4. สภาผู้นำบ้านยางในลุ่มครั้งที่ 2

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อประชุมวางแผนโครงการและติดตามความคืบหน้าชองโครงการ และหาแนวทางในการออกแบบสอบถามเพื่อสำรวจข้อมูล

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.คณะทำงานมีการบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ชุมชนมีส่วนร่วมในการทำงาน 3.มีภาคีร่วมทำงาน 4 มีแผนงานล่วงหน้า 5คณะทำงานมีแนวทางการบริหารจัดการโครงการและโครงสร้างชัดเจน
6สร้างการมีส่วนของคณะทำงานมากขึ้น 7.มีสภาผู้นำ 1 ชุด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงานโครงการ พบว่า
1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 30 คน และกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
2. ประชาชนสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมและเข้าร่วมกิจกรรมในการออกแบบสอบถาม 3. กลุ่มเป้าหมายมีแนวทางการพัฒนาเป็นทิศทางเดียวกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.คณะกรรมการ15 คน และตัวแทนกลุ่มชุมชน 4 กลุ่ม คัดเลือกมา กลุ่มละ 2 คน รวมเป็น 8 คนตัวแทนจากหน่วยงานราชการในพื้นที่ 2 คน และจิตอาสาร่วมพัฒนาชุมชน 5 คน เข้าร่วมประชุมทุกเดือน โดยนำวาระการดำเนินงานตามโครงการมาพูดคุยในวันประชุม และประเด็นการพัฒนาหมู่บ้าน ตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ มาพูดคุยเดือนละ 1 ครั้ง โดยใช้สถานที่หอประชุมหมู่บ้าน 2.มีการจัดบันทึกวาระการประชุม และนำผลการประชุมมาพูดคุยให้ประชาชนได้รับฟัง เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
3.มีการรายงานผลกิจกรรม และการติดตามความก้าวหน้าโครงการให้สภาชุมชนได้รับทราบ เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการทบทวน บทเรียนในการพัฒนา และร่วมกันปรับปรุงกิจกรรม

คณะทำงานมีการประชุม เป้าหมาย 30คน เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 10 ครั้ง เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางการทำงาน การรายงานตามกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า รวมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะจากทีมงาน ใช้ศาลาประชุมของหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทเรียนในการพัฒนา มีหัวข้อในการพูดคุยดังนี้ 1) การจัดทำข้อมูลครัวเรือน
2) การจัดทำข้อมูลชุมชน 3) ข้อบัญญัติชุมชน 4) การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
5) เกษตรผสมผสานและเกษตรอินทรีย์ 6) วิสาหกิจปุ๋ยชุมชน
7) มหกรรมสุขภาพบ้านยางในลุ่ม 8)สรุปผลการดำเนินงาน 9) ถอดบทเรียนการดำเนินงาน • ในการจัดประชุมจะมีการให้ความรู้และส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายออกกำลังกายตามความเหมาะสม • การจัดประชุมมีการรณรงค์ให้คณะทำงาน ลดบุหรี่ สุรา และวางแผนที่จะ ลด ละ เลิกบุหรี่ สุรา • สถานที่ประชุมมีป้ายห้ามสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ แอลกอฮอล์

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.ประธานโครงการผู้รับผิดชอบ ชี้แจงเรื่องการทำป้ายเขตปลอดบุหรี่ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และในครั้งต่อไปให้คณะทำงาน มาชี้แนะหรือหาแนวทำแบบสำรวจครัวเรือน การทำบัญชีครัวเรือน รายรับ-รายจ่าย ตลอดถึง การเรียนรู้ และวิธีลงบัญชีครัวเรือน เพื่อให้รู้ถึง รายรับ-รายจ่าย ของครัวเรือน หนี้สินของครัวเรือนด้วย เมื่อได้ออกแบบสำรวจ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จะได้สำรวจข้อมูลต่อไป การประชุมครั้งนี้เป็นการประชุมเพื่อจะหาวิธืการออกแบบสำรวจข้อมูลหนี้ครัวเรือน โดยจะทำกิจกรรมออกแบบสำรวจข้อมูลหนี้ครัวเรือนครั้งแรกในวันที่ 25 พฤศจิกายน 2558 ใช้กลุ่มเป้าหมาย 60 คน ขอให้คณะทำงานไปหากลุ่มเป้าหมายเพื่อมาร่วมกิจกรรมออกแบบสำรวจข้อมูลหนี้ครัวเรือนในครั้งนี้ด้วยโดยชักชวนกันมาช่วยกันออกแบบ

 

30 30

5. ออกแบบสำรวจข้อมูลหนี้ครัวเรือน ครั้งที่ 1

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อออกแบบสำรวจข้อมูลหนี้ครัวเรือนเพื่อใช้ในการสำรวจข้อมูลหนี้สินครัวเรือน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.ได้ข้อมูลพี้นฐานของครัวเรือนตามแบบสอบถามและหนี้สินของครัวเรือนทั้งในระบบและนอกระบบ 2.มีการสำรวจข้อมุูลครัวเรือนและข้อมูลชุมชนร่วมกัน ระหว่างแกนนำ เยาวชนและครัวเรือนเป้าหมาย 3.เกิดสัมพันธภาพที่ดีและเรียนรู้ร่วมกันในการนำข้อมูลมาใช้พัฒนาชุมชน 4.มีฐานข้อมูลระดับครัวเรือน และระดับชุมชน 5.มีการสอนงานระหว่างแกนนำกับเยาวชน ทำให้เกิดความรู้สึกมีคุณค่าและสัมพันธ์ที่ดีระหว่างวัย 6.มีการคืนข้อมูลสู่ครัวเรือนและชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงานโครงการ พบว่า

  1. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 60 คน และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี
  2. ได้แบบสอบถามที่ชุมชนร่วมกันคิด
  3. ทุกคนเต็มใจที่จะคิดแบบสอบถามและให้การบ้านไปคิดเพิ่มเติมมาอีกครั้งหนึ่ง
  4. ได้เรียนรู้ความพยายามของชุมชนและจิตอาสามีความตั้งใจจริง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1 เชิญคณะทำงาน พร้อมด้วย แกนนำสตรี และเยาวชน มานั่งพูดคุย เพื่อจัดทำแบบสำรวจครัวเรือน สำรวจการเป็นหนี้สิน โดยสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลรายได้ ข้อมูลจ่ายหนี้ ข้อมูลหนี้ครัวเรือน และพฤติกรรมที่ส่งผลให้เกิดหนี้สิน
2 จัดแบ่งกลุ่มเพื่อวางแนวทางการสำรวจข้อมูล ออกเป็น 10 กลุ่มกลุ่มละ 17 ครัวเรือน ในกลุ่มประกอบด้วย อสม. 1 คน เยาวชน2 คน มีอบต.และผู้นำเป็นที่ปรึกษา

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เริ่มประชุมประธานได้ชี้แจงว่าการออกแบบสำรวจนั้นเพี่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือนและแบบสำรวจก็ต้องเข้าใจง่ายด้วยให้เสนอแบบสำรวจหนี้ครัวเรือนเป็นแบบสอบถามว่าจะถามเรื่องอะไรบ้างให้เสนอมาเพื่อจะได้นำมารวบรวมไว้และคัดเลือกข้อมูลที่ทางโครงการต้องการเช่นข้อมูลรายรับ-รายจ่ายและหนี้สินของครัวเรือนนั้นต้องมีอยู่ด้วยแต่ไม่ต้องลงรายละเอียดมากเพราะชาวบ้านอาจไม่พอใจเอาได้ การสำรวจนี้เป็นพื้นฐานก็พอแล้วครั้งนี้เป็นครั้งแรก และในครั้งต่อไปก็ให้มาช่วยกันออกแบบในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 อีกครั้งหนึ่ง เพื่อความถูกต้อง และเข้าใจง่าย

ทีมงานได้นำแบบสำรวจจากหลายๆที่ มาเสนอ ดังนี้
ข้อคำถามประกอบด้วย 1.ครัวเรือนประกอบกิจกรรมทางการเกษตรกี่ครัว 2.ปีนี้ครัวเรือนติดต่อซื้อ-ขายผลผลิตทางการเกษตรหรือไม่
3.ครัวเรือนเลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่ายหรือไม่ 4.รายได้หลักของครอบครัวมาจากอาชีพไหน 5.รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน 6.ครัวเรือนมีหนี้สินหรือไม่ 7.คนในครัวเรือนส่วนใหญ่รับข้อมูลข่าวสารจากไหน 8. คนในครอบครัวเป็นสมาชิกหรือเข้าร่วมในกลุ่มหรือโครงการต่างๆในชุมชนหรือไม่ 9.คนใน ครัวเรือนคุมกำเนิดหรือไม่ 10.ปีนี้ ในครัวเรือนของท่านมีหญิงคลอดกี่คน 11.ในครัวเรือนมีเด็กอายุแรกเกิดถึง 5 ปีกี่คน 12.ปีที่ผ่านมามีคนในครัวเรือนของท่านเสียชีวิตหรือไม่ 13.ในรอบ 6 เดือน มีคนในครอบครัวของท่านเจ็บป่วยหรือมไ 14.ปีที่ผ่านมา สถานพยาบาลใดที่ท่านใช้บริการบ่อยครั้งที่สุด
15.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือไม่ 16.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนดื่มเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน หรือไม่ 17.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนของท่านดื่มเครื่องดื่มชูกำลังหรือไม่ 18.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาคนในครัวเรือนของท่านมีผู้สูบบุหรี่หรือไม่ 19.คนในครัวเรือนของท่านรับประทานอาหารสุกๆดิบๆหรือไม่ 20.ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนของท่านใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชหรือไม่ 21. ครัวเรือนท่าน ได้รับความรู้ข่าวสารด้านสุขภาพจากแหล่งใดมากที่สุด 22.ครัวเรือนมีคอกหรือกรงสัตว์ในบริเวณบ้าน
23.ครัวเรือนมีน้ำดื่มเพียงพอหรือไม่ 24.ครัวเรือนมีถังขยะหรือไม่ 25.ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะหรือไม่

 

60 60

6. ออกแบบสำรวจข้อมูลหนี้ครัวเรือน ครั้งที่ 2

วันที่ 30 พฤศจิกายน 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อออกแบบสำรวจข้อมูลหนี้ครัวเรือนเพื่อใช้ในการสำรวจข้อมูลหนี้สินครัวเรือน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.ได้ข้อมูลพี้นฐานของครัวเรือนตามแบบสอบถามและหนี้สินของครัวเรือนทั้งในระบบและนอกระบบ 2.มีการสำรวจข้อมุูลครัวเรือนและข้อมูลชุมชนร่วมกัน ระหว่างแกนนำ เยาวชนและครัวเรือนเป้าหมาย 3.เกิดสัมพันธภาพที่ดีและเรียนรู้ร่วมกันในการนำข้อมูลมาใช้พัฒนาชุมชน 4.มีฐานข้อมูลระดับครัวเรือน และระดับชุมชน 5.มีการสอนงานระหว่างแกนนำกับเยาวชน ทำให้เกิดความรู้สึกมีคุณค่าและสัมพันธ์ที่ดีระหว่างวัย 6.มีการคืนข้อมูลสู่ครัวเรือนและชุมชน

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ พบว่า
1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 60 คน และทุกคนเต็าใจในการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี
2.ได้แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ ที่คิดด้วยคนในชุมชน 3.มีการแบ่งหน้าที่ในการเก็บข้อมูล 4.การทำงานมีภาคีเข้ามาร่วมทำงาน ด้วยความสมัครใจ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1 เชิญคณะทำงาน พร้อมด้วย แกนนำสตรี และเยาวชน มานั่งพูดคุย เพื่อจัดทำแบบสำรวจครัวเรือน สำรวจการเป็นหนี้สิน โดยสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลรายได้ ข้อมูลจ่ายหนี้ ข้อมูลหนี้ครัวเรือน และพฤติกรรมที่ส่งผลให้เกิดหนี้สิน
2 จัดแบ่งกลุ่มเพื่อวางแนวทางการสำรวจข้อมูล ออกเป็น 10 กลุ่มกลุ่มละ 17 ครัวเรือน ในกลุ่มประกอบด้วย อสม. 1 คน เยาวชน2 คน มีอบต.และผู้นำเป็นที่ปรึกษา

