directions_run

โครงการส่งเสริมการเรียนรู้สร้างพื้นที่สวนยางพาราให้เป็นแหล่งอาหารปลอดภัยชุมชนบ้านโหล๊ะจันกระ

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 5 พ.ค. 2565 5 พ.ค. 2565

 

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน สำรองเงินเปิดบัญชีธนาคาร เพื่อรับเงินสนับสนุนโครงการย่อย

 

ทางโครงการย่อยได้เปิดบัญชีธนาคารเพื่อรับเงินสนับสนุนโครงการย่อยได้เรียบร้อยภายใต้ ชื่อบัญชีนายอนันต์ ปานป้องและนายอุดร เกิดผลและ น.ส.วิจิตร ศรีสุวรรณ

 

กิจกรรมปฐมนิเทศน์ 9 พ.ค. 2565 9 พ.ค. 2565

 

กำหนดการกิจกรรมปฐมนิเทศผู้รับทุน
ภายใต้หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (Node Flagship) จังหวัดพัทลุง วันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลเมืองพัทลุง

08.30 - 09.00 น.    ลงทะเบียน และคัดกรองผู้เข้าร่วมประชุมตามมาตรการป้องกันไวรัส โควิด19 09.30 - 09.15 น.    เตรียมความพร้อมกลุ่มเป้าหมาย/ แนะนำตัวทำความรู้จัก/สันทนาการ (ทีมสันทนาการ) 09.15 - 09.30 น.    ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสู่
Phattahlung Green City คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
โดย นายเสณี จ่าวิสูตร ผู้ประสานงาน Node Flagship จังหวัดพัทลุง 09.30 - 10.30 น.    แนวทางการบริหารจัดการ การเงิน และการจัดการเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดย นายไพฑูรย์ ทองสม ผู้จัดการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง 10.30 - 10.45 น.    การจัดทำรายงานผ่านระบบ Happy Network
โดย นายอรุณ ศรีสุวรรณ 10.45 - 12.00 น.    ปฏิบัติการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ Happy Network และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ
Happy Network
12.00 - 13.00 น.    พัก รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 - 13.30 น.    ความสำคัญของการออกแบบจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์
โดย นางสาวเบญจวรรณ เพ็งหนู ทีมสนับสนุนวิชาการ Node Flagship จังหวัดพัทลุง 13.30 - 14.30 น.    แบ่งกลุ่มย่อยพื้นที่โครงการย่อย/พี่เลี้ยง ออกแบบการเก็บข้อมูลตัวชี้วัด กลุ่มที่ 1 ประเด็นการจัดการขยะ
กลุ่มที่ 2 ประเด็นการจัดการน้ำเสีย กลุ่มที่ 3 ประเด็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง กลุ่มที่ 4 ประเด็นการผลิตพืชอาหารปลอดภัยในสวนยางพารา กลุ่มที่ 5 ประเด็นนาปลอดภัย 14.30 - 15.00 น.    การลงนามสัญญาข้อรับทุน
15.00 - 15.30 น.    สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
15.30 น. ปิดการประชุม

 

ผลผลิต มีคณะทำงานเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 3 คน ประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้รับผิดชอบการเงิน ผู้รับผิดชอบเอกสาร ผลลัพธ์ 1 ได้เรียนรู้หลักการดำเนินโครงการเชิงผลลัพธ์ 2 ได้เรียนรู้หลักจัดการบริหารโครงการ 3 ได้เรียนรู้การจัดทำเอกสาร และ การเขียนรายงานในระบบ 4 ได้เรียนรู้การจัดทำและการจัดเก็บข้อมูวตัวชี้วัดผลลัพธ์โครงการ

 

กิจกรรมทำป้าย 18 พ.ค. 2565 18 พ.ค. 2565

 

จัดจ้างทำป้ายจำนวน 2 ป้าย

 

ได้ป้ายจำนวน 2 ป้าย

 

.เวทีเปิดโครงการและเรียนรู้ข้อมูลและสถานการณ์ 16 มิ.ย. 2565 6 มิ.ย. 2565

 

