directions_run

โครงการคนโตนดด้วนรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดขยะ ลดแหล่งนำโรค

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานที่มาจากหลายภาคส่วน 2.มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ 3.มีแผนการดำเนินงาน 4.มีการประชุมทุก 2 เดือน 5.คณะทำงานมีความรู้ในการจัดการขยะที่ถูกต้อง
30.00

 

2 เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนจัดการยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 80 % 2.ในโรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็กจัดการขยะที่ถูกต้อง ทุกแห่ง
400.00

 

3 เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มีกติกาในด้านสิ่งแวดล้อมที่บรรจุไว้ใน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลโตนดด้วน” 2.มีการติดตามการคัดแยกขยะในระดับครัวเรือน ในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตลาดชุมชน 2 เดือน 3.มีต้นแบบการจัดการขยะที่ถูกต้อง อย่างน้อย 11 แห่ง 4.ถนนปลอดขยะ 3 สาย
400.00

 

4 เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ปริมาณขยะในพื้นที่ตำบลโตนดด้วนลดลงร้อยละ 50 2.มีการใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 40
400.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดกลไกการจัดการขยะระดับครัวเรือน (2) เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะ (3) เพื่อให้เกิดกติกาและเฝ้าระวังติดตามการจัดการขยะ (4) เพื่อให้ปริมาณขยะลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปฐมนิเทศผู้รับทุน (2) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (3) ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ (4) ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน (5) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม (6) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (7) คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ (8) ให้ความรู้การคักแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน/ครูและนักเรียนในโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (9) เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข กับหน่วยจัดการ (10) การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะทุก 2 เดือน (11) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (ครั้งที่ 1) (12) เข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยจัดการระดับจังหวัด (ARE ) ครั้งที่ 1 (13) ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลโตนดด้วน” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน) (14) รณรงค์ BIG CLEANING DAY (15) เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE) (ครั้งที่ 2) (16) เข้าร่วมเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุน node flagship พัทลุง (17) เข้าร่วมเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาโครงการภายใต้การสนับสนุนจาก node flagship พัทลุง (18) เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 (19) เข้าร่วมงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 (20) ค่าอินเตอร์เน็ตเพิ่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (21) เวทีคืนข้อมูลให้กับชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh