directions_run

โครงการจัดการเรียนรู้ของชุมชนเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลหนองบ่อ

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานเดือนละ 1 ครั้ง รวม 10 ครั้ง 30 ก.ค. 2563

 

 

 

 

 

ประชุมปฐมนิเทศโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 30 ก.ค. 2563 3 ส.ค. 2563

 

คณะทำงานเข้าร่วมประชุมปฐมนิเทศการดำเนินโครงการ

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ และที่ปรึกษาโครงการระดับพื้นที่เข้าร่วมรับฟังการปฐมนิเทศการดำเนินโครงกาน

 

กิจกรรมส่งเสริมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 1 ส.ค. 2563

 

 

 

 

 

ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์งวดที่ 1(เดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม) 29 พ.ย. 2563 3 ส.ค. 2563

 

ค่าบริการอินเตอร์เน็ต เหมาจ่ายรายเดือน

 

เพื่อใช้ติดต่อประสานงานของคณะทำงาน ใช้ค้นหาข้อมูล การเตรียมสังคมสูงวัย 4 ด้าน และใช้ในการจัดส่งรายงานผ่านระบบอินเตอร์เน็ต

 

ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม 4 ธ.ค. 2563 4 ธ.ค. 2563

 

สั่งทำไวนิลบันไดผลลัพท์ และป้ายเขตปลอดบุหรี่

 

ไวนิลบันไดผลลัพท์ ขนาด 1.20 ม.X200 ม. เพื่อใช้ทบทวนกิจกรรมที่ดำเนินการในวันประชุมคณะทำงาน แผ่นพลาสติกเขตปลอดบุหรี่

 

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจาการดำเนินงานครั้งที่ 1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 16 ธ.ค. 2563 16 ธ.ค. 2563

 

ร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับอีก 11 ชุมชน ณ ห้องประชุมวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชลนีตรัง

 

คณะทำงานเตรียมสังคมสูงวัยเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จำนวน 3 คน สิ่งที่ได้จากเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้คือ 1. การประเมินความรู้คณะทำงานเกี่ยวกับการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 ด้าน เพื่อหาส่วนขาดและจะไดเสริมความรู้ให้ 2. การสื่อสารความรู้การเตรียมสังคมสูงวัย 4 ด้านแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ คณะทำงานจะต้องเข้าใจประเด็นในการดำเนินงานในพื้นที่ตรงกันก่อนลงทำความเข้าใจกับประชาชน

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงาน ส.1 และ ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org 12 ก.พ. 2564 12 ก.พ. 2564

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำรายงานแก่คณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

คณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอน วิธีการดำเนินงานตามระบบทำรายงาน ส.1 และ ง.1 ผ่านระบบ www.happynetwork.org

 

กิจกรรมย่อยที่ 2 สำรวจเก็บข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (4 ด้าน ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านสภาพแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ) 1 เม.ย. 2564

 

 

 

 

 

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจาการดำเนินงานครั้งที่ 2 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 8 เม.ย. 2564 8 เม.ย. 2564

 

1.ทำหนังสือเชิญคณะทำงานประชุม 2.สรุปรายละเอียดผลการดำเนินงานที่ผ่านมาเพิ่อนำเสนอข้อมูลในวันประชุม

 

คณะทำงานเข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน 1. คณะทำงานได้ฟังสรุปผลการดำเนินงานดังนี้   1.1 มีผู้เข้าร่วมโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องจำนวน 200 คน   1.2 มีบุคคลต้นแบบในการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยจำนวน 2 คน และ 1 องค์กร   1.3 ร้านค้าเข้าร่วมปรับสภาพแวดล้อมที่ส่งผลให้สุขภาพดีจำนวน 51 ร้าน   1.4 สมาชิกเข้าร่วมโครงการมีการออมด้วยเงิน ออมต้นไม้เพิ่มขึ้นจำนวน 142 คน 2. คณะทำงานประชุมวางแผนการดำเนินงาน ดังนี้   2.1 การติดตามร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการ
  2.2 ติดต่อประสานสวนพฤกษศาสตร์ ตรัง เพื่อนำต้นไม้มาแจกสมาชิก
  2.3 จัดทำสกู๊ปบุคคลต้นแบบ เพื่อประชาสัมพันธ์ทางสือออนไลน์ เป็นแหล่งเรียนรู้