13.00น. ชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม 13.30น. วิทยากรให้ความรู้สมาชิกกลุ่มเกษตรแปลงใหญ่ และแนวทางการดำเนินโครงการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์โครงการ 14.30น. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นการสร้างพืชร่วมยางรับสมัครสมาชิกร่วมโครงการ 15.00น. เลิกประชุม

 

ผลผลิต มีสมาชิกเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 29คน ผลลัพธ์  สมาชิกได้มีความรู้ความเข้าใจในวัตถุประสงค์โครงการและมีสมาชิกสมัครใจเข้าร่วมโครงการเบื้องต้นจำนวน25คน

 

กิจกรรมศึกษาดูงาน 29 มิ.ย. 2565 29 มิ.ย. 2565

 

09.00 -  10.00 น. ลงทะเบียนสมาชิกที่มาศึกษาดูงาน 10.00 - 12.00 น. เข้าร่วมฟังบรรยายกิจกรรมจากวิทยากรเกี่ยวกับพืชร่วมยางต่างๆ 12.00 - 13.00 น. พักรับประธานอาหารเที่ยง 13.00 - 15.00 น. ลงพื้นที่ไปศึกษาเกี่ยวกับพืชร่วมยางต่างๆหลายพันธุ์ชนิด 15.00 - 16.00 น. สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับพืชร่วมยาง 16.00 น.            ปิดการประชุม

 

ผลผลิต มีสมาชิกร่วมกิจกรรมจำนวน 30คน ผลลัพธ์ สมาชิกได้เรียนรู้การทำพืชร่วมยางจากวิยากรและได้เห็นของจริง สมาชิกจำนวนอย่างน้อย20คนมีความเข้าใจและมีความมุ่งมั่นที่จะกลับมาทำในสวนตัวเอง

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่1 20 ก.ค. 2565 12 พ.ค. 2565

 

1 ประสานคณะกรรมการ นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2 จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3 วางแผนการดำเนินการ

 

ผลผลิต มีคณะกรรมการและคณะทำงานเข้าร่วมจำนวน 10 คน ผลลัพธ์ กรรมการแบ่งแยกหน้าที่ปฎิบัติงานของแต่ละคน
ได้วางแผนการทำงานในรอบสองเดือน
ได้วางแผนการใช้จ่ายงบประมาณโครงการ

 

.กิจกรรมเวทีสรุปผลการศึกษาดูงานและวางแผนการปลูกรายแปลง 28 ก.ค. 2565 28 ก.ค. 2565

 

10.00น. สมาชิกพร้อมกันที่ สกย.บ้านโหล๊ะจันกระจำกัดลงทะเบียนผู้ร่วมกิจกรรม 10.30น.  ประธานกลุ่มเปิดประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม 11.00น.  วิทยากร โดยนายอรุณ ศรีสุวรรณ ชวนผู้ร่วมกิจกรรมพูดคุยบอกเล่าความพึงพอใจที่ได้ไปศึกษาดูงานตามแผนงานที่กำหนดไว้ในโครงการ สมาชิกช่วยกันเล่าประสบการณ์ที่ได้ไป และความรู้ที่ได้รับจากการไปศึกษาดูงาน 12.00น.  พักเที่ยง 13.30น.  วิทยาการชวนระดมความคิดวางแผนการปลูกของสมาชิกที่จะปลูกพืชตามชนิดที่ต้องการและความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 16.30น.  ปิดการประชุม

 

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน28คน ผลลัพธ์ สมาชิกร่วมโครงการได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการศึกษาดูงาน สมาชิกได้วางแผนการปลูกที่เหมาะสมกับความต้องการและสภาพพื้นที่

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่2 31 ก.ค. 2565 31 ก.ค. 2565

 

ประชุมคณะกรรมการและคณะทำงาน

 

ผลผลิต มีกรรมการร่วมประชุมจำนวน9คน ผลผลัพธ์ ได้รายงานความก้าวหน้าโครงการ มีการรายงานการใช้งบประมาณโครงการ ได้วางแผนการทำงานในช่วงต่อไป

 

. กิจกรรมออกแบบแปลงปลูกรายแปลง 15 ส.ค. 2565 15 ส.ค. 2565

 