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เริ่มประชุมประธานได้แจ้งที่ประชุมว่า การออกแบบสำรวจครั้งนี้เป็นครั้งที่สอง เพื่อเป็นการเพิ่มเติมจากครั้งที่หนึ่ง จะได้แบบสำรวจที่สมบูรณ์ขึ้นเพื่อจะได้นำไปใช้ในการสำรวจ โดยให้ได้รายละเอียดของโครงการครบถ้วนที่สำคัญ ต้องมีข้อมูลพื้นฐาน ต้องมีรายรับ-รายจ่ายและหนี้สินของครัวเรือนนั้นขาดไม่ได้และให้มีการนำเสนอเพิ่มเติมแบบสอบถามและหนี้สินของครัวเรือนได้อย่างสมบูรณ์และถูกต้องเพื่อจะได้เรียบเรียงแล้วนำไปจัดทำเป็นแบบสอบถาม

สรุปว่าทุกคนเห็นด้วยกับแบบสอบถาม ในครั้งที่ 1 แต่ให้เพิ่มเติมข้อมูลแต่ละมิิติไปด้วย ดังนี้
แบบสอบถามทั่่วไป

ข้อคำถามประกอบด้วย 1.ครัวเรือนประกอบกิจกรรมทางการเกษตรกี่ครัว 2.ปีนี้ครัวเรือนติดต่อซื้อ-ขายผลผลิตทางการเกษตรหรือไม่
3.ครัวเรือนเลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่ายหรือไม่ 4.รายได้หลักของครอบครัวมาจากอาชีพไหน 5.รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน 6.ครัวเรือนมีหนี้สินหรือไม่ 7.คนในครัวเรือนส่วนใหญ่รับข้อมูลข่าวสารจากไหน 8. คนในครอบครัวเป็นสมาชิกหรือเข้าร่วมในกลุ่มหรือโครงการต่างๆในชุมชนหรือไม่ 9.คนใน ครัวเรือนคุมกำเนิดหรือไม่ 10.ปีนี้ ในครัวเรือนของท่านมีหญิงคลอดกี่คน 11.ในครัวเรือนมีเด็กอายุแรกเกิดถึง 5 ปีกี่คน 12.ปีที่ผ่านมามีคนในครัวเรือนของท่านเสียชีวิตหรือไม่ 13.ในรอบ 6 เดือน มีคนในครอบครัวของท่านเจ็บป่วยหรือมไ 14.ปีที่ผ่านมา สถานพยาบาลใดที่ท่านใช้บริการบ่อยครั้งที่สุด
15.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือไม่ 16.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนดื่มเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน หรือไม่ 17.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนของท่านดื่มเครื่องดื่มชูกำลังหรือไม่ 18.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาคนในครัวเรือนของท่านมีผู้สูบบุหรี่หรือไม่ 19.คนในครัวเรือนของท่านรับประทานอาหารสุกๆดิบๆหรือไม่ 20.ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนของท่านใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชหรือไม่ 21. ครัวเรือนท่าน ได้รับความรู้ข่าวสารด้านสุขภาพจากแหล่งใดมากที่สุด 22.ครัวเรือนมีคอกหรือกรงสัตว์ในบริเวณบ้าน
23.ครัวเรือนมีน้ำดื่มเพียงพอหรือไม่ 24.ครัวเรือนมีถังขยะหรือไม่ 25.ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะหรือไม่

แบบสอบถามเพื่อสังเคราะห์ปัญหา มิติที่1ด้านเศรษฐกิจท้องถิ่นสอบถามเกี่ยวกับ 1. ครัวเรือนมีหนี้สินกี่ครัวเรือน 2. รายได้ต่ำ / รายจ่ายสูงกี่ครัวเรือน
3. ว่างงาน กี่ ครัวเรือน
4. ไม่มีที่ดินประกอบอาชีพ กี่ครัวเรือน
5.ไม่มีที่ดินเป้นของตนเอง กี่ครัวเรือน
6. ผลผลิตตกต่ำ /ไม่ได้ผล กี่ครัวเรือน
7. ค่าครองชีพสูง กี่ ครัวเรือน

มิติที่ 2 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบปัญหาเกี่ยวกับ 1.ดินเสื่อมคุณภาพ กี่ ครัวเรือน 2.ดินเปรี้ยวดินเค็ม กี่ ครัวเรือน 3.น้ำไม่เพียงพอต่อการดำรงชชีวิตและประกอบอาชีพ กี่ ครัวเรือน 4. ขยะเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็น กี่ ครัวเรือน 5. ที่ทิ้งขยะไม่เพียงพอ กี่ ครัวเรือน 6.มีการขยะไปทำประโยชน์ ปุ๋ยชีวภาพและพลังงานอื่นๆ กี่ ครัวเรือน 7.มอเตอร์ไซต์ซิ่งส่งเสียงดังรบกวน กี่ ครัวเรือน 8.ข้างบ้านส่งเสียงดังรบกวน กี่ ครัวเรือน

มิติที่ 3 ด้านศิลปวัฒนธรรม/ประเพณี / สังคม / ครอบครัว / สวัสดิการ / ศาสนาพบปัญหาเกี่ยวกับ 1. เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่ใส่ใจวัฒนธรรม กี่ ครัวเรือน 2. ประชาชนในหมู่บ้าน ไม่ช่วยเหลือกัน ต่างคนต่างอยู่กี่ ครัวเรือน 3.ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนเกิดการแตกแยกกี่ ครัวเรือน 4.เด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในหมู่บ้าน/ชุมชนกี่ ครัวเรือน 5. เด็กถูกทอดทิ้งกี่ ครัวเรือน 6.ปัญหายาเสพติด กี่ ครัวเรือน 7.เยาวชนก่อเหตุทะเลาะวิวาทกี่ ครัวเรือน 8.ครอบครัวแตกแยก กี่ ครัวเรือน 9.ผู้ด้อยโอกาส(ผู้สูงอายุ/ คนพิการ/ผู้ติดเชื้อเอด ไม่มีสวัสดิการช่วยเหลือ) กี่ ครัวเรือน 10.ศาสนสถานชำรุด ทรุดโทรม ขาดการทะนุบำรุง กี่ ครัวเรือน 11.ชาวบ้านไม่ค่อยเข้าวัดไม่ค่อยปฏิบัติธรรมทำผิดศีล 5 กี่ ครัวเรือน

มิติที่ 4 ด้านการศึกษา สอบถามเกี่ยวกับ 1.เด็ก/เยาวชนขาดโอกาสเรียนต่อ ไม่มีทุนเรียนต่อ กี่ ครัวเรือน 2.สถานศึกษาอยู่ห่างไกล กี่ ครัวเรือน 3.มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน กี่ ครัวเรือน

มิติที่5ด้านประชาธิปไตย / การมีส่วนร่วม / ธรรมาภิบาล สอบถามเกี่ยวกับ 1.การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกี่ ครัวเรือน
2.การแสดงความคิดเห็นของชาวบ้าน ชุมชน ในที่ประชุมประชาคม มีน้อยกี่ ครัวเรือน 3.การนำมติในที่ประชุมสู่การปฏิบัติ กี่ ครัวเรือน

มิติที่ 6ด้านสุขภาพ สอบถามเกี่ยวกับ 1.เจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีกี่ ครัวเรือน 2. เจ็บป่วยจากการ ดื่มสุรา สูบบุหรี่ หรือสารเสพติดกี่ ครัวเรือน 3.เจ็บป่วยด้วยโรคประจำตัว กี่ ครัวเรือน 4.เจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพกี่ ครัวเรือน

 

60 60

7. ครั้งที่ 2 การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม

วันที่ 7 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อได้เข้าใจการเขียนบันทึกการรายงานและสามารถบันทึกรายงานผลได้ถูกต้องผ่านเว็บไซต์

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานได้เข้าใจและสามารถบันทึกการทำกิจกรรมได้อย่างถูกต้องและได้ปรึกษาหาวิธีดำเนินกิจกรรมที่ถูกต้อง
  2. มีความเข้าใจในเรื่องการจัดการเอกสารการเงินมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ทำความเข้าใจร่วมกันเพื่อความถูกต้อง

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เริ่มอบรมเวลา 9.00 น.อาจารย์ได้สอนวิธีการจัดประชุมในพื้นที่เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด และสอนการรายงานบันทึกผลลงคอมพิวเตอร์ และศึกษาเอกสารการเงินและภาษี เพราะการจัดประชุมในพื้นที่เพื่อการแก้ไขปัญหาของชุมชนเอง และผู้เดือดร้อนคือชาวบ้านในชุมชน ที่ต้องการแก้ไขปัญหาของตนเอง และจัดในชุมชนการเดินทางไปมาก็ไม่ลำบาก และเรียนรู้การเข้าโปรแกรมการรายงานผลการดำเนินงานผ่านทางคอมพิวเตอร์ เพราะต้องบันทึกรายงานการประชุมลงในคอมพิวเตอร์ด้วย ต้องฝึกต้องหัดพิมพ์ให้ได้ และแนะนำการทำเอกสารการเงินที่นำมาแนบ ในกิจกรรมว่าต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง โดยมีแบบฟอร์มมาให้เรียบร้อยแล้ว ให้กรอกให้ถูกต้องและสมบูรณ์ และค่าใช้จ่ายบางอย่างต้องใช้บิลทางร้านมาประกอบด้วย และต้องแนบสำเนาบัตรประชาชนของผู้รับเงินด้วย และมีการเรียนรู้การจ่ายภาษีด้วย กรอกข้อความในใบเสียภาษีให้ครบถ้วน

 

2 2

8. สำรวจข้อมูล ครั้งที่ 1

วันที่ 8 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสำรวจข้อมูลทั่วไปในชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.มีการสำรวจข้อมุูลครัวเรือนและข้อมูลชุมชนร่วมกัน ระหว่างแกนนำ เยาวชนและครัวเรือนเป้าหมาย 2.เกิดสัมพันธภาพที่ดีและเรียนรู้ร่วมกันในการนำข้อมูลมาใช้พัฒนาชุมชน 3.มีฐานข้อมูลระดับครัวเรือน และระดับชุมชน 4.มีการสอนงานระหว่างแกนนำกับเยาวชน ทำให้เกิดความรู้สึกมีคุณค่าและสัมพันธ์ที่ดีระหว่างวัย

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงาน
1.มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 60 คน
2.ได้สำรวจข้อมูลพื้นฐานตามแบบสอบถามจำนวน 100 ราย
3.ประชาชนให้ความร่วมมือดีมาก 4.คณะทำงานได้เรียนรู้ปัญหา และความต้องการของประชาชน 5.เริ่มมองเห็นแนวทางการพัฒนาหมู่บ้านที่ทุกคนสามารถทำได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.เชิญ คณะทำงานประสานงานร่วมกับ อสม. เยาวชน อบต.และผู้นำเป็นที่ปรึกษาออกสำรวจข้อมูล -ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน -ข้อมูลรายได้ของครัวเรือน -ข้อมูลรายจ่ายของครัวเรือนที่จำเป็นและรายจ่ายฟุ่มเฟือย -ข้อมูลหนี้ครัวเรือน ข้อมูลการใช้สารเคมีทางการเกษตร -ข้อมูลสุขภาพบุคคลครอบครัว การสำรวจใช้แบบสอบถามที่ทุกคนได้ช่วยกันคิดขึ้นมาและสอดคล้องกับสภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นข้อมูลก่อนการดำเนินงาน 2.แกนนำจากปีที่ผ่านมา(ครัวเรือนต้นแบบ)ร่วมกับกลุ่ม อสม.จัดทำบัญชีรายชื่อครัวเรือนซึ่งเป็นทั้งครัวเรือนใหม่และครัวเรือนเก่าและครัวเรือนใหม่ที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน170 ครัวเรือนและทำการมอบหมายให้ตรัวเรือนต้นแบบกับเยาวชนและ อสม.รับผิดชอบเป็นกลุ่มแบ่งเป็น 10 ทีม สำรวจกลุ่มละ 17 ชุดเพื่อให้เกิดกระบวนการสอนงานระหว่างแกนนำต้นแบบกับเยาวชน ในการทำข้อมูลชุมชน 3.หัวหน้าโครงการ ประสานกับผู้ใหญ่บ้านประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบเพื่อขออนุญาตเก็บข้อมูลทุกหลังคาเรือน 4.แต่ละทีมออกเก็บข้อมุูลตามแบบสำรวจ ตามเป้าหมายที่กำหนด
5.สรุปผลข้อมูลที่ได้จากการสอบถามเป็นภาพของกลุ่มและหมู่บ้าน

