directions_run

โครงการจัดการเรียนรู้ของชุมชนเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลหนองบ่อ

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากลไกการทำงานและสร้างสิ่งแวดล้อมในชุมชนที่เอื้อต่อพฤติกรรมสุขภาพที่ดีเตรียมรองรับสังคมสูงวัย   ผลการดำเนินงานที่สำคัญ มีการประชุมคณะทำงานสมำ่เสมอทุกเดือน(10ครั้ง)มีข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านสภาพแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ) จำนวน 200 คน ของสมาชิกเข้าร่วมโครงการ นำข้อมูลมาวิเคราะห์ เพื่อกำหนดกิจกรรมการดำเนินงาน 4 มิติ พบว่า มิติด้านสุขภาพองค์กรในชุมชนเข้าร่วมการจัดสภาพแวดล้อมส่งเสริมสุขภาพที่ดี ร้อย 88.2(33 ร้าน) กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเบาหวานลดลง(33ราย)ร้อยละ52 ป่วยเป็นโรคเรื้อรังรายใหม่ลดลง เบาหวาน (2 ราย) ร้อยละ7.1 ความดันโลหิตสูง(3ราย) ร้อยละ 8.3 บุคคลต้นแบบเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ด้าน สุขภาพ 1คน มิติด้านสังคม สมาชิกชมรมมีการออมเพิ่มขึ้น(138คน)ร้อยละ 71.8 นอกจากนี้ ยังการสื่อสารสาธารณะ เช่น กิจกรรมรณรงค์จัดสิ่งแวดล้อมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงวัย เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานพร้อมมอบเกียรติบัตรให้บุคคลต้นแบบและผู้เกี่ยวข้อง   ข้อเสนอแนะ จำนวนสมาชิกเข้าร่วมโครงการควรเพิ่มจำนวนมากขึ้น เน้นกลุ่มอายุ40-59 ปี ประชากร 3 หมู่บ้าน( จำนวน 433 คน)และผู้สูงอายุ60 ปี (576คน)และสิ่งที่ดำเนินการต่อไป คือ การขยาย พื้นที่ ครอบคลุม 6 หมู่บ้าน และเพิ่มจำนวนผู้เข้าร่วมเพิ่มมากขึ้น มิติด้านสภาพแวดล้อม เรื่องปรับสภาพแวดล้อมของบ้านในชุมชน และมิติ ด้านเศรษฐกิจ การออมกับสถาบันการเงิน เช่นธกศ ออมต้นไม้ ปี2565 ทางรพสตและอบตหนองบ่อ เข้าร่วมกองทุนระบบดูแลผู้ป่วยสูงอายุและผู้มีภาวะพึ่งพิง(LTC)เป็นการจัดบริการระบบสุขภาพให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน และจัดกิจกรรมในการลดโรคเรื้อรังและควบคุมภาวะแทรกซ้อนให้น้อยลง

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

การประชุมในห้องประชุม

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