10.00น. สมาชิกพร้อมกันที่ สกย.บ้านโหล๊ะจันกระ ลงทะเบียนผู้ร่วมกิจกรรม 10.30น.  ประธานกลุ่มเปิดประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดกิจกรรม 11.00น.  วิทยากร โดยนายอรุณ ศรีสุวรรณ ชวนผู้ร่วมกิจกรรมพูดคุยบอกเล่าความพึงพอใจที่ได้ไปศึกษาดูงานตามแผนงานที่กำหนดไว้ในโครงการ สมาชิกช่วยกันเล่าประสบการณ์ที่ได้ไป และความรู้ที่ได้รับจากการไปศึกษาดูงาน 12.00น.  พักเที่ยง 13.30น.  วิทยาการชวนระดมความคิดวางแผนการปลูกของสมาชิกที่จะปลูกพืชตามชนิดที่ต้องการและความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ 16.30น.  ปิดการประชุม

 

ผลผลิต สมาชิกเข้าร่วมจำนวน 30 คน
ผลลัพธ์ ได้ความรู้การออกแบบแปลงที่เหมาะสมกับความต้องการเพื่อให้เกิดรายได้ตามช่วงเวลา และความเหมาะสมตามสภาพพื้นที่ของสมาชิกแต่ละคน ได้แลกเปลี่ยนความรู้ในการปลูกที่เหมาะสมจากวิทยากร ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถออกแบบการปลูกของแปลงตัวเองได้

 

สมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข 12 ก.ย. 2565 12 ก.ย. 2565

 

กำหนดกา จัดงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ภายใต้โครงการการขับเคลื่อนแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นแบบบูรราการ วันจันทร์ที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๑๕๖๕ ณ หอประชุมจังหวัดพัทลุง อำเภอเมืองลุง จะงหวัดพัทลุง ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร ๐๙.๐๐ - ๐๙.๑๕ น. การแสดงเปิดงานด้วยชุดการแสดงมโนราห์ จากนักเรียนโรงเรียนอุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัย พัทลุง ๐๙.๑๕ - ๐๙.๓๐ น. กล่าวต้อนรับผู้ร่วมงาน                       โดยนายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกองค์กรบริการส่วนจังหวัดพัทลุง ๐๙๓๐ - ๑๐.๐๐ น. รับชมวีดีทัศน์ความเป็นมาของสภาขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข และนำเสนอผลการดำเนินงานชองประเด็นการขับเคลื่อนพัทลุงใหานาครแห่งความสุข ๘ ประเด็น ดังนี้                     ประเด็นที่ ๑ ออกแบบระบบการศึกษาเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้เรียนเพื่อสร้างพลเมืองผู้ตื่นรู้                     ประเด็นที่ ๒ สร้างเศรษฐกิจเกื้อกูล                     ประเด็นที่ ๓ ออกแบบระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างระบบนิเวศที่ยั่งยื่น                     ประเด็นที่ ๔ จังหวัดอาหารปลอดภัยและรักษาพันธุ์พืช/สร้างจุดเด่นด้านสมุนไพรและการดูแลสุขภาพชุมชน                     ประเด็นที่ ๕ การสร้างความมั่นคงของชุมชน ( สวัสิการชุมชนและที่อยู่อาศัย )
                    ประเด็นที่ ๖ ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญา ประเพณีวัฒนธรรม                     ประเด็นที่ ๗ ออกแบบพื้นที่พิเศษของจังหวัดพัทลุง                     ประเด็นที่ ๘ สร้างการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน ๑๐.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. ผู้เข้าร่วมงานร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ ให้ขอเสนอแนะต่อผู้แทนประเด็นทั้ง ๘ ประเด็น ณ ลานเวทีการเรียนรู้พัทลุงมหานครแห่งความสุข ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกันในบรรยากาศ คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี ๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๕ น. ตะลุง talk show ว่าด้วยโหม๋เรามาร่วมสร้างเมืองลุงแห่งความสุข ๑๓.๑๕ - ๑๔.๐๐ น. เวที่กลางถกแถลงเพื่อหาฉันทามติข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ โดยกระบวนการมีสวนร่วมในการขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข ๑๔.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. ผู้แทนภาคีเครือข่ายร่วมแสดงเจตจำนงในการสนับสนุนการขับเคลื่อนพัทลุงมหานครแห่งความสุข                           - ภาครัฐ โดย ผู็ว่าราชการจังหวัดพัทลุง                           - ภาควิชาการ โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยทักษิณ และรองอิการบดีสถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน                           - ภาคท้องถิ่น โดย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง                           - เครือข่ายสมัชชาสุขภาพ โดย เลขาธฺการ๕ณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ                           - เครือข่ายองค์กรชุมชน โดย ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ภาคใต้                           - ภาคเอกชน โดย ประธานหอการค้าจังหวัดพัทลุง                           - เครือข่ายภาคธุรกิจ โดย ประธานเครือข่ายผู้ประกอบการท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง ๑๕.๐๐ - ๑๕.๐๐ น. พิธีประกาศปฏิญญาความร่วมือเพื่อร่วมมือเพื่อสร้างพัทลุงมหานครแห่งความสุข