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เริ่มประชุมเวลา 9.00 น. เราได้แบบสำรวจข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทำการสำรวจกันตามแบบฟอร์ม ที่ได้ออกแบบมา เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานของชุมชนบ้านยางในลุ่ม เพี่อได้รับทราบข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือนได้รู้รายรับ-รายจ่ายและหนี้สินครัวเรือน ตลอดถึงของชุมชน เพื่อจะได้หาแนวทางแก้ไข ในกิจกรรมต่อไป หวังว่าการสำรวจข้อมูลครั้งนี้จะเป็นผลดี ต่อสมาชิกและชุมชนบ้านยางในลุ่ม ครั้งนี้เป็นครั้งที่1 สำรวจ 100 บ้านครั้งที่ 2 อีก70 คน ครั้งที่ 3 สำรวจสถานการณ์ปัญหาอีก170 บ้าน จนครบ 3 ครั้ง เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นภาพรวมของหมู่บ้านและชุมชน และจะได้หา แนวทางแก้ปัญหาหนี้สินต่อไป การสำรวจข้อมูลจะได้ข้อมูลที่เป็นจริงและได้ข้อมูลที่ถูกต้องก็ต่อเมื่อผู้ตอบไม่ปิดบัง คือตอบความจริงทั้งหมด ก็จะได้ข้อมูลที่ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุดและสามารถนำข้อมูลดังกล่าวไปวิเคราะห์และแก้ไขได้ ดังนั้นข้อมูลที่เป็นความจริงและไม่ปิดบังเป็นข้อมูลที่ทางโครงการนั้นต้องการมาก เพื่อจะได้นำไปแก้ไขปัญหาได้อย่างแน่นอน

ผลการสำรวจครั้งที่ 1 พบว่า
การสำรวจครัวเรือน ครั้งที่ 1พบว่า สำรวจ จำนวน 100 ครัวเรือน พบว่า
1.ครัวเรือนประกอบกิจกรรมทางการเกษตร 100 ครัว 2.ปีนี้ครัวเรือนติดต่อซื้อ-ขายผลผลิตทางการเกษตร85ครัว 3.ครัวเรือนเลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่าย15ครัวเรือน
4.รายได้หลักของครอบครัวมาจากอาชีพเกษตร 100ครัว 5.รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน 7,000 บาท ต่อเดือน
6.ครัวเรือนมีหนี้สิน100ครัว 7.คนในครัวเรือนส่วนใหญ่รับข้อมูลข่าวสารจาก อสม.มากที่สุด จำนวน 100 ครัว 8. คนในครอบครัวเป็นสมาชิกหรือเข้าร่วมในกลุ่มหรือโครงการต่างๆในชุมชนจำนวน 100 ครัว 9.คนใน ครัวเรือนคุมกำเนิด60 ครัว 10.ปีนี้ ในครัวเรือนของท่านมีหญิงคลอด 3คน 11.ในครัวเรือนมีเด็กอายุแรกเกิดถึง 5 ปี จำนวน60 คน
12.ปีที่ผ่านมามีคนในครัวเรือนของท่านเสียชีวิต มี2 คน
13.ในรอบ 6 เดือน มีคนในครอบครัวของท่านเจ็บป่วย จำนวน 20คน 14.ปีที่ผ่านมา สถานพยาบาลใดที่ท่านใช้บริการบ่อยครั้งที่สุด ไป รพสต. 100 ครัว 15.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ดื่ม25คน 16.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนดื่มเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน ดื่ม 21คน 17.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนของท่านดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง ดื่ม 5คน 18.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาคนในครัวเรือนของท่านมีผู้สูบบุหรี่ สูบ 27 คน 19.คนในครัวเรือนของท่านรับประทานอาหารสุกๆดิบๆหรือไม่กิน 100 ครัว 20.ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนของท่านใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มี100 ครัว 21. ครัวเรือนท่าน ได้รับความรู้ข่าวสารด้านสุขภาพจากแหล่งใดมากที่สุด จาก อสม. 100 ครัว 22.ครัวเรือนมีคอกหรือกรงสัตว์ในบริเวณบ้านมี30 ครัว 23.ครัวเรือนมีน้ำดื่มเพียงพอ 100 ครัว
24.ครัวเรือนมีถังขยะ 62 ถัง 25.ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ62 ครัว

 

60 60

9. สำรวจข้อมูล ครั้งที่ 2

วันที่ 9 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสำรวจข้อมูลจากชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.มีการสำรวจข้อมุูลครัวเรือนและข้อมูลชุมชนร่วมกัน ระหว่างแกนนำ เยาวชนและครัวเรือนเป้าหมาย 2.เกิดสัมพันธภาพที่ดีและเรียนรู้ร่วมกันในการนำข้อมูลมาใช้พัฒนาชุมชน 3.มีฐานข้อมูลระดับครัวเรือน และระดับชุมชน 4.มีการสอนงานระหว่างแกนนำกับเยาวชน ทำให้เกิดความรู้สึกมีคุณค่าและสัมพันธ์ที่ดีระหว่างวัย

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงานพบว่า
1.กลุ่มเป้าหมายเข้ารว่มกิจกรรม 60 คน และทุกคนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี 2.ได้ทำการสำรวจข้อมูลตามแบบสอบถามเป็น 70 ราย รวมทั้ง 2 วัน ทั้งหมด 170 หลังคาเรือน
3.คณะทำงานได้รับทราบข้อมุลความต้องการของประชาชน 4.ประชาชนลดทิฐิ ลดความเห็นแก่ตัว อยากพัฒนาหมู่บ้าน
5.เป็นกระบวนการสร้างจิตอาสาให้เกิดในชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.เชิญ คณะทำงานประสานงานร่วมกับ อสม. เยาวชน อบต.และผู้นำเป็นที่ปรึกษาออกสำรวจข้อมูล -ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน -ข้อมูลรายได้ของครัวเรือน -ข้อมูลรายจ่ายของครัวเรือนที่จำเป็นและรายจ่ายฟุ่มเฟือย -ข้อมูลหนี้ครัวเรือน ข้อมูลการใช้สารเคมีทางการเกษตร -ข้อมูลสุขภาพบุคคลครอบครัว การสำรวจใช้แบบสอบถามที่ทุกคนได้ช่วยกันคิดขึ้นมาและสอดคล้องกับสภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นข้อมูลก่อนการดำเนินงาน 2.แกนนำจากปีที่ผ่านมา(ครัวเรือนต้นแบบ)ร่วมกับกลุ่ม อสม.จัดทำบัญชีรายชื่อครัวเรือนซึ่งเป็นทั้งครัวเรือนใหม่และครัวเรือนเก่าและครัวเรือนใหม่ที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน170 ครัวเรือนและทำการมอบหมายให้ตรัวเรือนต้นแบบกับเยาวชนและ อสม.รับผิดชอบเป็นกลุ่มแบ่งเป็น 10 ทีม สำรวจกลุ่มละ 17 ชุดเพื่อให้เกิดกระบวนการสอนงานระหว่างแกนนำต้นแบบกับเยาวชน ในการทำข้อมูลชุมชน 3.หัวหน้าโครงการ ประสานกับผู้ใหญ่บ้านประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบเพื่อขออนุญาตเก็บข้อมูลทุกหลังคาเรือน 4.แต่ละทีมออกเก็บข้อมุูลตามแบบสำรวจ ตามเป้าหมายที่กำหนด
5.สรุปผลข้อมูลที่ได้จากการสอบถามเป็นภาพของกลุ่มและหมู่บ้าน

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เริ่มประชุมเวลา 9.00 น.การสำรวจครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 ครั้งที่แล้วได้สำรวจไปแล้ว100 หลัง ครั้งนี้อีก 70 ราย เป็น 170 ราย เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐาน ของชุมชนบ้านยางในลุ่ม ได้รู้รายรับ-รายจ่ายและหนี้สินของครัวเรือน และจะได้นำข้อมูลนี้มาวิเคราะห์ข้อมูล และจะได้นำไปคืนให้กับชุมนุม เพื่อจะได้รู้ว่า ชุมชนบ้านยางในลุ่มมีหนี้สินเท่าใด เพื่อจะได้หาแนวทางแก้ไขในกิจกรรมต่อไป เช่น ได้เรียนรู้บัญชีครัวเรือน การสร้างภูมิปัญญาปลดหนี้ การทำผิดโพรง เรียนรู้เกษตรผสมผสาน เช่นอาชีพเสริมและมีรายได้เสริม นำมาปลดหนี้ได้ การสำรวจข้อมูลจะได้ข้อมูลที่เป็นจริงก็ต่อเมื่อผู้ตอบต้องไม่ปิดบัง ให้ข้อมูลที่เป็นจริงและมีส่วนร่วม ให้ความสำคัญกับกิจกรรม ก็จะได้ข้อมูลที่ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุดสามารถนำไปแก้ไขปัญหาได้อย่างแน่นอน ดั้งนั้นทางโครงการมีความต้องการมากกับข้อมูลที่เป็นความจริง เพราะจะได้นำข้อมูลดังกล่าวไปวิเคราะห์และแก้ไขได้

ผลการสำรวจครั้งที่ 2 พบว่า
การสำรวจครัวเรือน ครั้งที่2พบว่า สำรวจ จำนวน 70 ครัวเรือน พบว่า
1.ครัวเรือนประกอบกิจกรรมทางการเกษตร 70 ครัว 2.ปีนี้ครัวเรือนติดต่อซื้อ-ขายผลผลิตทางการเกษตร65ครัว 3.ครัวเรือนเลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่าย10ครัวเรือน
4.รายได้หลักของครอบครัวมาจากอาชีพเกษตร 65ครัว 5.รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน 7,000 บาท ต่อเดือน
6.ครัวเรือนมีหนี้สิน70ครัว 7.คนในครัวเรือนส่วนใหญ่รับข้อมูลข่าวสารจาก อสม.มากที่สุด จำนวน70ครัว 8. คนในครอบครัวเป็นสมาชิกหรือเข้าร่วมในกลุ่มหรือโครงการต่างๆในชุมชนจำนวน 70 ครัว 9.คนใน ครัวเรือนคุมกำเนิด32 ครัว 10.ปีนี้ ในครัวเรือนของท่านมีหญิงคลอด 1คน 11.ในครัวเรือนมีเด็กอายุแรกเกิดถึง 5 ปี จำนวน21 คน
12.ปีที่ผ่านมามีคนในครัวเรือนของท่านเสียชีวิต มี1 คน
13.ในรอบ 6 เดือน มีคนในครอบครัวของท่านเจ็บป่วย จำนวน 12คน 14.ปีที่ผ่านมา สถานพยาบาลใดที่ท่านใช้บริการบ่อยครั้งที่สุด ไป รพสต. 65 ครัว 15.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ดื่ม12คน 16.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนดื่มเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน ดื่ม12คน 17.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนของท่านดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง ดื่ม 3คน 18.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาคนในครัวเรือนของท่านมีผู้สูบบุหรี่ สูบ 17 คน 19.คนในครัวเรือนของท่านรับประทานอาหารสุกๆดิบๆหรือไม่กิน 70 ครัว 20.ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนของท่านใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มี70 ครัว 21. ครัวเรือนท่าน ได้รับความรู้ข่าวสารด้านสุขภาพจากแหล่งใดมากที่สุด จาก อสม. 70 ครัว 22.ครัวเรือนมีคอกหรือกรงสัตว์ในบริเวณบ้านมี10 ครัว 23.ครัวเรือนมีน้ำดื่มเพียงพอ 70 ครัว
24.ครัวเรือนมีถังขยะ 35 ถัง 25.ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ 35 ครัว

 

60 60

10. สำรวจข้อมูล ครั้งที่ 3

วันที่ 10 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสำรวจข้อมูลในชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.มีการสำรวจข้อมุูลครัวเรือนและข้อมูลชุมชนร่วมกัน ระหว่างแกนนำ เยาวชนและครัวเรือนเป้าหมาย 2.เกิดสัมพันธภาพที่ดีและเรียนรู้ร่วมกันในการนำข้อมูลมาใช้พัฒนาชุมชน 3.มีฐานข้อมูลระดับครัวเรือน และระดับชุมชน 4.มีการสอนงานระหว่างแกนนำกับเยาวชน ทำให้เกิดความรู้สึกมีคุณค่าและสัมพันธ์ที่ดีระหว่างวัย