 

ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 2 (เดือนพฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม) 29 เม.ย. 2564 29 เม.ย. 2564

 

1.สำรวจเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่ให้บริการในชุมชน
2.ติดต่อร้านค้าตัวแทนขายสัญญาณอินเตอร์เน็ตในชุมชน 3.จัดซื้อสัญญาณอินเตอร์เน็ตเพื่อใช้ในการดำเนินงาน

 

1.จัดทำกลุ่มไลน์คณะทำงานเพื่อใช้ติดต่อประสารงานในเรื่องต่างๆ 2.ค้นหาความรู้การเตรียมสังคมสูงวัย 4 ด้าน จากอินเตอร์เน็ต 3.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานเตรียมสังคมสูงวัยด้านสุขภาพ และด้านเศรษฐกิจ ในหัวข้อ เตรียมสูงวัยไอดอลของชุมชนหนองบ่อ ผ่านสื่อ Facebook และYoutobe  เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของประชาชนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนอื่นๆ

 

ค่าจัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการ 16 ก.ค. 2564 16 ก.ค. 2564

 

จัดชุดนิทรรศการสรุปผลการดำเนินงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มุ่นเน้นด้านสุขภาพ และด้านเศรษฐกิจ นัดกลุ่มแกนนำและประชาชนสนใจร่วมชมนิทัศการ

 

บุคคลต้นแบบด้านเศรษฐกิจ นายอำนวย  นวลแก้ว
บุคคลต้นแบบดานสุขภาพ นางมะลิ  โสธารัตน์ ชุมชนต้นแบบการออม กลุ่มออมทรัพย์หมู่ที่ 4 บ้านปากคลอง ชุมชนต้นแบบด้านการปรับสภาพแวดล้อมลด หวาน มัน เค็ม (ร้านค้าติดดาว ลด หวาน มัน เค็ม ) จำนวน 30 ร้าน

 

ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (เบิกจ่ายตามจริง และเมื่อเหลือจะต้องคืนให้กับ สสส. เมื่อสิ้นสุดโครงการ) 10 ต.ค. 2564 16 ต.ค. 2563

 

ถ่ายเอกสารแบบสำรวจข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการเตรียมสังคมสูงวัย

 

แบบสำรวจข้อมูลเตรียมสังคมสูงวัย จำนวน 200 ชุด

 

ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ งวด 3 (เดือนกรกฎาคม สิงหาคม) 10 ต.ค. 2564 10 ต.ค. 2564

 

คณะทำงานแต่งตั้งผู้รับผิดชอบดำเนินการเติมเงินเข้าระบบสมาร์ทโพนเพื่อใช้ค้นหาข้อมูลและติดต่อประสานงาน

 

คณะทำงานจัดตั้งไลน์กลุ่มเพื่อใช้ติดต่อผ่านสมาร์ทโพน และใช้Internet ค้นหาข้อมูลเพื่อใช้ดำเนินงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 ด้าน

 

บัญชีธนาคาร 10 ต.ค. 2564

 

 

 

 

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.1 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 10 ส.ค. 2563 10 ส.ค. 2563

 

ประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย จำนวน 15 คน เพื่อชี้แจงรายละเอียดที่จะดำเนินการ

 

1.กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการจำนวน 200 คน ครอบคลุม 3 หมู่บ้าน กำหนดคุณสมบัติผู้ที่จะเข้าร่วมโครงการ 2.ชี้แจงขอบเขตการดำเนินงาน 4 ด้านแก่คณะทำงาน ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านจัดการสิ่งแวดล้อม
จากการประชุม คณะทำงานรับทราบขอบเขตการดำเนินงานร่วมกัน กำหนดกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมโครงการคือ ประชากรอายุ 40-59 ปี จำนวน 160 คน ประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปจำนวน 40 คน

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.2 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 9 ก.ย. 2563 9 ก.ย. 2563

 

ประชุมคณะทำงาน

 

