directions_run

โครงการขยะจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมโดยหลักสูตรโรงเรียนขยะตำบลหนองธง

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการจัดการขยะตำบลที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1มีกลไกคณะทำงานที่มีตัวแทนจากท้องถิ่น รพ.สต.แกนนำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น อสม. โรงเรียน 2.มีข้อมูลขยะชุมชนและข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะ 3.มีกลไกนักเรียนแกนนำที่เป็นผู้นำท้องถิ่น ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน 4.มีโรงเรียนขยะตำบลที่มีหลักสูตรการสอน 5.มีครูขยะตำบลไม่น้อยกว่า 10 คน 6.มีการจัดทำแผนการสอนและกิจกรรมการสอนที่สอดคล้องกับบริบทชุมชน
0.00

1.มีคณะทำงานรับผิดชอบโครงการจำนวน14คน ทั้งหมดเป็นตัวแทนที่คัดเลือกจากกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล ตัวแทนมาจากส่วนท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ หน่วยราชการ(ครู)และภาคแกนนำชุมชน 2.ข้อมูลขยะเชิงปริมาณไม่มีตัวเลขยืนยันเพราะท้องถิ่นไม่มีการจัดเก็บขยะจากชุมชนมีเพียงขยะอันตรายที่ท้องถิ่นจัดเก็ส่งอบจ.ปริมาณ75กก./ปี มีเพียงข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะชุมชน 3.มีแกนนำจากชุมชนที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องกระบวนการทำงานในพื้นที่และความรู้ ประสบการณ์ต่างๆในเรื่องการจัดการขยะในด้านต่างๆจำนวน10คน(เรื่องการคัดแยกขยะ/การกำจัดขยะ/การนำขยะมาใช้ซ้ำ/การแปลจากขยะให้มีมูลค่า

จากนโยบายการจัดการขยะระดับตำบลของ อบต.ที่ไม่มีนโยบายสร้างรถจัดเก็บขยะ ส่งผลให้ชุมชนตื่นตัวในการจัดการขยะกันเองในชุมชน เริ่มที่ครัวเรือน ชุมชน ทั้งนี้ก็ยังมีข้อจำกัดอีกมากมายในการจัดการขยะทั้งการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร และสถานการณ์ต่างๆที่เปลี่ยนไป

1.คณะทำงานเป็นคณะกรรมการที่มีการทำงานกันมาอย่างต่อเนื่องจึงง่ายในกระบวนการก่อตัวและการจัดการโครงการ 2.ข้อมูลพฤติกรรมการจัดการขยะ ที่ใาของขยะเกิดจากการนำเข้าขยะเข้าชุมชนเนื่องจากความจำเป็นในการใช้ชีวิตประจำวัน ขยะส่วนใหญเป็นขยะอินทรีย์และขยะทั่วไป การจัดการเบื้องต้นในชุมชนมีการเรียนรู้การจัดการมาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการคัดแยกตามประเภทขยะ การกำจัดขยะทั่วไปด้วยการเผา ขยะอินทรีย์จัดการด้วยการให้ย่อยสลายไปตามธรรมชาติ การนำไปใช้ประโยชน์โดยการขายขยะ

2 เพื่อให้นักเรียนของโรงเรียนขยะมีความรู้ความตระหนักในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มีการจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอน(คัดแยก กำจัด ใช้ประโยชน์ 2.มีแผนการจัดการขยะรายครัวเรือน 3.มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง 4.นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมขยะของครัวเรือนในชุมชนของนักเรียน 5.นักเรียนของโรงเรียนขยะสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนได้ไม่น้อยกว่า 10 คนต่อนักเรียน 1คน
0.00

 

 

 

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมชุมชนที่เอื้อต่อการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : 1.มาตรการของชุมชนเพื่อการจัดการขยะ 2.มีใช้ประโยชน์จากขยะ อย่างน้อย2รูปแบบ 3.มีการปฏิบัติการในรูปแบบต่างๆในทุกชุมชน
0.00

 

 

 

4 เพื่อให้ปริมาณขยะในชุมชนลดลง
ตัวชี้วัด : 1.มีครัวเรือนที่จัดการขยะไม่น้อยกว่าร้อยละ50 ของครัวเรือนทั้งหมด 2.ขยะครัวเรือนลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 3.ปริมาณขยะในที่สาธารณะลดลง อย่างน้อยร้อยละ 20
0.00

 

 

 

5 เพื่อให้เกิดความร่วมมือกับท้องถิ่นในการจัดการขยะตำบล
ตัวชี้วัด : 1.มีข้อบัญญัติท้องถิ่นหรือธรรมนูญสุขภาพตำบลว่าด้วยการจัดการขยะ
0.00

 

 

 

6 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ตัวชี้วัด :
0.00