หมายเหตุ ๑ ขอความร่วมมือ ผู็เข้าร่วมงานนำปิ่นโตมาร่วมงานด้วย ตาม CONCEPT คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี             ๒ กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม             ๓ พักรัประธานอาการว่างและเครื่องดื่ม                   - ช่วงเช้า เวลา ๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ น.                   - ช่วงบ่าย เวลา ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น.

 

ผลผลิต มีกรรมการร่วมกิจกรรมจำนวน5คน ผลลัพธ์ ได้เรียนรู้การทำงานขับเคลื่อนพัทลุงภายใต้แผนงานการทำงานตามประเด็น8ประเด็น

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่3 19 ก.ย. 2565 19 ก.ย. 2565

 

1 ประสานคณะกรรมการ นำข้อมูลความก้าวหน้าการดำเนินงานแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางการดำเนินงาน 2 จัดประชุมเพื่อติดตามการดำเนินงาน ร่วมคิด วิเคราะห์ มีปัญหาร่วมหาทางแก้ปัญหา และกำหนดแนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนตามแผนปฏิบัติการ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ 3 วางแผนการดำเนินการ

 

ผลผลิต มีกรรมการร่วมประชุมจำนวน9คน ผลลัพธ์ ได้วางแผนการทำงานตามโครงการ ได้สรุปปัญญาการทำงาน ได้รายงานการใช้เงินโครงการกับกรรมการ

 

กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาครั้งที่1 29 ก.ย. 2565 15 ต.ค. 2565

 

1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีทีมพี่เลี้ยงโครงการร่วมเรียนรู้ในเวที               2.ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามกระบวนการAREภายใช้การใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดผลลัพธ์               3.จัดกิจกรรมจำวนครั้ง2 ครั้งละ1วัน

 

ได้เรียนรู้เกี่ยวกับพืชร่วมยาง พันธุ์พืชต่างๆ ในการปลูก และ แลกเปลี่ยนให้ความรู้เกี่ยวกับพันธุ์ไม้ที่สามารถหามาได้ในการปลูก และ มาแลกเปลี่ยนพันธุ์ไม้ต่างๆให้แก่กัน

 

กิจกรรมหนุนเสริมการปลูก 30 ต.ค. 2565 30 ต.ค. 2565

 

1.สมาชิกร่วมครงการปลูกพืชในแปลงพื้นที่ของตนเองตามแผนการปลูกและการออกแบบแปลง                             2.ปลูกชนิดพันธ์พืชที่สามารถหาได้ในชุมชนโยไม่ต้องรอกระบวนการเพาะชำก็ลงมือปลูกได้ตามความเหมาะสม                             3.แบ่งปันกล้าไม้ที่เพาะเลี้ยงในเรือนเพาะชำตามแผนการปลูก

 

พูดคุยเกี่ยวกับพืชร่วมยางแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการปลูกพืชต่างๆ

 

. กิจกรรมเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักและสารทดแทนสารเคมี 5 พ.ย. 2565 5 พ.ย. 2565

 