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงาน
1.กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมสำรวจสถานการณ์ชุมชน 60 คน
2.สำรวจสถานการณ์ปัญหาได้ 170 ชุด
3.มีการสรุปสรุปข้อมุลสถานการณ์ชุมชน 1 ชุด 4.คณะทำงานนำข้อมูลไปวิเคราะห์ต่อไป 5.เป็นกระบวนการสร้างความร่วมมือและความสามัคคีได้ดีมาก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.เชิญ คณะทำงานประสานงานร่วมกับ อสม. เยาวชน อบต.และผู้นำเป็นที่ปรึกษาออกสำรวจข้อมูล -ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน -ข้อมูลรายได้ของครัวเรือน -ข้อมูลรายจ่ายของครัวเรือนที่จำเป็นและรายจ่ายฟุ่มเฟือย -ข้อมูลหนี้ครัวเรือน ข้อมูลการใช้สารเคมีทางการเกษตร -ข้อมูลสุขภาพบุคคลครอบครัว การสำรวจใช้แบบสอบถามที่ทุกคนได้ช่วยกันคิดขึ้นมาและสอดคล้องกับสภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นข้อมูลก่อนการดำเนินงาน 2.แกนนำจากปีที่ผ่านมา(ครัวเรือนต้นแบบ)ร่วมกับกลุ่ม อสม.จัดทำบัญชีรายชื่อครัวเรือนซึ่งเป็นทั้งครัวเรือนใหม่และครัวเรือนเก่าและครัวเรือนใหม่ที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน170 ครัวเรือนและทำการมอบหมายให้ตรัวเรือนต้นแบบกับเยาวชนและ อสม.รับผิดชอบเป็นกลุ่มแบ่งเป็น 10 ทีม สำรวจกลุ่มละ 17 ชุดเพื่อให้เกิดกระบวนการสอนงานระหว่างแกนนำต้นแบบกับเยาวชน ในการทำข้อมูลชุมชน 3.หัวหน้าโครงการ ประสานกับผู้ใหญ่บ้านประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบเพื่อขออนุญาตเก็บข้อมูลทุกหลังคาเรือน 4.แต่ละทีมออกเก็บข้อมุูลตามแบบสำรวจ ตามเป้าหมายที่กำหนด
5.สรุปผลข้อมูลที่ได้จากการสอบถามเป็นภาพของกลุ่มและหมู่บ้าน

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.ประธานโครงการชี้แจงเริ่มเวลา 9.00 น.วันนี้เป็นการสำรวจข้อมูลครั้งที่ 3เป็นการสำรวจสถานะการณ์ปัญหาของครัวเรือน ซึ่งสำรวจมาแล้ว 2 ครั้ง เป็นข้อมุลทั่วไป จำนวน 170 คน ครั้งนี้มาสำรวจทุกบ้าน 170 คน ในการสำรวจข้อมูล มีประชาชนให้ความสนใจดี ในเรื่องหนี้สินจะได้ข้อมูลเป็นอย่างดี และจะขอทำอาชีพเสริมในบางรายด้วยและหาแนวทางแก้ไขปัญหาของชุมชน และจะทำการวิเคราะห์ข้อมูล คืนให้ชุมชนในภายหน้านี้ เพื่อจะได้สร้างภูมิปัญญาแก้ไขปัญหาหนี้สินในชุมชน และได้สร้างอาชีพเสริม เรียนรู้การทำเกษตรผสมผสานให้ต่อไป และในวันนี้เป็นการสำรวจข้อมูลครั้งที่สามเป็นครั้งสุดท้ายแล้ว เมื่อได้ข้อมูลครบแล้วก็นำมาวิเคราะห์ในวันที่ 18 ธันวาคม 2558 โดยใช้กลุ่มเป้าหมายจำนวน 100 คน เมื่อวิเคราะห์เสร็จก็ทำการคืนข้อมูลให้ชุมชนและประชาสัมพันธ์โครงการต่อไป การสำรวจข้อมูลจะได้รับผลสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อ ผู้ตอบข้อมูลต้องไม่ปิดบัง ให้ข้อมูลที่เป็นจริง และมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม จึงจะได้ข้อมูลที่เป็นจริง และได้ข้อมูลที่ถูกต้องและสมบูรณ์และสามารถนำไปแก้ไขปัญหาได้อย่างแน่นอน

ผลการสำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาชุมชน เพื่อนำไปวิเคราะห์

มิติที่1ด้านเศรษฐกิจท้องถิ่นพบปัญหาเกี่ยวกับ 1. ครัวเรือนมีหนี้สิน 170 ครัวเรือน
2. รายได้ต่ำ / รายจ่ายสูง 170 ครัวเรือน
3. ว่างงาน56 ครัวเรือน
4. ไม่มีที่ดินประกอบอาชีพ 15 ครัวเรือน
5.ไม่มีที่ดินเป้นของตนเอง10 ครัวเรือน
6. ผลผลิตตกต่ำ /ไม่ได้ผล170ครัวเรือน
7. ค่าครองชีพสูง 170 ครัวเรือน

มิติที่ 2 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบปัญหาเกี่ยวกับ 1.ดินเสื่อมคุณภาพ พบร้อยละ 25 2.ดินเปรี้ยวดินเค็ม พบร้อยละ5 3.น้ำไม่เพียงพอต่อการดำรงชชีวิตและประกอบอาชีพ พบร้อยละ 55 4. ขยะเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นพบร้อยละ 5 5. ที่ทิ้งขยะไม่เพียงพอ พบร้อยละ 24 6.มีการขยะไปทำประโยชน์ ปุ๋ยชีวภาพและพลังงานอื่นๆ พบร้อยละ 66 7.มอเตอร์ไซต์ซิ่งส่งเสียงดังรบกวน พบร้อยละ3 8.ข้างบ้านส่งเสียงดังรบกวน พบร้อยละ2

มิติที่ 3 ด้านศิลปวัฒนธรรม/ประเพณี / สังคม / ครอบครัว / สวัสดิการ / ศาสนาพบปัญหาเกี่ยวกับ 1. เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่ใส่ใจวัฒนธรรม พบร้อยละ12 2. ประชาชนในหมู่บ้าน ไม่ช่วยเหลือกัน ต่างคนต่างอยู่ พบร้อยละ11 3.ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนเกิดการแตกแยก พบร้อยละ11 4.เด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในหมู่บ้าน/ชุมชน พบร้อยละ 6 5. เด็กถูกทอดทิ้ง พบร้อยละ2 6.ปัญหายาเสพติด พบร้อยละ 4 7.เยาวชนก่อเหตุทะเลาะวิวาท พบร้อยละ9 8.ครอบครัวแตกแยก พบร้อยละ 4 9.ผู้ด้อยโอกาส(ผู้สูงอายุ/ คนพิการ/ผู้ติดเชื้อเอด ไม่มีสวัสดิการช่วยเหลือ) พบร้อยละ 3 10.ศาสนสถานชำรุด ทรุดโทรม ขาดการทะนุบำรุง พบร้อยละ 5 11.ชาวบ้านไม่ค่อยเข้าวัดไม่ค่อยปฏิบัติธรรมทำผิดศีล 5 พบร้อยละ21

มิติที่ 4 ด้านการศึกษา สอบถามเกี่ยวกับ 1.เด็ก/เยาวชนขาดโอกาสเรียนต่อ ไม่มีทุนเรียนต่อ พบร้อยละ2 2.สถานศึกษาอยู่ห่างไกลไม่มี 3.มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน พบร้อยละ 8

มิติที่5ด้านประชาธิปไตย / การมีส่วนร่วม / ธรรมาภิบาล สอบถามเกี่ยวกับ 1.การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ร้อยละ 82 2.การแสดงความคิดเห็นของชาวบ้าน ชุมชน ในที่ประชุมประชาคม มีน้อย ร้อยละ 81 3.การนำมติในที่ประชุมสู่การปฏิบัติร้อยละ 65

มิติที่ 6ด้านสุขภาพ สอบถามเกี่ยวกับ 1.เจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีพบร้อยละ23 2. เจ็บป่วยจากการ ดื่มสุรา สูบบุหรี่ หรือสารเสพติดพบร้อยละ 4 3.เจ็บป่วยด้วยโรคประจำตัว พบร้อยละ21 4.เจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ พบร้อยละ 17

 

60 60

11. วิเคราะห์ข้อมูล

วันที่ 18 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อได้รู้ข้อมูลหนี้สินของครัวเรือนที่่ได้สำรวจในชุมชนเพื่อที่จะรวบรวมข้อมูลให้กับชุมชน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.ได้แนวทางการลดหนี้และได้อาชีพเสริมเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบถึงข้อมูลในชุมชนร่วมกันทั้งหมู่บ้านของแต่ละเรื่องเช่นรายรับรวมของชุมชนรายจ่ายรวมของชุมชนและรายจ่ายที่ฟุ่มเฟือยพร้อมกับรับรู้หนี้สินของรวมของชุมชนด้วย

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงาน
1.มีผู้เข้าร่วมประชุม 100 คน และได้เกิดฐานข้อมูลชุมชน 1 ชุด
2.มีสถานการณ์ข้อมุลปัญหาชุมชนที่สอดคล้อง 6 มิติ จำนวน 1 ชุด 3.คณะทำงานมีข้อมูลชุมชนและทุกคนให้ความสนใจเป็นอย่างดี เนื่องจากเป็นแนวทางการแก้ปัญหาระดับครัวเรือน ระดับชุมชน
4.ได้รับทราบข้อมูลหนี้สินของครัวเรือนและช่วยกันหาแนวทางแก้ไข 5.ได้นำข้อมูลดังกล่าวส่งมอบให้ภาคีเครือข่ายเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาร่วมกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.เชิญ คณะทำงานประสานงานร่วมกับ อสม. เยาวชน อบต.และผู้นำเป็นที่ปรึกษาคณะทำงานได้ร่วมกันนำข้อมูลทั้ง100 เปอร์เซ็นต์มารวบรวมแล้วสรุปตามจำนวนหัวข้อของแบบสอบถามและได้ข้อสรุปของแต่ละข้อและสรุปการหาแนวทางลดหนี้ ไม่สร้างหนี้เพิ่ม จัดหาอาชีพเสริมให้มีรายได้เพิ่ม

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.ประธานโครงการได้ชี้แจงหลังจากการออกสำรวจข้อมูล ในชุมชนแล้วจะมีข้อมูลชุมชน แล้วนำเอามาวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้1.ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน2.ข้อมูลหนี้ของชุมชน3.ข้อมูลการบริโภคของชุมชน4.ข้อมูลการทำน้ำหมักชีวภาพที่นำไปใช้ในชุมชน5.การทำเกษตรผสมผสาน ปลูกพืชแซมในสวนยางพารา6.การเข้าร่วมโครงการผึ้งโพรง7.อาหารปลอดสารพิษ(ผัก-สมุนไพร) จากการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ เห็นว่าปัญหาของชุมชนคือปัญหาหนี้สินของครัวเรือนจะเห็นว่าเกือบทุกครัวเรือนมีหนี้สิน จากปัญหาของราคาผลผลิตถูกลงมากจากราคายางกิโลกรัมละ 180 บาทได้ลดลงเหลือกิโลกรัมละ 30 บาท ทำให้ชาวบ้านเกิดมีรายได้น้อย ทำให้รายรับไม่พอกับรายจ่าย และเพื่อความอยู่รอดของครอบครัวก็จำเป็นต้องกู้เงินยืมเงินมาใช้จ่าย ทำให้เกิดมีหนี้สินกันเยอะมีหนี้สินกันเกือบทุกครัวเรือน ดังนั้นจำเป็นต้องหาอาชีพเสริม เพื่อจะได้มีรายได้เพิ่มขึ้นนำมาใช้จ่ายหนี้สินในครัวเรือนให้เร็วที่สุด ซึ่งทางโครงการก็ได้ร่างกิจกรรมไว้ให้แล้ว และจะมีการคืนข้อมูลให้กับชุมชนและทำการประชาสัมพันธ์โครงการให้กับชาวบ้านทราบในวันที่ 6 มกราคม 2559 โดยแจ้งให้กับกลุ่มเป้าหมายจำนวน 200 คน ใครสนใจก็เข้าร่วมกิจกรรมได้ เพราะในวันนั้นก็มีการรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมด้วย เช่นการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน การเรียนรู้การสร้างภูมิปัญญาปลดหนี้ การเรียนรู้การเลี้ยงผึ้งโพรง การเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมัก การเรียนรู้การปลูกพืชผสมผสาน ซึ่งการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้เป็นการแก้ไขปัญหาหนี้สินในครัวเรือนเบื้องต้นจากข้อมูลที่ชุมชนมีปัญหาเรื่องหนี้สินกันเยอะและหวังว่าชาวบ้านสามารถลดหนี้สินครัวเรือนได้จากโครงการนี้อย่างแน่นอน