พี่เลี้ยงเข้าร่วมประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเพื่อเสริมพลังและให้คำแนะนำในการดำเนินการ ซักถามความเข้าใจของคณะทำงานในประเด็นการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 ด้าน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามแผนที่ว่างไว้

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.3 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 9 ต.ค. 2563 9 ต.ค. 2563

 

ประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

ชี้แจงรายละเอียดแบบสำรวจผู้ที่สมัครเข้าร่วมโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยแก่คณะทำงาน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มอายุ 40-59 ปี จำนวน 160 คน และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 40 คน

 

กิจกรรมย่อยที่ 2.1 สำรวจเก็บข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (4 ด้าน ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านสภาพแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ) ครั้งที่ 1 19 ต.ค. 2563 19 ต.ค. 2563

 

1.ชี้แจงแบบสำรวจข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ
2.คณะทำงานนำแบบสำรวจออกสำรวจข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ 3.เก็บรวบรวมและสรุปผลข้อมูล

 

ผูู้เข้าร่วมโครงการเป็นเพศหญิง 184 คน คิดเป็นร้อยละ 92.0 อายุ 40-45 ปี จำนวน 52 คน อรยุ 46-50 ปี จำนวน 41 คน อายุ 51-55 ปี จำนวน 32 คน อายุ 56-60 ปี จำนวน 35 คน อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 40 คน รวม 200 คน

 

กิจกรรมย่อยที่ 2.3 สำรวจเก็บข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (4 ด้าน ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านสภาพแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ) ครั้งที่ 2 20 ต.ค. 2563 21 ต.ค. 2563

 

1.ชี้แจงแบบสำรวจข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ
2.คณะทำงานนำแบบสำรวจออกสำรวจข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ 3.เก็บรวบรวมและสรุปผลข้อมูล

 

ผูู้เข้าร่วมโครงการเป็นเพศหญิง 184 คน คิดเป็นร้อยละ 92.0 อายุ 40-45 ปี จำนวน 52 คน อรยุ 46-50 ปี จำนวน 41 คน อายุ 51-55 ปี จำนวน 32 คน อายุ 56-60 ปี จำนวน 35 คน อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 40 คน รวม 200 คน

 

กิจกรรมย่อยที่ 2.2 สำรวจเก็บข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (4 ด้าน ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านสภาพแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ) ครั้งที่ 3 21 ต.ค. 2563 20 ต.ค. 2563

 

1.ชี้แจงแบบสำรวจข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ
2.คณะทำงานนำแบบสำรวจออกสำรวจข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ 3.เก็บรวบรวมและสรุปผลข้อมูล

 

ผูู้เข้าร่วมโครงการเป็นเพศหญิง 184 คน คิดเป็นร้อยละ 92.0 อายุ 40-45 ปี จำนวน 52 คน อรยุ 46-50 ปี จำนวน 41 คน อายุ 51-55 ปี จำนวน 32 คน อายุ 56-60 ปี จำนวน 35 คน อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 40 คน รวม 200 คน

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.4 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 9 พ.ย. 2563 9 พ.ย. 2563

 

1.เชิญคณะทำงานเข้าร่วมประชุม 2.ประชุมคณะทำงาน 2.1ให้ความรู้เรื่องการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 ด้าน 2.2กำหนดวันออกให้ความรู้การเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 ด้านและตรวจสุขภาพแก่ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ

 

ประเมินความรู้การเตรียมสังคมสูงวัย 4 ด้าน ของคณะทำงานพบว่ามีความรู้เพิ่มขึ้นผ่านเกณฑ์ร้อยละ 82.0 ผู้เข้าร่วมโครงการเตรียมสังคมสูงวัยได้ความรู้การเตรียมสังคมสูงวัยและได้รับการตรวจสุขภาพวัดความดัน วัดรอบเอว และตรวจน้ำตาลครอบคลุมร้อยละ 100 (จำนวน 200  คน)

 

กิจกรรมที่ 3 การอมรมให้ความรู้การเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตรวจคัดกรองสุขภาพสมาชิก 10 พ.ย. 2563 10 พ.ย. 2563

 

อบรมเรื่องการเตรียมสังคมสูงวัย 4 ด้านแก่คณะทำงาน และชี้แจงขั้นตอนการตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ นัดหมายออกตรวจสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ

 

1.อบรมความรู้การเตรียมสังคมสูงวัย 4 ด้านคณะทำงาน จำนวน 15 คน 2.ออกออกตรวจสุขภาพแก่ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ (วัดความดันโลหิต,เจาะน้ำตาล,วัดรอบเอว จำนวน 200 คน 3.เก็บรวบรวมข้อมูล

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.5 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 9 ธ.ค. 2563 9 ธ.ค. 2563

 

ประชุมคณะทำงาน จำนวน 15 คน เพื่อติดตามการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์

 

1.มีการทบทวนบันไดผลลัพธ์ สรุปผลการดำเนินงานการตรวจสภานะสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ พบเสี่ยงเบาหวาน 38 คน เสี่ยงความดันโลหิตสูง 45 คน เสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง 11 คน ป่วยเป็นเบาหวาน 4 คน ป่วยเป้ฯความดันโลหิตสูง 9 คน ปวยเป็นเบาหวานและความดันโลหิตสูง 5 คน สุขภาพดี 88 คน รวมทั้งหมด 200 คน
2. มีการสรุปแบบสอบถามที่ได้กลับ มีการตรวจสอบความครบถ้วนของการตอบแบบสอบถาม และนำแบบสอบถามส่งไปเวคราะห์ทางสถิติต่อไป

 

กิจกรรมที่ 2 สำรวจวิเคราะห์ข้อมูลการเตรียมรองรับสัมคมสูงวัย 4 ด้านของผู้เข้าร่วมโครงการ 1 ม.ค. 2564 1 ม.ค. 2564

 

ผลการวิเคราะหืข้อมูลจากการสำรวจผู้เข้าร่วมโครงการ

 

ผลวิเคราะห์ข้อมูล ผู้เข้าร่วมโครงการอายุ 40ปี-59 ปี จำนวน 160 คน ผู้เข้าร่วมโครงการอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน  40 คน พบเป็นผู้หญิงมากกว่าคิดเป็นร้อยละ 75 ผู่้ชายร้อยละ 25 ประชาชนมีหนี้คิดเป็นร้อยละ 55.2
ป่วยเป็นโรคเรื้อรังคิดเป็นร้อยละ 52.7

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.6 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 11 ม.ค. 2564 11 ม.ค. 2564

 

ประชุมคณะทำงาน

 

สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และการดำเนินกิจกรรมในเดือน ม.ค. 2564 ให้เป็นไปตามแผนที่วางไว้

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.7 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 9 ก.พ. 2564 9 ก.พ. 2564

 

ประชุมคณะทำงานจำนวน 15 คน

 

ชี้แจงกิจกรรมที่จะดำเนินการในเดือนกุมภาพันธ์ ดังนี้ 1.กำหนดวันสำรวจบุคคลต้นแบบ 4 ด้าน โดยเน้นด้านสุขภาพและเศรษฐกิจ ก่อน 2.ทำความเข้าใจเกณฑ์การคัดเลือกบุคคลต้นแบบ องค์กรต้นแบบ
3. กำหนดเป้าหมายบุคคลต้นแบบ องค์กรต้นแบบ และบุคคลต้นแบบ องค์กรต้นแบบ ไอดอลเพื่อทำสกู๊ปประชาสัมพันธ์ในสื่อออนไลน์

 

กิจกรรมที่ 4 ทำทะเบียนและพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้รองรับสังคมสูงวัย 4 ด้าน 11 ก.พ. 2564 11 ก.พ. 2564

 

สำรวจบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบในชุมชนเพื่อทำเป็นแหล่งเรียนรู้การเตรียมสังคมสูงวัย 4 ด้าน (เน้นด้านสุขภาพและด้านเศรษฐกิจ) มีลำดับการดำเนินงานดังนี้ 1.คณะทำงานชี้แจ้งเกณฑ์การคัดเลือกบุคคลต้นแบบและองค์กรต้นแบบในชุมชนแก่แกนนำเตรียมสังคมสูงวัย 2.แกนนำคัดเลือกบุคคลต้นแบบ องค์กรต้นแบบในเขตที่ต้นเองรับผิดชอบ เสนอชื่อที่คัดเลือกต่อคณะทำงาน 3.คณะทำงานคัดเลือกบุคคล องค์กรต้นแบบทั้ง 4 ด้าน โดยเน้นด้านสุขภาพ และเศรษฐกิจก่อน 4.นัดประชุมบุคคลต้นแบบ องค์กรต้นแบบ เพื่อให้ความรู้การเตรียมตัวรองรับสังคมสูงวัยครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน และเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้การเตรียมตัวเข้าสังคมสูงวัยแก่ผู้สนใจ 5.ประชาสัมพันธ์บุคคลต้นแบบในชุมชนในการประชุมระดับหมู่บ้าน  ระดับตำบล เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้