ประชุมสมาชิกแปลงใหญ่และเจ้าหน้าที่ 30 คน

 

ผลผลิต สมาชิกแปลงใหญ่และเจ้าหน้าที่ประชุมแบ่งหน้าที่กันปฏิบัติงาน จำนวน 30 คน
ผลลัพธ์ 1 สมาชิกได้รับการเรียนรู้เกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักทดแทนสารเคมี 2 ได้รู้ถึงวิธีการทำปุ๋ยหมักที่ถูกวิธี 3ได้นำปุ๋ยหมักไปใช้ประโยชน์กับพืชผักอย่างปลอดภัย 4สมาชิกได้ลดค่าใช้จ่ายไม่ต้องซื้อปุ๋ยในราคาที่แพง

 

ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 1 10 พ.ย. 2565 10 พ.ย. 2565

 

8.30 -09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-09.30 น. กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์และนำเสนอวีดีทัศน์พื้นที่เด่น 09.30-12.00 น. แบ่งกลุ่ม ทบทวนผลลัพธ์รายประเด็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับภาคียุทธศาสตร์                      กลุ่มที่ 1 ประเด็นน้ำเสีย                      ภาคียุทธศาสตร์  ทสจ.พัทลุง  เทศบาลเมืองพัทลุง                      กลุ่มที่ 2 ประเด็นการจัดการขยะ                      ภาคียุทธศาสตร์  ทสจ.พัทลุง  ท้องถิ่นจังหวัด  อบจ.                      กลุ่มที่ 3 ประเด็นนาปลอดภัย                      ภาคียุทธศาสตร์  เกษตรจังหวัดพัทลุง  พัฒนาที่ดิน  ศูนย์วิจัยข้าว                      กลุ่มที่ 4 ประเด็นพืชร่วมยาง                      ภาคียุทธศาสตร์  เกษตรจังหวัดพัทลุง  กยท. พัทลุง  สปก. พัฒนาที่ดิน  เกษตรและสหกรณ์ฯ                      กลุ่มที่ 5 ประเด็นการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง                      ภาคียุทธศาสตร์  ทสจ.พัทลุง  ม.ทักษิณ  ประมงจังหวัดพัทลุง  ทช5  หน่วยเรือตรวจ  อบจ.พัทลุง 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน 13.00-14.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้กระบวนการดำเนินโครงการในประเด็น                      - การจัดทำรายงานผ่านระบบออนไลน์                      - การบริหารจัดการทีมคณะทำงาน                      - การเชื่อมโยงการทำงานกับภาค๊                      -การจัดการด้านการเงิน 14.00-14.30 น. สรุปผลการประชุม

 

...

 

กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิก ครั้งที่1 17 พ.ย. 2565 17 พ.ย. 2565

 

สมาชิกแปลงใหญ่ จำนวน 30 คน

 

ผลผลิต ประชุมสมาชิกแปลงใหญ่ จำนวน 30 คน ผลลัพธ์ 1 ได้แลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการเยี่ยมเยือนแปลงร่วมยาง 2 ได้เห็นผลผลิตของสมาชิกที่ปลูกพืชร่วมยาง 3 สมาชิกได้นำผลผลิตที่ปลูกออกจำหน่ายบางส่วนและได้นำมาทำอาหาร

 

กิจกรรมจัดทำเรือนเพาะชำ 19 พ.ย. 2565 19 พ.ย. 2565

 

ประชุมคณะกรรมการและสมาชิก

 

ผลผลิต ได้เรือนเพาะชำ โดยสมาชิกจำนวน 30 คน
ผลลัพธ์ ได้แปลงเพาะชำที่สมบูรณ์

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่4 30 พ.ย. 2565 30 พ.ย. 2565

 

วางแผนการทำงาน รายงานความก้าวหน้าโครงการ รายงานสถานะการเงิน

 

ประชุมคณะทำงาน และ รายงานความก้าวหน้าของโครงการและสถานะมางการเงิน

 

กิจกรรมเยี่ยมเยียนติดตามแปลงของสมาชิก ครั้งที่1 3 ธ.ค. 2565 3 ธ.ค. 2565

 

