แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก

ชุมชน ตำบลเขาเจียก อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ 65-00232-00003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2565 ถึงเดือน กันยายน 2565

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าบริการอินเตอร์เน็ต

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.การดำเนินงานที่รวดเร็ว 2.สามารถเข้าถึงระบบโครงการได้ตลอดเวลา 3.รายงานผลกิจกรรมต่างๆได้ครบตามโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำบันทึกกิจกรรม กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะต่างๆของโครงการที่ดำเนินการตั้งแต่เริ่มกระบวนการจึนถึงสิ้นสุดโครงการเข้าสู่ระบบ

 

0 0

2. ประชุมปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสู่ Phatthalung Green City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  2. เกิดความรู้เรื่องแนวทางการบริหารจัดการ การเงิน และการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้อง
  3. เกิดความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network ได้
  4. เกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องความสำคัญของการออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์
  5. สัญญาขอรับทุน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานโครงการโรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมการปฐมนิเทศผู้รับทุนภายใต้การสนับสนุน Node Flagship พัทลุง ณ.ห้องประชุมเทศบาลเมืองพัทลุง จำนวน 2 คน โดยมีรายละเอียดกิจกรรม ดังนี้
1. รับฟังการชี้เเจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสู่ Phatthalung Green City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
2. เรียนรู้แนวทางการบริหารจัดการ การเงิน และการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3. เรียนรู้และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network
4. เรียนรู้ถึงความสำคัญของของการออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์
5.ลงนามสัญญาขอรับทุน

 

3 0

3. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 11 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน ถอนเงินจำนวน 500 บาท ซึ่งได้สำรองจ่ายเป็นค่าเปิดบัญชีธนาคาร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน สำรองจ่ายเงินค่าเปิดบัญชีธนาคาร จำนวน 500 บาท เพื่อเปิดบัญชีธนาคารรับสนับสนุบงบประมาณโครงการย่อย

 

0 0

4. จัดทำป้ายชื่อโครงการ และป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

วันที่ 18 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ป้ายชื่อโครงการ "โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก" จำนวน 1 ป้าย
  • ป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จำนวน 1 ป้าย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำป้ายชื่อโครงการ "โรงเรียนขยะ (Zero Waste School ) เทศบาลตำบลเขาเจียก" และป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อในประกอบการจัดกิจกรรมตามโครงการ

 

0 0

5. ประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกัน/แบ่งบทบาทหน้าที่/จัดทำแผนการปฏิบัติงาน

วันที่ 19 พฤษภาคม 2565 เวลา 10:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. รายชื่อครัวเรือนที่เข้าร่วมปฏิบัติการจัดการขยะนำร่องจาก 11 หมู่บ้าน
  2. คณะทำงานแบ่งบทบาทหน้าที่กัน โดยคณะทำงานโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก Zero Waste School ทำหน้าที่ดังนี้

- ประชุม วางแผน และจัดทำโครงการโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก Zero Waste School
- กำหนดแนวทางการดำเนินงาน
- ดำเนินการทั้ง 6 ส่วนหลัก ดังนี้ 1) นโยบาย การสนับสนุน และแผนการดำเนินงาน 2) การส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และการสร้างวินัยในการจัดการขยัมูลฝอย 3) กระบวนการปลูกฝังและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย 4) การดำเนินกิจกรรมโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก Zero Waste School โดยใช้หลัก 3Rs 5) การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน 6) ผลสำเร็จและความยั่งยืนของโรงเรียนขยะฯ
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการดำเนินงานและกิจกรรมภายในโรงเรียนขยะฯ อย่างต่อเนื่อง
- แสวงหาความร่วมมือจากภาคี องค์กรเครือข่ายในชุมชน
- ติดตามประเมินผลการดำเนินงานของโรงเรียนขยะฯ
3. เกิดแผนการดำเนินงานโรงเรียนขยะเทศบาลตำบลเขาเจียก Zero Waste School

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานจำนวน 50 คน ซึ่งมาจากการคัดเลือกแกนนำในชุมชน 11 หมู่บ้าน/ส่วนราชการ/ห้างร้าน ร่วมกันประชุมเพื่อดำเนินการ ดังนี้
1. คัดเลือกครัวเรือน ร่วมปฏิบัติการจัดการขยะนำร่องจาก 11 หมู่บ้าน
2. คณะทำงานแบ่งบทบาทหน้าที่กัน
3. คณะทำงานจัดทำแผนการดำเนินงาน

 

50 0

6. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่3

วันที่ 9 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 3 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 3 บ้านไสยาง โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

7. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่ 5

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 5 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 5 บ้านออกศาลา โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

8. สมัชชาคนเมืองลุง หิ้วชั้น มาชันชี ที่มีเป้าหมาย "พัทลุงเมืองสีเขียว Phatthalung Green City

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประกาศพื้นที่เป้าหมาย - พื้นที่นาอินทรีย์ที่จะเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 100 ไร่ - พื้นที่พืชร่วมยางที่จะเพิ่มขึ้นกว่า 200 ไร่ - พื้นที่ชายฝั่งทะเลสาบสงขลาตอนกลางที่จะเกิดเขตอนุรักษ์เพิ่มขึ้นกว่า 300 เมตร - พื้นที่ลุ่มน้ำคลองนาโอที่จะมีปฏิญญาคนร่มเมืองมาเป็นเกราะในการปกป้องดูแลสายน้ำ
- พื้นที่ชุมชนที่จะสามารถบริหารจัดการขยะในชุมชนให้ลดลงไม่น้อยกว่าพื้นที่ละ 50% ทั้งหมดนี้เกิดจากการมียุทธศาสตร์ร่วมภายใต้การขับเคลื่อนของเครือข่าย เพื่อตอบโจทย์ "ปัญหาคนเมืองลุง คนเมืองลุงร่วมกันจัดการตนเอง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

งานกิจกรรมประชุมสมัชชาคนเมืองลุง หิ้วชั้น มาชันชี ที่มีเป้าหมาย "พัทลุงเมืองสีเขียว Phatthalung Green City" มีนโยบายสู่การขับเคลื่อน ผ่านโครงการภายใต้การสนับสนุนจากหน่วยจัดการระดับ flagship พัทลุง

 

3 0

9. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่7

วันที่ 13 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 7 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 7 บ้านปาบ โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

10. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่8

วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 8 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 8 บ้านหัวยาง โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน”ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

11. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่9

วันที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 9 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 9 บ้านหัวถนน โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

12. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่2

วันที่ 28 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 2 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 2 บ้านดอนปริง โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

13. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่11

วันที่ 28 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 11 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 20 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 11 บ้านนาชด โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

20 0

14. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่4

วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 4 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 4 บ้านป่าไส โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

15. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่10

วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 10 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 10 บ้านดอนเค็ด โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

16. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่1

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 1 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 1 บ้านป่าห้าม โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

17. ให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์แก่ตัวแทนครัวเรือน หมู่ที่6

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดความรู้เรื่องการการลดขยะที่ต้นทาง
2.เกิดความรู้เรื่องการคัดแยกขยะตามประเภท
3.สามารถคัดแยกขยะตามประเภทได้
4.สามารถทิ้งขยะลงถังขยะได้ถูกต้องตามประเภท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ตัวแทนครัวเรือนในหมู่ที่ 6 ตำบลเขาเจียก เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ/สิ่งประดิษฐ์ จำนวน 18 คน ณ ศาลาอเนกประสงค์หมู่ที่ 6 บ้านดอนประดู่ โดยมี นายวรเวทย์
สุวรรณ์ เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวถนน เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ภายใต้หัวข้อ “กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะในครัวเรือน” ดังนี้
1.การลดขยะที่ต้นทาง
- ลดการใช้งาน (Refuse) ด้วยการหลีกเลี่ยงการใช้บรรจุภัณฑ์ วัสดุห่อหุ้มสินค้า ที่จะสร้างปริมาณขยะเพิ่มขึ้น เช่น ถุงหิ้วพลาสติก กล่องโฟม หรือสิ่งที่ใช้งานได้ครั้งเดียวแล้วทิ้งซึ่งสร้างปริมาณขยะมากขึ้นและย่อยสลายได้ยาก
- นำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse) โดยการนำบรรจุภัณฑ์ หรือถุงพลาสติกที่ใช้แล้วแต่ยังใช้งานได้อยู่กลับมาใช้ซ้ำ
- นำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยลดปริมาณขยะและมลพิษกับสิ่งแวดล้อม โดยการนำของที่ใช้แล้วมาเพิ่มมูลค่า โดยนำเข้าสู่กระบวนการผลิตอีกครั้งเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่สามารถนำมาใช้งานหรือขายออกสู่ตลาดได้
2.การคัดแยกขยะตามประเภท
- ขยะทั่วไป ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีน้ำเงิน” ขยะทั่วไปเป็นขยะจำพวกเศษกระดาษ ซองพลาสติก เปลือกลูกอม หรือของจำพวกที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ ที่ไม่คุ้มค่ากับการนำไปรีไซเคิล ขยะเหล่านี้จะถูกนำไปกำจัดตามกระบวนการ เช่น การฝังกลบ การเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น
- ขยะเปียก ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเขียว” ขยะเปียกเป็นขยะย่อยสลายง่ายที่อยู่ในรูปแบบของเศษอาหารที่กินเหลือ วัตถุดิบที่เน่าเสียได้ง่าย ผลไม้ ใบไม้ กิ่งไม้ ซากพืช ซากสัตว์ ที่เมื่อทิ้งไว้ไม่นานจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ขยะเหล่านี้อาจสามารถนำไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การนำไปทำปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น
- ขยะรีไซเคิล ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีเหลือง”ขยะรีไซเคิลมักเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่สามารถนำไปเข้ากระบวนการรีไซเคิลได้ เช่น แก้ว กระป๋อง ขวดน้ำ เศษพลาสติก ที่สามารถนำไปหลอมเพื่อแปรรูปสำหรับใช้ประโยชน์ได้ต่อไป ขยะประเภทนี้จะมีมูลค่าสามารถเก็บไว้ขายให้กับคนที่รับซื้อของเก่า เนื่องจากสามารถนำไปสร้างประโยชน์ต่อได้
- ขยะอันตราย ถังขยะสาธารณะสำหรับขยะประเภทนี้จะเป็น “สีแดง”ขยะอันตรายที่อาจมีสารปนเปื้อนไปกับสภาพแวดล้อมได้ เช่น กระป๋องสเปรย์ แบตเตอรี่ ถ่ายไฟฉาย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เสื่อมสภาพ ควรถูกแยกออกจากขยะทั่วไป เนื่องจากขยะเหล่านี้จะมีสารประกอบทางเคมีอันตรายหลายอย่างที่ต้องถูกกำจัดอย่างถูกวิธี
3.สาธิตการคักแยกขยะตามประเภท โดยการให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนำตัวอย่างขยะแต่ละประเภทใส่ในตะแรงคัดแยกแยะ 4 ประเภท