สรุปข้อมูลการวิเคราะห์(ทั่วไปและสถานการณ์ปัญหา) พบข้อมูลดังนี้
การสำรวจครัวเรือนพบว่า สำรวจ จำนวน 170 ครัวเรือน พบว่า
1.ครัวเรือนประกอบกิจกรรมทางการเกษตร 170 ครัว 2.ปีนี้ครัวเรือนติดต่อซื้อ-ขายผลผลิตทางการเกษตร 150ครัว 3.ครัวเรือนเลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่าย25ครัวเรือน
4.รายได้หลักของครอบครัวมาจากอาชีพเกษตร 165ครัว 5.รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน 7,000 บาท ต่อเดือน
6.ครัวเรือนมีหนี้สิน170ครัว 7.คนในครัวเรือนส่วนใหญ่รับข้อมูลข่าวสารจาก อสม.มากที่สุด จำนวน 170 ครัว 8. คนในครอบครัวเป็นสมาชิกหรือเข้าร่วมในกลุ่มหรือโครงการต่างๆในชุมชนจำนวน 170 ครัว 9.คนใน ครัวเรือนคุมกำเนิด92ครัว 10.ปีนี้ ในครัวเรือนของท่านมีหญิงคลอด 4คน 11.ในครัวเรือนมีเด็กอายุแรกเกิดถึง 5 ปี จำนวน46 คน
12.ปีที่ผ่านมามีคนในครัวเรือนของท่านเสียชีวิต มี3 คน
13.ในรอบ 6 เดือน มีคนในครอบครัวของท่านเจ็บป่วย จำนวน 32คน 14.ปีที่ผ่านมา สถานพยาบาลใดที่ท่านใช้บริการบ่อยครั้งที่สุด ไป รพสต. 165 ครัว 15.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ดื่ม37คน 16.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนดื่มเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน ดื่ม 33คน 17.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนของท่านดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง ดื่ม 8คน 18.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาคนในครัวเรือนของท่านมีผู้สูบบุหรี่ สูบ 34 คน 19.คนในครัวเรือนของท่านรับประทานอาหารสุกๆดิบๆหรือไม่กิน 170 ครัว 20.ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนของท่านใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มี170 ครัว 21. ครัวเรือนท่าน ได้รับความรู้ข่าวสารด้านสุขภาพจากแหล่งใดมากที่สุด จาก อสม. 170 ครัว 22.ครัวเรือนมีคอกหรือกรงสัตว์ในบริเวณบ้านมี40 ครัว 23.ครัวเรือนมีน้ำดื่มเพียงพอ 170 ครัว
24.ครัวเรือนมีถังขยะ 97 ถัง 25.ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ97 ครัว

ข้อมูลสถานกาณ์ชุมชน มิติที่1ด้านเศรษฐกิจท้องถิ่นพบปัญหาเกี่ยวกับ 1. ครัวเรือนมีหนี้สิน 170 ครัวเรือน
2. รายได้ต่ำ / รายจ่ายสูง 170 ครัวเรือน
3. ว่างงาน56 ครัวเรือน
4. ไม่มีที่ดินประกอบอาชีพ 15 ครัวเรือน
5.ไม่มีที่ดินเป้นของตนเอง10 ครัวเรือน
6. ผลผลิตตกต่ำ /ไม่ได้ผล170ครัวเรือน
7. ค่าครองชีพสูง 170 ครัวเรือน

มิติที่ 2 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบปัญหาเกี่ยวกับ 1.ดินเสื่อมคุณภาพ พบร้อยละ 25 2.ดินเปรี้ยวดินเค็ม พบร้อยละ5 3.น้ำไม่เพียงพอต่อการดำรงชชีวิตและประกอบอาชีพ พบร้อยละ 55 4. ขยะเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นพบร้อยละ 5 5. ที่ทิ้งขยะไม่เพียงพอ พบร้อยละ 24 6.มีการขยะไปทำประโยชน์ ปุ๋ยชีวภาพและพลังงานอื่นๆ พบร้อยละ 66 7.มอเตอร์ไซต์ซิ่งส่งเสียงดังรบกวน พบร้อยละ3 8.ข้างบ้านส่งเสียงดังรบกวน พบร้อยละ2

มิติที่ 3 ด้านศิลปวัฒนธรรม/ประเพณี / สังคม / ครอบครัว / สวัสดิการ / ศาสนาพบปัญหาเกี่ยวกับ 1. เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่ใส่ใจวัฒนธรรม พบร้อยละ12 2. ประชาชนในหมู่บ้าน ไม่ช่วยเหลือกัน ต่างคนต่างอยู่ พบร้อยละ11 3.ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนเกิดการแตกแยก พบร้อยละ11 4.เด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในหมู่บ้าน/ชุมชน พบร้อยละ 6 5. เด็กถูกทอดทิ้ง พบร้อยละ2 6.ปัญหายาเสพติด พบร้อยละ 4 7.เยาวชนก่อเหตุทะเลาะวิวาท พบร้อยละ9 8.ครอบครัวแตกแยก พบร้อยละ 4 9.ผู้ด้อยโอกาส(ผู้สูงอายุ/ คนพิการ/ผู้ติดเชื้อเอด ไม่มีสวัสดิการช่วยเหลือ) พบร้อยละ 3 10.ศาสนสถานชำรุด ทรุดโทรม ขาดการทะนุบำรุง พบร้อยละ 5 11.ชาวบ้านไม่ค่อยเข้าวัดไม่ค่อยปฏิบัติธรรมทำผิดศีล 5 พบร้อยละ21

มิติที่ 4 ด้านการศึกษา สอบถามเกี่ยวกับ 1.เด็ก/เยาวชนขาดโอกาสเรียนต่อ ไม่มีทุนเรียนต่อ พบร้อยละ2 2.สถานศึกษาอยู่ห่างไกลไม่มี 3.มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน พบร้อยละ 8

มิติที่5ด้านประชาธิปไตย / การมีส่วนร่วม / ธรรมาภิบาล สอบถามเกี่ยวกับ 1.การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ร้อยละ 82 2.การแสดงความคิดเห็นของชาวบ้าน ชุมชน ในที่ประชุมประชาคม มีน้อย ร้อยละ 81 3.การนำมติในที่ประชุมสู่การปฏิบัติร้อยละ 65

มิติที่ 6ด้านสุขภาพ สอบถามเกี่ยวกับ 1.เจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีพบร้อยละ23 2. เจ็บป่วยจากการ ดื่มสุรา สูบบุหรี่ หรือสารเสพติดพบร้อยละ 4 3.เจ็บป่วยด้วยโรคประจำตัว พบร้อยละ21 4.เจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ พบร้อยละ 17

 

100 100

12. สภาผู้นำบ้านยางในลุ่ม ครั้งที่ 3

วันที่ 21 ธันวาคม 2558 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อสรุปงานที่ผ่านมาและหาแนวทางการทำกิจกรรมต่อไป

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.คณะทำงานมีการบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ชุมชนมีส่วนร่วมในการทำงาน 3.มีภาคีร่วมทำงาน 4 มีแผนงานล่วงหน้า 5คณะทำงานมีแนวทางการบริหารจัดการโครงการและโครงสร้างชัดเจน
6สร้างการมีส่วนของคณะทำงานมากขึ้น 7.มีสภาผู้นำ 1 ชุด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สรุปผลการดำเนินงาน

  1. มีผู้เข้ารว่มประชุม 30 คน
  2. คณะทำงานมีฐานข้อมูลชุมชนและได้รับการคืนข้อมูล
  3. เกิดความร่วมมือในการทำงานชุมชนเป็นอย่างดี
  4. มีภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมทำงาน
  5. จากข้อมุลทำให้ทุกคนมองเห็นปัญหาชุมชนร่วมกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.คณะกรรมการ15 คน และตัวแทนกลุ่มชุมชน 4 กลุ่ม คัดเลือกมา กลุ่มละ 2 คน รวมเป็น 8 คนตัวแทนจากหน่วยงานราชการในพื้นที่ 2 คน และจิตอาสาร่วมพัฒนาชุมชน 5 คน เข้าร่วมประชุมทุกเดือน โดยนำวาระการดำเนินงานตามโครงการมาพูดคุยในวันประชุม และประเด็นการพัฒนาหมู่บ้าน ตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ มาพูดคุยเดือนละ 1 ครั้ง โดยใช้สถานที่หอประชุมหมู่บ้าน 2.มีการจัดบันทึกวาระการประชุม และนำผลการประชุมมาพูดคุยให้ประชาชนได้รับฟัง เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
3.มีการรายงานผลกิจกรรม และการติดตามความก้าวหน้าโครงการให้สภาชุมชนได้รับทราบ เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการทบทวน บทเรียนในการพัฒนา และร่วมกันปรับปรุงกิจกรรม

คณะทำงานมีการประชุม เป้าหมาย 30คน เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 10 ครั้ง เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางการทำงาน การรายงานตามกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า รวมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะจากทีมงาน ใช้ศาลาประชุมของหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทเรียนในการพัฒนา มีหัวข้อในการพูดคุยดังนี้ สรุปผลการดำเนินงาน • ในการจัดประชุมจะมีการให้ความรู้และส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายออกกำลังกายตามความเหมาะสม • การจัดประชุมมีการรณรงค์ให้คณะทำงาน ลดบุหรี่ สุรา และวางแผนที่จะ ลด ละ เลิกบุหรี่ สุรา • สถานที่ประชุมมีป้ายห้ามสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ แอลกอฮอล์

ผลการการสำรวจข้อมูล สรุปข้อมูลการวิเคราะห์(ทั่วไปและสถานการณ์ปัญหา) พบข้อมูลดังนี้
การสำรวจครัวเรือนพบว่า สำรวจ จำนวน 170 ครัวเรือน พบว่า
1.ครัวเรือนประกอบกิจกรรมทางการเกษตร 170 ครัว 2.ปีนี้ครัวเรือนติดต่อซื้อ-ขายผลผลิตทางการเกษตร 150ครัว 3.ครัวเรือนเลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่าย25ครัวเรือน
4.รายได้หลักของครอบครัวมาจากอาชีพเกษตร 165ครัว 5.รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน 7,000 บาท ต่อเดือน
6.ครัวเรือนมีหนี้สิน170ครัว 7.คนในครัวเรือนส่วนใหญ่รับข้อมูลข่าวสารจาก อสม.มากที่สุด จำนวน 170 ครัว 8. คนในครอบครัวเป็นสมาชิกหรือเข้าร่วมในกลุ่มหรือโครงการต่างๆในชุมชนจำนวน 170 ครัว 9.คนใน ครัวเรือนคุมกำเนิด92ครัว 10.ปีนี้ ในครัวเรือนของท่านมีหญิงคลอด 4คน 11.ในครัวเรือนมีเด็กอายุแรกเกิดถึง 5 ปี จำนวน46 คน
12.ปีที่ผ่านมามีคนในครัวเรือนของท่านเสียชีวิต มี3 คน
13.ในรอบ 6 เดือน มีคนในครอบครัวของท่านเจ็บป่วย จำนวน 32คน 14.ปีที่ผ่านมา สถานพยาบาลใดที่ท่านใช้บริการบ่อยครั้งที่สุด ไป รพสต. 165 ครัว 15.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ดื่ม37คน 16.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนดื่มเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน ดื่ม 33คน 17.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนของท่านดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง ดื่ม 8คน 18.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาคนในครัวเรือนของท่านมีผู้สูบบุหรี่ สูบ 34 คน 19.คนในครัวเรือนของท่านรับประทานอาหารสุกๆดิบๆหรือไม่กิน 170 ครัว 20.ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนของท่านใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มี170 ครัว 21. ครัวเรือนท่าน ได้รับความรู้ข่าวสารด้านสุขภาพจากแหล่งใดมากที่สุด จาก อสม. 170 ครัว 22.ครัวเรือนมีคอกหรือกรงสัตว์ในบริเวณบ้านมี40 ครัว 23.ครัวเรือนมีน้ำดื่มเพียงพอ 170 ครัว
24.ครัวเรือนมีถังขยะ 97 ถัง 25.ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ97 ครัว

