directions_run

ส่งเสริมต้นแบบการเลี้ยงปลาดุกปลอดภัยชุมชนหานโพธิ์

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้เกิดกลไกการบริหารจัดการการผลิตอาหารโปรตีนที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : -เกิดกลุ่มคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน -เกิดแผนการดำเนินงาน -เกิดการประชุมฟังผลทุก 1 เดือน -มีกติกาในการเลี้ยงปลาดุกที่ปลอดภัย
0.00

 

 

 

2 เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้วิธีการผลิตอาหารโปรตีนที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : สมาชิกผู้เลี้ยงปลามีความรู้ มีการวางแผนงานและสามารถผลิตอาหารเลี้ยงปลาดุกที่ปลอดภัย - เกิดสูตรอาหารใหม่ๆ เพื่อลดสัดส่วนอาหารกระสอบ - มีการผลิตอาหารปลาดุกลดต้นทุนได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ50 -มีสมาชิกกลุ่มเลี้ยงปลาดุกต่อเนื่องอย่างน้อย 10 ราย
0.00

 

 

 

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการผลิตอาหารโปรตีนที่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : -มีการติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเยี่ยมเยียนบ่อเลี้ยงปลาทุก 1 เดือน - เกิดศูนย์เรียนรู้การเลี้ยงปลาดุกปลอดภัยอย่างน้อย 2 แห่ง - เกิดการปลูกพืชอาหารที่สอดคล้องกับสูตรอาหารปลาดุกปลอดภัยเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 10 ครัวเรือน
0.00

 

 

 

4 เพื่อให้เกิดต้นแบบการเลี้ยงปลาดุกปลอดภัย
ตัวชี้วัด : -สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการการเลี้ยงปลาดุกปลอดภัยผ่านเกณฑ์Safety Level(SL)ร้อยละ 80 -อัตราการรอดของปลาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
0.00