 

18 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 44 17                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 55,000.00 18,746.00                  
คุณภาพกิจกรรม 68                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 1 ( 3 ต.ค. 2565 )
  2. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 1 ( 18 ต.ค. 2565 )
  3. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 1 ( 18 ต.ค. 2565 )
  4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนากับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1 ( 10 พ.ย. 2565 )
  5. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 1 ( 15 ธ.ค. 2565 )
  6. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 2 ( 16 ธ.ค. 2565 )
  7. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 2 ( 16 ธ.ค. 2565 )
  8. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 1 ( 22 ธ.ค. 2565 )
  9. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 2 ( 23 ธ.ค. 2565 )
  10. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 2 ( 5 ม.ค. 2566 )
  11. ขยะแลกไข่ ครั้งที่ 1 ( 12 ม.ค. 2566 )
  12. กิจกรรมที่ 4 พัฒนาศักยภาพคณะทำงานเรียนรู้ศึกษาดูงานพื้นที่จัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ( 14 ม.ค. 2566 )
  13. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 3 และ ทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 3 ( 18 ม.ค. 2566 )
  14. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 3 ( 6 ก.พ. 2566 )
  15. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 4 ( 16 ก.พ. 2566 )
  16. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 4 ( 16 ก.พ. 2566 )
  17. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 4 ( 16 ก.พ. 2566 )
  18. รณรงค์ BIG CLEANING DAY ครั้งที่ 4 ( 6 มี.ค. 2566 )
  19. ขยะแลกไข่ ครั้งที่ 2 ( 14 มี.ค. 2566 )
  20. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการจัดการขยะ ครั้งที่ 5 ( 16 มี.ค. 2566 )
  21. ประชุมทบทวน “ธรรมนูญสุขภาพตำบลเขาเจียก” เพื่อให้นำมาใช้ประโยชน์ได้จริง(โดยใช้กิจกรรมประชุมประจำทุก 2 เดือนของคณะทำงาน(ริมเขา)) ครั้งที่ 5 ( 16 มี.ค. 2566 )
  22. คณะทำงานติดตามเก็บข้อมูลการเปลี่ยนแปลง(ก่อนและหลัง) ประเมินผล/จัดเก็บข้อมูลการคัดแยกขยะ ครั้งที่ 5 ( 16 มี.ค. 2566 )
  23. เวทีประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 2 ( 23 มี.ค. 2566 )

(................................)
นายกอบชนม์ ด้วงเล็ก
ผู้รับผิดชอบโครงการ