 

มีบุคคลต้นแบบที่ได้รับการคัดเลือกจำนวน 30 คน บุคคลได้รับคัดเลือกเป้นบุคคลเตรียมตัวสูงวัยไอดอล จำนวน 2 คน องค์กรต้นแบบเตรียมสูงวัยไอดอล จำนวน 1 กลุ่ม

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.8 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 9 มี.ค. 2564 9 มี.ค. 2564

 

ประชุมคณะทำงานวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมเดือนมีนาคม 2564

 

1.กำหนดวัดจัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ และบุคคลต้นแบบ องค์กรต้นแบบ 2.แกนนำเตรียมรองรับสังคมสูงวัยร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การออมกับเจ้าหน้าที่ธนาคาร ธกส.สาขาย่านตาขาวและขยายผลส่งเสริมการออมในชุมชนโดยนัดเจ้าหน้าที่ธนาคาร ธกส.ลงพื้นที่เพื่อเปิดบัญชีเงินก่อนแก่ประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน 3.องค์กรต้นแบบการออม กลุ่มออมทรัพย์หมู่ที่ 4 เปิดเป็นแหล่งเรียนรู้การออมแก่หมู่บ้านใกล้เคียง

 

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมส่งเสริมการออมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 12 มี.ค. 2564 12 มี.ค. 2564

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านศรษฐกิจ โดยเน้นการออมในชุมชน โดยบุคคลต้นแบบ องค์กรต้นแบบ และธนาคาร

 

1.กลุ่มเป้าหมายอายุ 40 ปีขึ้่นไปเปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคาร ธกส. จำนวน 22 คน 2.บุคคลต้นแบบด้านการออม การดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพิ่มรายได้ลดรายจ่าย มีผู้สนใจจำนวน 28 คน 3.กลุ่มออมทรัพย์หมู่ที่ 4 เปิดให้เป็นแหล่งเรียนรู้การบริหารองค์กรจนประสบผลสำเร็จแก่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 เพื่อนำมาปรับใช่้

 

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าจาการดำเนินงานครั้งที่ 1 ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 26 มี.ค. 2564 19 ก.พ. 2564

 

1.ประสานคณะทำงานร่วมประชุม 2.จัดประชุมตามวาระที่กำหนดไว้ 3.สรุปผลและกำหนดวันประชุมครั้งต่อไป

 

1.คณะทำงานทบทวบกิจกรรมที่ดำเนินการไปแล้ว 1.1 ผู้เข้าสมัครเข้าร่วมโครงและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่องจำนวน 200 คน 1.2 ร้านค้าเข้าร่วมปรับสภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพจำนวน 51 ร้าน 1.3 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู่้เตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 ด้าน 164 คน 2. สิ่งที่จำดำเนินการต่อ 2.1 ออกรณรงค์จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี ตลาดนัด 2 แห่ง ร้านชำ ร้านน้ำชา ร้านอาหารตามสัง ร้านข้าวแกง
2.2 เตรียมต้นไม้สำหรับแจกสมาชิกที่สมัครใจออมด้วยต้นไม้
2.3 จัดทำสกู๊ปบุคคล องค์กรต้นแบบ เผยแพร่ทางสื่อออนไลน์

 

กิจกรรมที่ 8 การสื่อสารสาธารณะ 8 เม.ย. 2564 30 เม.ย. 2564

 

จัดทำคลิปวีดีโอบุคคลต้นแบบ เตรียมสูงวัยไอดอล ด้านสุขภาพ และด้านเศรษฐกิจ

 

จัดทำคลิปวีดีโอบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ นางมะลิ โสธารัตน์ ความยาว 1.29 นาที และคลิปวิดีโอบุคคลต้นแบบด้านเศรษฐกิจ นายอำนวย นวลแก้ว ความยาว 5 นาที

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.9 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 9 เม.ย. 2564 9 เม.ย. 2564

 

1.ทำหนังสือแจ้งประชุมคณะทำงาน 2.จัดประชุมตามวัน เวลา ที่กำหนดไว้

 

คณะทำงานได้สรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และมีการปรับแผนการดำเนินงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์การระบ่าดของไวรัสโควิด 19 ในเรื่องของการจัดกิจกรรมจะต้องไม่รวมตัวกันเกิน 50 คน โดยเน้นการทำกิจกรรมเป็นกลุ่มย่อยในชุมชน

 

กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมรณรงค์จัดสิ่งแวดล้อมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงวัย 21 เม.ย. 2564 21 เม.ย. 2564

 

1.ประชุมคณะทำงานชีั้แจงกิจรรมที่จะดำเนินการ 2.กำหนดสถานที่เป้าหมายที่จะลงทำกิจกรรม 3.ดำเนินกิจกรรมรณรงค์จัดสิ่งแวดล้อมด้านอาหารลดหวาน มัน เค็ม เพื่อสร้างสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

  1. คณะทำงาน  อสม. และกลุ่มองค์กรต่างๆ เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 86 คน
  2. แจกสติ๊กเกอร์รณรงค์ลดหวาน มัน เค็ม แก่ร้านค้าเป้าหมายจำนวน 54 ร้าน
  3. รณรงค์ให้ความรู้การลดหวาน มัน เค็ม ในตลาดนัดจำนวน 2 แห่ง มีร้านค้าในตลาดเข้าร่วม จำนวน  72 ร้าน ประชาชนซื้อของในตลาดนัด จำนวน 82 คน

 

กิจกรรมย่อยที่ 1.10 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10 10 พ.ค. 2564 10 พ.ค. 2564

 

1.ทำหนังสือเชิญคณะทำงานร่วมประชุม 2.ประชุมตามวัน เวลาที่กำหนด

 

1.ประเมินผลการดำเนินงาน ร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการมีการแนะนำลดหวาน มัน เค็ม แก่ลูกค้าคิดเป็นร้อยละ 80
2.ปรับแผนงานที่ผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยกำหนดการถอดบทเรียนและการมอบเกียรติบัตรแก่บุคคลต้นแบบโดยจัดกิจกรรมแยกรายหมู่บ้าน ในเดือน พฤษภาคม 2564

 

กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมเวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานและมอบเกียรติบัตร 28 พ.ค. 2564 28 พ.ค. 2564

 

ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จัดเตรียมสถานที่ดำเนินกิจกรรม จัดกิจกรรมตามที่กำหนดไว้ คณะทำงานประเมินผลการจัดกิจกรรมเมื่อเสร็จสิ้น

 

สรุปบทเรียนความสำเร็จที่เกิดจากการดำเนินงานที่ผ่านมา บุคคคลต้นแบบ เตรียมสูงวัยไอดอล จำนวน 2 คน
1.นางมะลิ  โสธารัตน์  บุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ 2.นายอำนวย  นวลแก้ว บุคคลต้นแบบด้านเศรษฐกิจ กิจกรรมดีๆ การจัดการสภาพแวดล้อมด้านอาหารในชุมชนเพื่อส่งเสริมสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย มีร้านค้าเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 ร้าน จากร้านน้ำชา ร้านอาหารตามสั่ง ร้านข้าวแกง ร้านอหารในตลาดนัด
จากการดำเนินงานพบผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน ความดันโลหิตสูงลดลงจากปีที่ผ่านมา กลุ่มเสี่ยงต่ำ กลุ่มเสี่ยงปานกลาง และกลุ่มเสี่ยงสูงมีจำนวนลดลงจากปีที่ผ่านมา

 

ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 10 ต.ค. 2564 10 ต.ค. 2564

 

คืนเงินยืมทดลองเปิดบัญชี

 

คืนเงินยืมทดลองเปิดบัญชี