task_alt

(11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ (11)ชุมชนบ้านเกาะเสม็ดส่งเสริมกิจกรรมเกษตรยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

ชุมชน บ้านเกาะเสม็ด ตำบลบางสน อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0011 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน ตุลาคม 2565 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าบันทึกข้อมูลรายงานเจ้าหน้าที่และจัดทำเอกสารรายงานการเงินโครงการ

วันที่ 20 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีรายงานประกอบการทำโครงการ ทั้งรายงานผ่านเว็บไซต์ และรายงานเอกสารประกอบการเงิน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เจ้าหน้าที่การเงิน และบัญชี จัดทำเอกสารประกอบการเงิน ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากโครงการ และเจ้าหน้าที่ธุรการทำการบันทึกข้อมูลลงในเว็บไซต์คนใต้สร้างสุข

 

2 0

2. ร่วมงานเวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร

วันที่ 26 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมจากตำบลบางสน จำนวน 4 คน โดยเป็นคณะทำงานโครงการ 2 คน และสมาชิกในชุมชนบ้านเกาะเสม็ด จำนวน 2 คน ทำให้เกิดองค์ความรู้เรื่องการจัดการเกษตรสุขภาวะและความมั่นคงทางอาหาร และประเด็นการจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เข้าร่วมเวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในประเด็นเกษตรสุขภาวะและความมั่นคงทางอาหาร

 

4 0

3. การอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการปลูกพืชท้องถิ่น /การปลูกพืชบำรุงดิน

วันที่ 18 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานสามารถขับเคลื่อนงานด้านเกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหาร สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร และสมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 4 องค์กร ชุมชนมีการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้เหมาะสมกับฤดูการผลิต และนำไปสู่การยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 1 แห่ง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 50 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

 

50 0

4. อบรมให้ความรู้การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร

วันที่ 29 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานสามารถขับเคลื่อนงานด้านเกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหาร เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 10 คน
สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร และสมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 4 องค์กร ชุมชนมีการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร มีการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้เหมาะสมกับฤดูการผลิต และนำไปสู่การยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 1 แห่ง
ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 50 -  80 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

 

50 0

5. การยกระดับการดำเนินงานโครงการเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร

วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานสามารถขับเคลื่อนงานด้านเกษตรกรรมยั่งยืน และความมั่นคงทางอาหาร เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 10 คน
สร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน องค์กร และสมาชิกในชุมชน อย่างน้อย 4 องค์กร ชุมชนมีการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร มีการพัฒนาพื้นที่เพาะปลูกให้เหมาะสมกับฤดูการผลิต และนำไปสู่การยกระดับเป็นศูนย์เรียนรู้ชุมชนจำนวน 1 แห่ง
ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจเรื่องเกษตรกรรมยั่งยืนและความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 80 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1) คณะทำงานปรึกษาหารือร่วมกันในการจัดเตรียมเวทีประชุม จัดเตรียมพื้นที่และกำหนดวันจัดกิจกรรม 2) จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 3) ติดต่อประสานงานวิทยากรให้ความรู้ 4) จัดทำเอกสารประกอบกิจกรรม 5) จัดประชุมตามกำหนดการ/แผนงาน 6) คณะทำงานบันทึกรายงานกิจกรรม

 

50 0

6. หักเงินสำรองเปิดบัญชี

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีการคืนเงินให้ผู้รับผิดชอบโครงการที่ได้สำรองเงินเปิดบัญชี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จ่ายเงินยืมเปิดบัญชีหัวหน้าโครงการ จำนวน 500 บาท

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 17 13                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 80,000.00 68,500.00                  
คุณภาพกิจกรรม 52                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายสุนทร ไผยา
ผู้รับผิดชอบโครงการ