ข้อมูลสถานกาณ์ชุมชน มิติที่1ด้านเศรษฐกิจท้องถิ่นพบปัญหาเกี่ยวกับ 1. ครัวเรือนมีหนี้สิน 170 ครัวเรือน
2. รายได้ต่ำ / รายจ่ายสูง 170 ครัวเรือน
3. ว่างงาน56 ครัวเรือน
4. ไม่มีที่ดินประกอบอาชีพ 15 ครัวเรือน
5.ไม่มีที่ดินเป้นของตนเอง10 ครัวเรือน
6. ผลผลิตตกต่ำ /ไม่ได้ผล170ครัวเรือน
7. ค่าครองชีพสูง 170 ครัวเรือน

มิติที่ 2 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบปัญหาเกี่ยวกับ 1.ดินเสื่อมคุณภาพ พบร้อยละ 25 2.ดินเปรี้ยวดินเค็ม พบร้อยละ5 3.น้ำไม่เพียงพอต่อการดำรงชชีวิตและประกอบอาชีพ พบร้อยละ 55 4. ขยะเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นพบร้อยละ 5 5. ที่ทิ้งขยะไม่เพียงพอ พบร้อยละ 24 6.มีการขยะไปทำประโยชน์ ปุ๋ยชีวภาพและพลังงานอื่นๆ พบร้อยละ 66 7.มอเตอร์ไซต์ซิ่งส่งเสียงดังรบกวน พบร้อยละ3 8.ข้างบ้านส่งเสียงดังรบกวน พบร้อยละ2

มิติที่ 3 ด้านศิลปวัฒนธรรม/ประเพณี / สังคม / ครอบครัว / สวัสดิการ / ศาสนาพบปัญหาเกี่ยวกับ 1. เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่ใส่ใจวัฒนธรรม พบร้อยละ12 2. ประชาชนในหมู่บ้าน ไม่ช่วยเหลือกัน ต่างคนต่างอยู่ พบร้อยละ11 3.ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนเกิดการแตกแยก พบร้อยละ11 4.เด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในหมู่บ้าน/ชุมชน พบร้อยละ 6 5. เด็กถูกทอดทิ้ง พบร้อยละ2 6.ปัญหายาเสพติด พบร้อยละ 4 7.เยาวชนก่อเหตุทะเลาะวิวาท พบร้อยละ9 8.ครอบครัวแตกแยก พบร้อยละ 4 9.ผู้ด้อยโอกาส(ผู้สูงอายุ/ คนพิการ/ผู้ติดเชื้อเอด ไม่มีสวัสดิการช่วยเหลือ) พบร้อยละ 3 10.ศาสนสถานชำรุด ทรุดโทรม ขาดการทะนุบำรุง พบร้อยละ 5 11.ชาวบ้านไม่ค่อยเข้าวัดไม่ค่อยปฏิบัติธรรมทำผิดศีล 5 พบร้อยละ21

มิติที่ 4 ด้านการศึกษา สอบถามเกี่ยวกับ 1.เด็ก/เยาวชนขาดโอกาสเรียนต่อ ไม่มีทุนเรียนต่อ พบร้อยละ2 2.สถานศึกษาอยู่ห่างไกลไม่มี 3.มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน พบร้อยละ 8

มิติที่5ด้านประชาธิปไตย / การมีส่วนร่วม / ธรรมาภิบาล สอบถามเกี่ยวกับ 1.การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ร้อยละ 82 2.การแสดงความคิดเห็นของชาวบ้าน ชุมชน ในที่ประชุมประชาคม มีน้อย ร้อยละ 81 3.การนำมติในที่ประชุมสู่การปฏิบัติร้อยละ 65

มิติที่ 6ด้านสุขภาพ สอบถามเกี่ยวกับ 1.เจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีพบร้อยละ23 2. เจ็บป่วยจากการ ดื่มสุรา สูบบุหรี่ หรือสารเสพติดพบร้อยละ 4 3.เจ็บป่วยด้วยโรคประจำตัว พบร้อยละ21 4.เจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ พบร้อยละ 17

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เริ่มประชุมประธานได้ชี้แจง เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2558 ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเรียบร้อยแล้ว และต่อไปก็จะเป็นการคืนข้อมูลให้กับชุมชน ในวันที่ 6 มกราคม 2559 โดยวางเป้าหมายไว้ 200 คน ถ้าคณะกรรมการท่านใดมีกลุ่มเป้าหมายอยู่แล้วก็ให้เชิญชวนมา เพื่อทางโครงการจะได้คืนข้อมูลให้กับชุมชนและจะได้ประชาสัมพันธ์โครงการด้วย จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล เห็นว่าชุมชนบ้านยางในลุ่มมีหนี้สินเกือบทุกครัวเรือน และให้คณะทำงานช่วยเสนอแนวทางแก้ไข เพื่อสร้างอาชีพเพิ่มและจะได้มีรายได้เพิ่ม และให้ที่ประชุมได้เสนออาชีพเสริมเพื่อได้ให้กลุ่มเป้าหมายได้ศึกษาเรียนรู้การทำอาชีพเสริมต่อไป และที่ประชุมได้มีแนวคิดเสนออาชีพเสริมดังนี้ การทำปุ๋ยหมักใช้เองโดยไม่ต้องซื้อปุ๋ยเคมีมาใช้ทั้งราคาแพงและมีสารเคมีตกค้างด้วยและทำปุ๋ยน้ำหมักใช้เอง ซึ่งปุ๋ยหมักและปุ๋ยน้ำหมักก็ได้ประโยชน์เหมือนกับปุ๋ยเคมี เสนอการปลูกพืชผสมผสาน โดยไม่ต้องซื้อพืชผักได้ปลูกพืชผักกินเองเป็นการลดรายจ่ายเหลือกินก็สามารถแบ่งปันให้เครือญาติได้และถ้าเหลืออีกก็นำไปขายได้มีรายได้เพิ่ม มีการเสนอการเลี้ยงผึ้งโพรงเพื่อเพิ่มรายได้ให้ กับครัวเรือนด้วยเพราะพื้นที่ชุมชนบ้านยางในลุ่มเหมาะแก่การเลี้ยงผึ้งโพรง เพราะชุมชนบ้านยางในลุ่มเป็นพื้นที่ปลูกผักปลอดสารพิษมาก่อน ทำให้มีแมลงและตัวผึ้งมาอาศัยอยู่มากและเกสรดอกไม้ก็มีมากที่เป็นอาหารของผึ้ง และมีการเสนอการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน เพื่อให้ครัวเรือนได้รู้รายรับรู้รายจ่ายของครัวเรือน รายจ่ายที่ไม่สมควรจ่ายก็จะได้ลดรายจ่ายลงได้ และกิจกรรมต่อไปเป็นการคืนข้อมูลให้ชุมชนและประชาสัมพันธ์โครงการ และให้มีการรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรม เช่น เรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน เรียนรู้การปลูกพืชผสมผสาน เรียนรู้การเลี้ยงผึ้งโพรง ในกิจกรรมต่อไป

 

30 30

13. คีนข้อมูลให้ชุมชนและประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 6 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อให้คนในชุมชนได้รู้หนี้สินของครัวเรือนในชุมชนบ้านยางในลุ่ม

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

มีการคืนข้อมูลสู่ครัวเรือนและชุมชนประชาชนในหมู่บ้านรับรู้ปัญหาและแนวทางแก้ไขหรือทางออกที่ดีเพื่อจะได้ร่วมกิจกรรม

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. มีผู้เข้าร่วมประชุม 200 คน
  2. ประชาชนได้มีการคืนข้อมูลทั้งข้อมุลทั่วไป ข้อมูลหนี้สินให้กับชุมชนและสถานการณ์ปัญหาชุมชน
  3. ประชาชนให้ความสนใจข้อมูลเป็นอย่างดีเพราะเป็นข้อมูลที่ได้จากชุมชน
  4. ข้อมูลดังกล่าว ใช้ในการขับเคลื่อนประชาสัมพันธ์โครงการด้วย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.เชิญ คณะทำงานประสานงานร่วมกับ อสม. เยาวชน อบต.และผู้นำเป็นที่ปรึกษาครัวเรือนเป้าหมายได้รับคืนข้อมูลชุมชนร้อยละ 100หาข้อสรุปวิธีการคืนข้อมูล
-ประชุมหมู่บ้าน -เวทีประชาคมหมู่บ้าน -ประชุมกองทุนหมู่บ้าน -ไวนิวล์ -แผ่นพับ -โพสต์เตอร์ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในหมู่บ้านทราบ และรับสมัครครัวเรือนที่พบปัญหารายได้ ไมีเพียงพอรายจ่าย โดยให้สมัครใจเข้าร่วมโครงการ

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เริ่มประชุมลงทะเบียนและแจกเอกสารที่ได้วิเคราะห์จากข้อมูลสำรวจ ชี้แจงหนี้สินของครัวเรือนและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการสร้างอาชีพเสริม 1.การเรียนรู้บัญชีครัวเรือน จะได้รู้รายรับ-รายจ่ายครัวเรือน2.การเรียนรู้ผึ้งโพรง เพื่อสร้างอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือน3.การทำเกษตรผสมผสาน แบบเศรษฐกิจพอเพียงให้ปลูกพืชผักสมุนไพร ปลอดสารพิษ4.ทำน้ำหมักจากเศษขยะในครัวเรือน ทำเป็นปุ๋ย น้ำหมักชีวภาพ ใช้แทนปุ๋ยเคมี ซึ่งมีการรักษาสิ่งแวดล้อม ทำให้ขยะในชุมชนลดลงด้วย5.การทำยาหม่องสมุนไพร จากสมุนไพรในชุมชนเพื่อนำมาใช้เองในครัวเรือน และโอกาสต่อไปจะแปรรูปเป็นวิสาหกิจของชุมชน เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับชุมและครอบครัว เพื่อจะได้ลดหนี้สินของครัวเรือน โดยการประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้สนใจสมัครเข้าร่วมโครงการเพื่อเป็นการลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ การลดรายจ่ายในเบื้องต้นเป็นการเรียนรู้บัญชีครัวเรือน เพื่อจะได้รู้รายรับรู้รายจ่ายของครัวเรือน เมื่อรู้รายจ่ายอะไรสมควรจ่ายอะไรไม่สมควรจ่าย ก็เกิดการประหยัดรายจ่าย เกิดการออม มีเงินเก็บ เป็นการลดรายจ่ายอีกวิธีหนึ่ง และการเพิ่มรายได้ให้มีการเลี้ยงผึ้งโพรงไทย มีการปลูกพืชผสมผสาน และสร้างภมิปัญญาปลดหนี้ ซึ่งเป็นการสร้างอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้กับครัวเรือนเป็นการลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ และในวันนี้เป็นการคืนข้อมูลให้ชุมชนและประชาสัมพันธ์โครงการ และครั้งต่อไปเป็นการเรียนรู้บัญชีครัวเรือนในวันที่ 27 มกราคม 2559 ขอให้ท่านได้เข้ามาร่วมกิจกรรมด้วย เพื่อเป็นกิจกรรมลดรายจ่ายในเบื้องต้น และสามารถลดหนี้สินให้กับครัวเรือนได้ด้วย หว้งว่าคงได้รับความร่วมมือจากท่านอีกครั้งหนึ่ง เพราะกิจกรรมเรียนรู้บัญชีครัวเรือนรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม 200 คน