1.คณะทำงานโครงการแบ่งความรับผิดชอบดูแลติดตามสมาชิกโดยแบ่งช่วงเวลาในการเยี่ยมเยียนติดตาม 2.เยี่ยมเยียนติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินงานของสมาชิกตามหัวข้อที่กำหนดพร้อมให้คำแนะนำ 3.บันทึกผลการติดตามสมาชิกตามที่ออกแบบและกำหนด 4.นำผลการ่ยี่ยมเยียนติดตาม รายงานต่อการประชุมคณะทำงาน

 

สมาชิกได้ปลูกพืชร่วมยางที่สามารถทานได้ และมีผลผลิตที่สามารถเก็บได้แล้ว และเก็บผลผลิตมาแลกเปลี่ยนและขายตามท้องตลาด

 

กิจกรรมเยี่ยมเยียนติดตามแปลงของสมาชิก ครั้งที่2 17 ธ.ค. 2565 17 ธ.ค. 2565

 

คณะกรรมการและคณะทำงาน ลงพื้นที่เยี่ยมเยือนแปลงของสมาชิก

 

ผลผลิต 1 คณะกรรมการและคณะทำงาน ประชุมลงพื้นที่เยี่ยมเยือนแปลงสมาชิก
ผลลัพธ์ ได้เห็นความเปลี่ยนแปลงจากที่เยี่ยมครั้งที่ 1 พืชผักโตขึ้นกว่าเดิม 2 ได้เก็บผลผลิตอย่างเต็มที่ 3 ไม้ยืนต้นเช่น ต้นหมาก เติบโตขึ้นเป็นระดับ 4 สมาชิกได้นำผลผลิตออกมาจำหน่ายทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้น

 

กิจกรรมสร้างพื้นที่แบ่งปันผลผลิตในชุมชน 17 ธ.ค. 2565 17 ธ.ค. 2565

 

1.ใช้พื้นที่ สกย.เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมและจำหน่ายผลผลิตของสมาชิก                           2.สร้างการตลาดในพื้นที่ออนไลน์                           3.เน้นการจำหน่ายผลผลิตกับสมาชิก สกย.และคนในชุมชน                           4.ประสานความร่วมมือกับภาคี หน่วยงานราชการในการจำหน่ายผลผลิต

 

แลกเปลี่ยนพืชและผลผลิตต่างๆ และสร้างสื่อตลาดออนไลน์ เพื่อแรกเปลี่ยนประสบการณ์ต่างๆ

 

. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างสมาชิกครั้งที่2 20 ม.ค. 2566 20 ม.ค. 2566

 

สมาชิกประชุมร่วมกัน 30 คน

 

ผลผลิต ประชุมสมาชิกแปลงใหญ่ จำนวน 30 คน
ผลลัพธ์ 1 ได้แลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการเยี่ยมเยือนแปลงสมาชิก 2 ได้เห็นผลผลิตของสมาชิกที่ปลูกพืชร่วมยาง 3 สมาชิกได้นำผลผลิตที่ปลูกออกจำหน่ายบางส่วนและได้นำมาทำอาหาร

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่5 30 ม.ค. 2566 30 ม.ค. 2566

 

ประชุมคณะทำงานเกี่ยวกับการประชุมร่วมระหวางกรรมกราร และ สกย กรรมการสวนยางแปลงใหญ่

 

  1. จัดให้มีการประชุมร่วมระหว่างกรรมการ สกย.และกรรมสวนยางแปลงใหญ่ 2 เดือนครั้ง
    2.เชิญตัวแทนหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องร่วมประชุมตามความเหมาะสม
  2. จัดกิจกรรมในรูปแบบการจัดประชุมแบบสัญจรตามพื้นที่ ที่เข้าร่วมโครงการเพื่อช่วยกันออกแบบและเรียนรู้การสร้างรูปแบบการวางแผนการปลูกให้เหมาะสมตามความต้องการของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการและความเหมาะสมตามสภาพแวดล้อมของพื้นที่ร่วมโครงการ 4.ใช้เวลาในการประชุมครั้งละครึ่งวัน

 

. กิจกรรมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาครั้งที่2 24 ก.พ. 2566 24 ก.พ. 2566

 

มีสมาชิกเข้าร่วมจำนวน 15 คน

 

ผลผลิต มีผู้รับผิดชอบโครงการกับคณะกรรมการและกรรมการและคณะทำงาน รวม 3 คน เข้าร่วมประชุม ผลลัพธ์ ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะกรรมการำด้แลกเปลี่ยนความรู้กับผู้เข้าร่วมประชุมได้รับเชิญ -ทุกคนได้ความรู้จากการสรุปผลการดำเนินงานของแต่ละแห่งและนำความรู้ที่ได้กลับมาพัฒนาโครงการของตนเองได้ผลผลิตที่มีคุณภาพยิ่งขึ้นไป -ได้รับทราบถึงข้อบกพร่องในการจัดทำรายงานของโครงการตนเองและนำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาต่่อไป -ได้รู้ถึงการจัดทำงบทางการเงินที่ถูดต้อง

 

กิจกรรมเยี่ยมเยียนติดตามแปลงของสมาชิก ครั้งที่3 17 มี.ค. 2566 17 มี.ค. 2566

 

มีคณะทำงานทั้งหมด 7 คน ร่วมเยี่ยมเยียนติดตามแปลง

 

ผลผลิต ได้เห็นพืชร่วมยางเติบโตกว่าครั้งก่อน ผลลัพธ์ พืชและผักเติบโตและสามารถเอาไปขายหรือแลกเปลี่ยนได้

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่6 30 มี.ค. 2566 30 มี.ค. 2566

 

จัดให้มีการประชุมร่วมระหว่างกรรมการ สกย.และกรรมสวนยางแปลงใหญ่2เดือนครั้ง
                        2.เชิญตัวแทนหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องร่วมประชุมตามความเหมาะสม                         3. จัดกิจกรรมในรูปแบบการจัดประชุมแบบสัญจรตามพื้นที่ ที่เข้าร่วมโครงการเพื่อช่วยกันออกแบบและเรียนรู้การสร้างรูปแบบการวางแผนการปลูกให้เหมาะสมตามความต้องการของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการและความเหมาะสมตามสภาพแวดล้อมของพื้นที่ร่วมโครงการ                         4.ใช้เวลาในการประชุมครั้งละครึ่งวัน

 

เชิญชวนหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม และให้หน่วยงานแนะนำสิ่งต่างๆ ให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการว่าควรแก้ไขสิ่งใดบ้าง

 

กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงานและจัดนิทรรศการโชว์ผลงานโครงการ 27 เม.ย. 2566 27 เม.ย. 2566

 

10.00น. ลงทะเบียนพร้อมกันที่ สกย.บ้านโหล๊ะจันกระ 10.00-11.00น. นำเสนอผลการดำเนินงานของโครงการ โดยประธานกลุ่มแปลงใหญ่ นำเสนอผลสำเร็จจากการทำพืชร่วมยาง ด้วยการบอกเล่าถึงลักษณะสวนที่เป็นแปลงที่เกิดจากการทำโครงการและนำพืชผักที่เป็นผลผลิตจากสวนยางพารามาให้วมาชิกคนอื่นได้เห็นผล และให้สมาชิกเล่าถึงสวนของตัวเองที่เห็นผลที่เปลี่ยนไปจากเดิมก่อนที่เข้าร่วมโครงการ 11.00-12.00น. พี่เลี้ยงโครงการนำเสนอผลการติดตามประเมินผลในภาพรวมโครงการให้ผู้ร่วมประชุมได้รับรู้ และให้ความรู้เรื่องการจัดการด้านอาหารที่ใช้สวนยางเป็นแหล่งผลิตอาหารให้ครัวเรือนและชุมชน 12.00-13.00น. ร่วมรับประทานอาหาร 13.00-14.30น. กิจกรรมแลกเปลี่ยนผลผลิต โดยให้ผู้ร่วมกิจกรรมที่นำผลผลิตมาร่วมกิจกรรม เล่นเกมส์แล้วแลกผลิตกัน

 