สรุปผลการสำรวจข้อมุล สรุปข้อมูลการวิเคราะห์(ทั่วไปและสถานการณ์ปัญหา) พบข้อมูลดังนี้
การสำรวจครัวเรือนพบว่า สำรวจ จำนวน 170 ครัวเรือน พบว่า
1.ครัวเรือนประกอบกิจกรรมทางการเกษตร 170 ครัว 2.ปีนี้ครัวเรือนติดต่อซื้อ-ขายผลผลิตทางการเกษตร 150ครัว 3.ครัวเรือนเลี้ยงสัตว์เพื่อจำหน่าย25ครัวเรือน
4.รายได้หลักของครอบครัวมาจากอาชีพเกษตร 165ครัว 5.รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน 7,000 บาท ต่อเดือน
6.ครัวเรือนมีหนี้สิน170ครัว 7.คนในครัวเรือนส่วนใหญ่รับข้อมูลข่าวสารจาก อสม.มากที่สุด จำนวน 170 ครัว 8. คนในครอบครัวเป็นสมาชิกหรือเข้าร่วมในกลุ่มหรือโครงการต่างๆในชุมชนจำนวน 170 ครัว 9.คนใน ครัวเรือนคุมกำเนิด92ครัว 10.ปีนี้ ในครัวเรือนของท่านมีหญิงคลอด 4คน 11.ในครัวเรือนมีเด็กอายุแรกเกิดถึง 5 ปี จำนวน46 คน
12.ปีที่ผ่านมามีคนในครัวเรือนของท่านเสียชีวิต มี3 คน
13.ในรอบ 6 เดือน มีคนในครอบครัวของท่านเจ็บป่วย จำนวน 32คน 14.ปีที่ผ่านมา สถานพยาบาลใดที่ท่านใช้บริการบ่อยครั้งที่สุด ไป รพสต. 165 ครัว 15.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมา ท่านดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ดื่ม37คน 16.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนดื่มเครื่องดื่มที่มีสารคาเฟอีน ดื่ม 33คน 17.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาท่านและคนในครัวเรือนของท่านดื่มเครื่องดื่มชูกำลัง ดื่ม 8คน 18.ในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมาคนในครัวเรือนของท่านมีผู้สูบบุหรี่ สูบ 34 คน 19.คนในครัวเรือนของท่านรับประทานอาหารสุกๆดิบๆหรือไม่กิน 170 ครัว 20.ในรอบปีที่ผ่านมา ครัวเรือนของท่านใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มี170 ครัว 21. ครัวเรือนท่าน ได้รับความรู้ข่าวสารด้านสุขภาพจากแหล่งใดมากที่สุด จาก อสม. 170 ครัว 22.ครัวเรือนมีคอกหรือกรงสัตว์ในบริเวณบ้านมี40 ครัว 23.ครัวเรือนมีน้ำดื่มเพียงพอ 170 ครัว
24.ครัวเรือนมีถังขยะ 97 ถัง 25.ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ97 ครัว


ข้อมูลสถานกาณ์ชุมชน มิติที่1ด้านเศรษฐกิจท้องถิ่นพบปัญหาเกี่ยวกับ 1. ครัวเรือนมีหนี้สิน 170 ครัวเรือน
2. รายได้ต่ำ / รายจ่ายสูง 170 ครัวเรือน
3. ว่างงาน56 ครัวเรือน
4. ไม่มีที่ดินประกอบอาชีพ 15 ครัวเรือน
5.ไม่มีที่ดินเป้นของตนเอง10 ครัวเรือน
6. ผลผลิตตกต่ำ /ไม่ได้ผล170ครัวเรือน
7. ค่าครองชีพสูง 170 ครัวเรือน

มิติที่ 2 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พบปัญหาเกี่ยวกับ 1.ดินเสื่อมคุณภาพ พบร้อยละ 25 2.ดินเปรี้ยวดินเค็ม พบร้อยละ5 3.น้ำไม่เพียงพอต่อการดำรงชชีวิตและประกอบอาชีพ พบร้อยละ 55 4. ขยะเน่าเสียส่งกลิ่นเหม็นพบร้อยละ 5 5. ที่ทิ้งขยะไม่เพียงพอ พบร้อยละ 24 6.มีการขยะไปทำประโยชน์ ปุ๋ยชีวภาพและพลังงานอื่นๆ พบร้อยละ 66 7.มอเตอร์ไซต์ซิ่งส่งเสียงดังรบกวน พบร้อยละ3 8.ข้างบ้านส่งเสียงดังรบกวน พบร้อยละ2

มิติที่ 3 ด้านศิลปวัฒนธรรม/ประเพณี / สังคม / ครอบครัว / สวัสดิการ / ศาสนาพบปัญหาเกี่ยวกับ 1. เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่ใส่ใจวัฒนธรรม พบร้อยละ12 2. ประชาชนในหมู่บ้าน ไม่ช่วยเหลือกัน ต่างคนต่างอยู่ พบร้อยละ11 3.ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชนเกิดการแตกแยก พบร้อยละ11 4.เด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในหมู่บ้าน/ชุมชน พบร้อยละ 6 5. เด็กถูกทอดทิ้ง พบร้อยละ2 6.ปัญหายาเสพติด พบร้อยละ 4 7.เยาวชนก่อเหตุทะเลาะวิวาท พบร้อยละ9 8.ครอบครัวแตกแยก พบร้อยละ 4 9.ผู้ด้อยโอกาส(ผู้สูงอายุ/ คนพิการ/ผู้ติดเชื้อเอด ไม่มีสวัสดิการช่วยเหลือ) พบร้อยละ 3 10.ศาสนสถานชำรุด ทรุดโทรม ขาดการทะนุบำรุง พบร้อยละ 5 11.ชาวบ้านไม่ค่อยเข้าวัดไม่ค่อยปฏิบัติธรรมทำผิดศีล 5 พบร้อยละ21

มิติที่ 4 ด้านการศึกษา สอบถามเกี่ยวกับ 1.เด็ก/เยาวชนขาดโอกาสเรียนต่อ ไม่มีทุนเรียนต่อ พบร้อยละ2 2.สถานศึกษาอยู่ห่างไกลไม่มี 3.มีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน พบร้อยละ 8

มิติที่5ด้านประชาธิปไตย / การมีส่วนร่วม / ธรรมาภิบาล สอบถามเกี่ยวกับ 1.การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ร้อยละ 82 2.การแสดงความคิดเห็นของชาวบ้าน ชุมชน ในที่ประชุมประชาคม มีน้อย ร้อยละ 81 3.การนำมติในที่ประชุมสู่การปฏิบัติร้อยละ 65

มิติที่ 6ด้านสุขภาพ สอบถามเกี่ยวกับ 1.เจ็บป่วยจากการใช้สารเคมีพบร้อยละ23 2. เจ็บป่วยจากการ ดื่มสุรา สูบบุหรี่ หรือสารเสพติดพบร้อยละ 4 3.เจ็บป่วยด้วยโรคประจำตัว พบร้อยละ21 4.เจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ พบร้อยละ 17

 

200 200

14. สภาผู้นำบ้านยางในลุ่ม ครั้งที่ 4

วันที่ 20 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ประชุมทำความเข้าใจคณะทำงานเพื่อหาแนวทางขับเคลื่อน และติดตามในการทำโครงการ

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

1.คณะทำงานมีการบริหารโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.ชุมชนมีส่วนร่วมในการทำงาน 3.มีภาคีร่วมทำงาน 4 มีแผนงานล่วงหน้า 5คณะทำงานมีแนวทางการบริหารจัดการโครงการและโครงสร้างชัดเจน
6สร้างการมีส่วนของคณะทำงานมากขึ้น 7.มีสภาผู้นำ 1 ชุด

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะกรรมการ 30 คน เข้าร่วมประชุมและให้ความร่วมมือดีมาก
  2. คณะกรรมการมีการเสนอแนวคิดการพัฒนาที่สอดคล้องกับปัญหา
  3. กำหนดให้ทำกิจกรรมเรียนรู้บัญชีครัวเรือนในวันที่27 มกราคม 2559
  4. ได้เห็นภาพวิธีคิดและวิธีการทำงานแบบใหม่ จากเดิม ไม่ค่อยสนใจ แต่ตอนนี้พอมีข้อมูลทุกคนให้ความสนใจมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.คณะกรรมการ15 คน และตัวแทนกลุ่มชุมชน 4 กลุ่ม คัดเลือกมา กลุ่มละ 2 คน รวมเป็น 8 คนตัวแทนจากหน่วยงานราชการในพื้นที่ 2 คน และจิตอาสาร่วมพัฒนาชุมชน 5 คน เข้าร่วมประชุมทุกเดือน โดยนำวาระการดำเนินงานตามโครงการมาพูดคุยในวันประชุม และประเด็นการพัฒนาหมู่บ้าน ตามยุทธศาสตร์ที่กำหนดไว้ มาพูดคุยเดือนละ 1 ครั้ง โดยใช้สถานที่หอประชุมหมู่บ้าน 2.มีการจัดบันทึกวาระการประชุม และนำผลการประชุมมาพูดคุยให้ประชาชนได้รับฟัง เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
3.มีการรายงานผลกิจกรรม และการติดตามความก้าวหน้าโครงการให้สภาชุมชนได้รับทราบ เพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการทบทวน บทเรียนในการพัฒนา และร่วมกันปรับปรุงกิจกรรม

คณะทำงานมีการประชุม เป้าหมาย 30คน เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 10 ครั้ง เพื่อร่วมกันกำหนดแนวทางการทำงาน การรายงานตามกิจกรรม ติดตามความก้าวหน้า รวมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะจากทีมงาน ใช้ศาลาประชุมของหมู่บ้าน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บทเรียนในการพัฒนา มีหัวข้อในการพูดคุยดังนี้ 1) การจัดทำข้อมูลครัวเรือน
2) การจัดทำข้อมูลชุมชน 3) ข้อบัญญัติชุมชน 4) การปรับพฤติกรรมสุขภาพ
5) เกษตรผสมผสานและเกษตรอินทรีย์ 6) วิสาหกิจปุ๋ยชุมชน
7) มหกรรมสุขภาพบ้านยางในลุ่ม 8)สรุปผลการดำเนินงาน 9) ถอดบทเรียนการดำเนินงาน • ในการจัดประชุมจะมีการให้ความรู้และส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายออกกำลังกายตามความเหมาะสม • การจัดประชุมมีการรณรงค์ให้คณะทำงาน ลดบุหรี่ สุรา และวางแผนที่จะ ลด ละ เลิกบุหรี่ สุรา • สถานที่ประชุมมีป้ายห้ามสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นสถานที่ปลอดบุหรี่ แอลกอฮอล์

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เริ่มประชุมประธานโครงการขอสวัสดีคณะทำงาน และขอขอบคุณทุกท่านที่ได้ร่วมกิจกรรมที่ผ่านมาช่วยหากลุ่มเป้าหมายมาร่วมกิจกรรมและต่อไปชี้แจงเรื่องการทำบัญชีครัวเรือน มีการสอนการทำบัญชีครัวเรือน ให้คณะทำงาน เพือทำความเข้าใจในการลงบัญชีครัวเรือน รายรับ-รายจ่าย และกิจกรรมต่อไปคือการเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนแล้วต่อไปใช้กลุ่มเป้าหมาย 200 คน ถ้าใครมีกลุ่มเป้าหมายก็ขอเชิญร่วมการเรียนรู้ บัญชีในครัวเรือนได้ ในครั้งต่อไป จะมีการสอน เรื่องการทำบัญชีครัวเรือน ในวันที่ 27 มกราคม 2559 ขอให้คณะกรรมการ เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกันเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนด้วย เพื่อเป็นการแก้ปัญหาหนี้สินของครัวเรือนและเป็นการลดรายจ่ายในเบื้องต้น เพราะการทำบัญชีครัวเรือน เป็นการรู้ถึงรายรับและรายจ่ายของแต่ละวัน และสามารถ ลดละเลิกในรายจ่ายที่ไม่จำเป็นไม่สมควรได้ด้วย และสามารถเก็บเงินไว้นำไปจ่ายหนี้สินของครัวเรือนได้ ดั้งนั้นขอให้คณะทำงานไปหากลุ่มเป้าหมาย เพื่อมาร่วมกิจกรรมเรียนรู้บัญชีครัวเรือน และอธิบายถึงประโยชน์ของการทำบัญชีครัวเรือนให้เขาฟังและชวนเขามาร่วมกิจกรรมเรียนรู้บัญชีครัวเรือนด้วย ชึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาหนี้สินในครัวเรือนเบื้องต้น จากการประหยัดรายจ่าย เพราะเมื่อรู้รายจ่าย อะไรสมควรจ่ายอะไรไม่สมควรจ่าย เกิดการประหยัดเกิดการออมในครัวเรือนได้อีกวิธีหนึ่งเช่นกัน และหวังว่าคงได้รับความร่วมมือจากคณะทำงานเป็นอย่างดี เพื่อเป็นการแก้ปัญหาหนี้สินของชุมชน อยากเห็นชุมชนปลอดหนี้สิน ขอให้คณะทำงานช่วยหากลุ่มเป้าหมายมาร่วมกิจกรรมให้ด้วยขอขอบคุณมาก

 

30 30

15. เรียนรู้บัญชีครัวเรีอน

วันที่ 27 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

ครัวเรือนได้รู้รายรับรายจ่าย รู้หนี้สิน รู้ราย จ่ายที่ฟุ่มเฟือย รายจ่ายที่ไม่สมควรจ่าย