ผลผลิต มีสมาชิกร่วมกิจกรรมจำนวน42คน มีพืชผักจากพืชร่วมยางมี่ปลอดภัยจากสารเคมีมาแสดงในกิจกรรมจำนวน23ชนิด ผลลัพธ์ สมาชิกได้เรียนรู้ผลสำเร็จของเพื่อนสมาชิก สมาชิกได้รับรู้ข้อมูลการติดตามประเมินผลโครงการ

 

ค่าบริการอินเตอร์เน็ต 30 เม.ย. 2566 30 เม.ย. 2566

 

จ่ายค่าบริการอินเตอร์เน็ต

 

จ่ายค่าบริการอินเตอร์เน็ต

 

ประเมินผลเผื่อการเรียนรู็และพัฒนา AREร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ 30 พ.ค. 2566 30 พ.ค. 2566

 

09.00 หน่วยจัดชี้แจงวัตถุประสงการจัดกิจกรรม 09.30  กิจกรรมสร้งความสัมพันธ์ 10.00  แบ่งกลุ่มตามประเด็นนำเสนอผลการทำงานจากแต่ละพื้นที่ 11.30  สรุปผลการคุยในกลุ่มย่อย 12.00  พักเที่ยง 13.00  แบ่งกลุ่มย่อ
14.30  สรุปผลกลุ่มย่อย 15.00  สรุปผลการจัดกิจกรรม ปิดประชุม

 

ผลผลิต มีคณะทำงานโครงการจำนวน3คนเข้าร่วมกิจกรรม ผลลัพธ์  ผู้ร่วมกิจกรรมได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ร่วมกัน และได้ฝึกทักษะการพูดคุยในที่ประชุม

 

สมัชชพัทลุงมหานครแห่งความสุข หิ้วชั้นมาชันชี2 15 ส.ค. 2566 15 ส.ค. 2566

 

ตามที่ส านักสร้างสรรค์โอกาส (ส านัก 6) ส านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
ได้สนับสนุนกระบวนการให้เครือข่ายภาคประชาสังคมที่ท างานเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพชุมชนในนาม
หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นส าคัญทางยุทธศาสตร์ (Node flagship) จังหวัดพัทลุง เป็นผู้ด าเนินการหนุนเสริม กระบวนการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายภาคประชาสังคมในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
ซึ่งในส่วนของหน่วยจัดการระดับ flagship พัทลุงนั้นก าหนดเป้าหมายการขับเคลื่อนงานสู่ “Phatthalung
Green City” ในการนี้หน่วยจัดการจังหวัดระดับ flagship พัทลุง ได้เชื่อมโยงการท างานกับภาคีทั้งในระดับพื้นที่
และระดับจังหวัด และร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง จัดงาน สมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข
ครั้งที่ 2 “คนเมืองลุงหิ้วชั้นมาชันชี เพื่อก าหนดอนาคตตนเอง” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน าเสนอการด าเนินงาน ของภาคีต่างๆ และเชื่อมโยงการด าเนินงานสู่การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม เพื่อให้จังหวัด พัฒนาเป็นมหานครแห่งความสุขของคนพัทลุง ดังนั้น เพื่อให้การด าเนินการของหน่วยจัดการที่มีจุดเน้นส าคัญทางยุทธศาสตร์ (Node flagship)
จังหวัดพัทลุง เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุวัตถุประสงค์จึงขอเชิญท่านในฐานะผู้รับผิดชอบโครงการ
พร้อมด้วย คณะท างานอีก 2 ท่าน เข้าร่วมเรียนรู้ในงานสมัชชาพัทลุงมหานครแห่งความสุข ครั้งที่ 2 ในวันที่
15 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 – 16.30 น. ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต พัทลุง ทั้งนี้ขอความร่วมมือท่านน าปิ่นโตมาร่วมงานด้วนท่านละ 1 ปิ่นโต โดยทางผู้จัดงานรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายปิ่นโตละ 100 บาท ส าหรับค่าเดินทางเข้าร่วมงานสามารถเบิกจากได้จากงบประมาณโครงการ

 

ผลผลิต มีคณะทำงานร่วมกิจกรรมจำนวน3คน ผลลัพธ์ ได้เรียนรู้การทำแผนการพัฒนาสู่การเป็นพัทลุงมหานครแห่งความสุข