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. สมาชิกกลุ่มเป้าหมายให้ความสนใจครบ 200 คน
  2. ได้เรียนรู้การทำบัญชีได้รู้รายรับรายจ่ายรู้จักการจดบันทึกในแต่ละวัน -เดือน-ปีผู้จดบันทึกก็จะสามารถรู้ความเป็นไปในครัวเรือนเป็นรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือน
  3. ชาวบ้านให้ความร่วมมือดีมาก
  4. ชาวบ้านเข้าใจและนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  5. ชาวบ้านดีใจที่แก้ไขรายจ่ายฟุ่มเฟือยได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

1.เชิญ คณะทำงานประสานงานร่วมกับ อสม. เยาวชน อบต.และผู้นำเป็นที่ปรึกษาจัดหาวิทยากรมาให้ความรู้กับครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมและฝึกทำบัญชีครัวเรือนได้เป็นอย่างดีและเข้าใจทุกครัวเรือนเช่น -รายรับ -รายจ่าย -หนี้สิน 2.มีการติดตามการทำบัญชีครัวเรือน ทุกเดือน โดยให้มาเล่าถึงวิธีการทำบัญชีครัวเรือนและสิ่งทีเ่กิดขึ้น และวิธีการปรับลด วิธีเพิ่มรายได้

กิจกรรมที่ทำจริง

วันนี้เป็นกิจกรรมเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือนที่ ศาลาหมู่บ้านบ้านยางในลุ่ม โดยนัดพบสมาชิกกันในเวลา 08.30 น. โดยนางสุภาพรศรีเพิ่ม ประธานโครงการและวิทยากรในเรื่องของการทำบัญชีครัวเรือน ได้กล่าวสวัสดีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเรียนรู้บัญชีครัวเรือน โดยมีวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อจะได้รู้รายรับได้รู้รายจ่ายของแต่ละวัน ว่าวันนี้เรามีรายได้เท่าไหร่ และมีรายจ่ายเท่าไหร่ และได้รู้ว่ารายจ่ายอะไรที่ไม่จำเป็นไม่สมควรจ่ายก็ครั้งต่อไปก็ไม่ต้องจ่าย ทำความเข้าใจเรื่องการทำบัญชีรายรับรายจ่ายการจดบันทึกข้อมูลรายรับรายจ่ายประจำวันด้านอาหารของใช้ในบ้านแต่ละครัวเรือนข้าวสารพืชผักโดยออกแบบอย่างภูปัญญาทางบัญชีสร้างวิถีสู่อนาคต 8 ขั้นตอน 1. สมัครใจเข้าร่วมโครงการเพื่อฝึกอบรมการทำบัญชี 2. ตั้งใจเรียนรู้การทำบัญชี 3. ต้องลงมือทำบัญชีทุกวันที่มีการรับ-การจ่ายเงิน 4. รู้รายรับได้เงินมาจากไหน เท่าไร 5. รู้รายจ่าย ใช้จ่ายเป็นค่าอะไรบ้าง เท่าไร ลดรายจ่าย ลดค่าจ่ายฟุ่มเฟือย 6. รู้ต้นทุน กำไร(ขาดทุน) ลงทุนเท่าไร ขายได้เท่าไร มีกำไรหรือไม่ 7. รู้หนี้สิน วางแผนชำระหนี้ให้ทันตามกำหนด 8. รู้จักการออม รู้จักประหยัด ทำให้เกิดการออม ดังนั้นการทำบัญชีครัวเรือนก็มีประโยชน์มากเลยให้ทุกคนได้ทำบัญชีครัวเรือน เพื่อจะได้รู้รายจ่ายว่าแต่ละวันนั้นจ่ายอะไรไปบ้าง ว่าสมควรจ่ายไม่ถ้าไม่สมควรจ่ายต่อไปก็ไม่ต้องจ่าย จะได้เก็บเงินไว้จ่ายเฉพาะสิ่งที่จำเป็น และค่าใช้จ่ายอะไรมากก็ได้รู้แล้วเราจะลดให้น้อยลงได้หรือไม่ หรือจ่ายให้น้อยลง คือลดในสิ่งที่ไม่จำเป็น เช่นค่าหวย ค่าเหล้า ค่าบุหรี่ ตัวไหนลดได้ก็ลด ตัวไหนเลิกได้ก็เลิก ดังนั้นการทำบัญชีครัวเรือนก็เป็นเครื่องมือในการลดค่าใช้จ่ายตัวหนึ่เหมือนกัน และหวังว่าคงมีเงินออมมากขึ้นในครัวเรือนแน่นอน และใครเป็นหนี้ก็สามารถนำเงินออมไปใช้หนี้ได้ ก็สามารถลดปัญหาหนี้สินในครัวเรือนได้ด้วย จึงเห็นว่าการทำบัญชีครัวเรือนมีประโยชน์มากกับครอบครัว

 

200 200

16. การประชุมร่วมกับ สสส. สจรส.ม.อ. และพี่เลี้ยงผู้ติดตาม

วันที่ 30 มกราคม 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อตรวจสอบเอกสารงวดแรก ทั้งรายงานและเอกสารการเงิน

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • มีผู้เข้าร่วมโครงากร 2 คน
  • ได้ตรวจความพร้อมของเอกสารได้เข้าใจในการสรุปปิดงวดโครงการฯ
  • ได้เข้าใจการลงบันทึกบัญชี ได้วิธีการบันทึกข้อมูลออนไลน์
  • ได้ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารด้านการเงิน และมีความเข้าใจในด้านการเงินมากขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

เพื่อความถูกต้องของการบันทึกข้อมูลในคอมพิวเตอร์ และเอกสารรายงานและเอกสารการเงิน

กิจกรรมที่ทำจริง

วาระที่ 1.เมื่อถึงเวลาพี่เลี้ยงของโครงการได้เริ่มประชุม โดยนายยงยุทธ์ สุขพิทักษ์พี่เลี้ยงโครงการ ให้แต่ละโครงการได้นำเอกสารการทำโครงการมาตรวจสอบ ความถูกต้อง และแก้ไขให้ถูกต้องตามคำแนะนำของพี่เลี้ยงโครงการ และได้มีการพิมพ์รายงานลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องครบถ้วน ของใครที่ไม่สมบูรณ์ก็ทำให้เสร็จ และทำการตรวจการเงินให้เอกสารครบถ้วน เพื่อให้ถูกต้องทั้งแบบการเงินและภาษีที่ต้องชำระด้วย เพราะเป็นเอกสารที่ต้องจัดทำเพิ่มขึ้นมาอีก เพราะยังไม่ได้ชำระภาษี โดยพี่เลี้ยงทำการตรวจเอกสารในรอบแรก ของโครงการที่ยังไม่ถูกต้องก็ให้แก้ไขทำให้ถูก เพื่อความรวดเร็วและไม่เสียเวลาในวันปิดงวดแรก และโครงการไหนที่ยังขาดเอกสารในการทำกิจกรรม ก็ให้จัดทำให้ครบ แล้วนำมาในวันปิดงวดแรกด้วย โดยเอกสารที่ใช้ประกอบส่วนใหญ่เป็นแบบฟอร์มที่จัดเตรียมให้แล้วในวันปฐมนิเทศโครงการ ให้ใช้แบบฟอร์มเป็นหลักในการทำเอกสารของกิจกรรมต่างๆ ทุกกิจกรรมต้องมีเอกสารประกอบ เพื่อความถูกต้องในการตรวจเอกสาร ของการปิดงวดแรก และแบบฟอร์มที่ประกอบกิจกรรมก็ต้องกรอกให้ข้อมูลครบถ้วนด้วย ถ้าไม่มีข้อมูลก็เขียนคำว่าไม่มีลงไปในช่องด้วย ไม่เว้นว่างไว้คือต้องกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อความถูกต้องของแต่ละกิจกรรม และทุกโครงการต้องผ่านการตรวจของพี่ก่อนในวันนี้ ถ้าโครงการไหนถูกต้องหมดแล้วก็กลับบ้านได้ แต่ถ้ายังไม่ถูกต้องก็แก้ไขให้ถูกต้องแล้วนำมาตรวจอีกครั้งเมื่อเสร็จแล้ว

 

2 2

17. ปิดงวดรายงานกับพี่เลี้ยงพื้นที่

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2559 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

เพื่อปิดรายงานงวด

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. กลุ่มเป้าหมาย 2 คน ได้เรียนรู้วิธีการตรวจสอบความถูกต้องเอกสารทางการเงิน
  2. เรียนรู้การเขียนเอกสารให้มึความสัมพันธ์
  3. เรียนรู้วิธีการปิดรายงานให้เร็วและถูกต้อง
  4. เบิกเงินค่าเปิดบัญชีคืนให้กับผู้รับผิดชอบโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

ตัวแทนโครงการนำเอกสารให้พี่เลี้ยงตรวจ การทำรายงานงวด รายงาน ส.1

กิจกรรมที่ทำจริง

วันนี้ตัวแทนโครงการ 2 คน เดินทางไปพบพี่เลี้ยงโครงการเพื่อเรียนรู้วิธีการปิดโครงการ งวดที่ 1 โดยนำเอกสารไปให้พี่เลี้ยงตรวจสอบความถูกต้อง พบว่า

  1. เอกสารทางการเงิน ยังไม่ถูกต้อง รายชื่อยังไม่ครบ ลายมือชื่อไม่ครบ
  2. ยังขาดเอกสารการเบิกจ่ายในกิจกรรมที่พบพี่เลี้ยง 3 ครั้ง
  3. การบันทึกกิจกรรม ให้ปรับแต่งรูปภาพ

 

2 2

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 42 17                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 210,000.00 88,749.00                  
คุณภาพกิจกรรม 68 68                  

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

ปัญหาจากสภาพอากาศ ที่มีหมอกควัน ส่งผลต่อการผลิตน้ำผึ้ง ทำให้ผึ้งร้างรัง

การเกิดหมอกควันจากอินโดนีเซีย ส่งผลต่อผึ้งโดยตรง ไม่สามารถออกหาอาหารได้ ทำให้ผึ้งตาย และบางตัวก็ร้างรัง หนี้ไปอยู่ที่อื่น เพราะผึ้งมองไม่เห็น ไม่สามารถหาอาหารได้

ปรับสภาพรังที่ทำใหม่ ให้หันไปหาแสง เพื่อไม่ให้มืด ผึ้งจะมองเห็น

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. สภาผู้นำบ้านยางในลุ่ม ครังที่ 5 ( 22 ก.พ. 2559 )
  2. สร้างภูมิปัญญาปลดหนี้ ครั้งที่ 1 ( 25 ก.พ. 2559 )
  3. สร้างภูมิปัญญาปลดหนี้ ครั้งที่ 2 ( 10 มี.ค. 2559 )
  4. สภาผู้นำบ้านยางในลุ่ม ครั้งที่ 6 ( 21 มี.ค. 2559 )
  5. เรียนรู้การรายงานโครงการจากพี่เลี้ยงเพิ่มเติม ( 26 มี.ค. 2559 )
  6. เรียนรุู้การทำผึ่งโพรง ครั้งที่ 1 ( 28 มี.ค. 2559 )
  7. เรียนรุู้การทำผึ่งโพรง ครั้งที่ 2 ( 29 มี.ค. 2559 )
  8. เรียนรุู้การทำผึ่งโพรง ครั้งที่ 3 ( 30 มี.ค. 2559 )
  9. สภาผู้นำบ้านยางในลุ่ม ครั้งที่ 7 ( 18 เม.ย. 2559 )
  10. เรียนรู้เกษตรผสมผสานและทำศูนย์เรียนรุู้ ครั้งที่ 1 ( 26 เม.ย. 2559 )
  11. เรียนรู้เกษตรผสมผสานและทำศูนย์เรียนรุู้ ครั้งที่ 2 ( 27 เม.ย. 2559 )
  12. สภาผู้นำบ้านยางในลุ่ม ครั้งที่ 8 ( 18 ก.ค. 2559 )
  13. พัฒนากลุ่มเลี้ยงผึ้งโพรง ครั้งที่ 1 ( 22 ก.ค. 2559 )
  14. ถอดบทเรียน ( 10 ส.ค. 2559 )
  15. สภาผู้นำบ้านยางในลุ่ม ครั้งที่ 9 ( 15 ส.ค. 2559 )

(................................)
นาง สุภาพร ศรีเพิ่ม
ผู้รับผิดชอบโครงการ