directions_run

(13)พัฒนาการผลิตอาหารและสินค้าเกษตรปลอดภัในพื้นที่ คทช.สปก.ต.หงษ์เจริญ

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
จัดตั้งและพัฒนาคณะทำงานขับเคลื่อนอาหารสินค้าเกษตรปลอดภัยหงษ์เจริญ 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

พัฒนาฐานข้อมูลและแผนการผลิตรายชนิด/รายสินค้า/รายแปลง 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

จัดหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ไม้ผล กล้าไม้และปัจจัยการผลิต โดย สปก.ชุมพร,สมาคมประชาสังคมชุมพร และหน่วงงานอื่นๆ เช่น อบต.หงษ์เจริญ พัฒนาที่ดินฯ 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

อบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามฐานการเรียนรู้ 7 เรื่องให้แก่เกษตรกร 90 ครัวเรือน 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

จัดระบบการจัดการตลาด กำหนดกติการ่วมกันของชุมชนและความร่วมมือของกลไกลทุกภาคส่วน 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การจัดการมาตรฐานแปลง/สินค้าเกษตรปลอดภัย 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

การพัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ และจัดทำฐานข้อมูลสินค้าผ่าน Digital 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม 8 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ติดตามสรุปประเมินผลผลิตและรายได้ครัวเรือน 1 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

ปฐมนิเทศโครงการย่อย 4 มิ.ย. 2565 4 มิ.ย. 2565

 

วางแผนการทำงานและวิธีแก้ไขปัญหา แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ในการทำงานโครงการผู้ผลิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ตระหนักและรู้สึกอยากที่จะทำ โครงการเพื่อช่วยเหลือชุมชน สร้างคุณค่าให้กับตัวเอง แลกเปลี่ยนวิธีและกลไกการทำงาน

 

ได้มีโอกาสทบทวนความคิดตัวเองในการตัดสินใจมาทำโครงการ ย่อยฯ และเข้าใจเป้าหมายร่วมกันเป็นหนึ่งเดียว คือการแก้ไขปัญหาชุมชนที่ตัวเองอยู่เพื่อให้มีความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้น

 

แบบสอบถามประเด็นเกษตรทั้งก่อนและหลังทำโครงการ 10 มิ.ย. 2565 10 มิ.ย. 2565

 

เก็บข้อมูลแบบสอบถามประเด็นเกษตร

 

เก็บข้อมูลแบบสอบถามประเด็นเกษตร

 

การจัดตั้งและพัฒนาคณะทำงานขับเคลื่อนอาหารสินค้าเกษตรปลอดภัยหงษ์เจริญ ครั้งที่ 1 /2565 11 มิ.ย. 2565 11 มิ.ย. 2565

 

  1. จัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการฯ ภาคีเครือข่าย และสมาชิก เก่า/ ใหม่ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สมาชิก สหกรณ์การเกษตรฯจัดทำแผนงานดำเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่ พร้อมแบ่งบทบาทหน้าที่แต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ
  2. ประสานความร่วมมือกับภาคีขับเคลื่อนงานพื้นที่ ได้แก่ สปก.ชุมพร (เจ้าภาพ/ที่ปรึกษาหลัก) , อบต.หงษ์เจริญ, ชลประทาน ,ส่งเสริมการเกษตรฯ ,ส่งเสริมสหกรณ์จังหวัด, พัฒนาที่ดิน ,สมาคมประชาสังคมชุมพร  (เจ้าภาพโครงการ สสส./ที่ปรึกษาโครงการ คทช.)  พชอ., มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ฯลฯ

 

  1. จัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการฯ ภาคีเครือข่าย และสมาชิก เก่า/ ใหม่ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สมาชิก สหกรณ์การเกษตรฯจัดทำแผนงานดำเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่ พร้อมแบ่งบทบาทหน้าที่แต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ
  2. จัดตั้งและพัฒนาคณะทำงานขับเคลื่อนอาหารสินค้าเกษตรปลอดภัยหงษ์เจริญ
  3. ประสานความร่วมมือกับภาคีขับเคลื่อนงานพื้นที่ ได้แก่ สปก.ชุมพร (เจ้าภาพ/ที่ปรึกษาหลัก) , อบต.หงษ์เจริญ, ชลประทาน ,ส่งเสริมการเกษตรฯ ,ส่งเสริมสหกรณ์จังหวัด, พัฒนาที่ดิน ,สมาคมประชาสังคมชุมพร  (เจ้าภาพโครงการ สสส./ที่ปรึกษาโครงการ คทช.)  พชอ., มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ฯลฯ

 

กิจกรรม พัฒนาฐานข้อมูลและแผนการผลิตรายชนิด/รายสินค้า/รายแปลง ครั้งที่ 1/2565 19 มิ.ย. 2565 19 มิ.ย. 2565

 

  1. จัดประชุมพัฒนาฐานข้อมูล และจัดทำแผนการผลิตรายชนิด/ รายสินค้า/ รายแปลง เพื่อจัดทำแผนงานดำเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่
  2. คณะทำงานขับเคลื่อน สำรวจ จัดทำข้อมูล, การผลิตและแผนการผลิตรายชนิด/รายสินค้า/รายแปลง ที่เข้าร่วมโครงการ และจัดทำปฏิทินการผลิตทั้งในระดับครัวเรือนและระดับพื้นที่

 

  1. การประชุมพัฒนาฐานข้อมูล และจัดทำแผนการผลิตรายชนิด/ รายสินค้า/ รายแปลง เพื่อจัดทำแผนงานดำเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่
  2. สำรวจ จัดทำข้อมูล, การผลิตและแผนการผลิตรายชนิด/รายสินค้า/รายแปลง ที่เข้าร่วมโครงการ และจัดทำปฏิทินการผลิตทั้งในระดับครัวเรือนและระดับพื้นที่
  3. การจัดหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ไม้ผล กล้าไม้และปัจจัยการผลิต

 

กิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามฐานการเรียนรู้ ครั้งที่ 1/2556 26 มิ.ย. 2565 26 มิ.ย. 2565

 

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามความต้องการเรียนรู้ เรื่อง เทคนิคปลูกพืชผักปลอดสาร / ข้าวไร่ / สมุนไพร/ ไม้ผลยืนต้น ในรูปแบบเกษตรผสมผสาน/ เกษตรกรรมยั่งยืน
  2. จัดกลุ่มฝึกปฏิบัติการ แต่ละเรื่อง ๆ ละ 1-2 วัน  รุ่นละ 30 คน  เกษตรกรสามารถเข้าร่วมได้อย่างน้อย 2 เรื่อง/ ครัวเรือน

 

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการได้รับการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ เรื่อง เทคนิคปลูกพืชผักปลอดสาร ข้าวไร่ / สมุนไพร/ ไม้ผลยืนต้น ในรูปแบบเกษตรผสมผสาน/ เกษตรกรรมยั่งยืน
  2. การจัดหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ไม้ผล กล้าไม้และปัจจัยการผลิต

 

การจัดตั้งและพัฒนาคณะทำงานขับเคลื่อนอาหารสินค้าเกษตรปลอดภัยหงษ์เจริญ ครั้งที่ 2 /2565 3 ก.ค. 2565 3 ก.ค. 2565

 

  1. จัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการฯ ภาคีเครือข่าย และสมาชิก เก่า/ ใหม่ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สมาชิก สหกรณ์การเกษตรฯจัดทำแผนงานดำเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่ พร้อมแบ่งบทบาทหน้าที่แต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ
  2. ประสานความร่วมมือกับภาคีขับเคลื่อนงานพื้นที่ ได้แก่ สปก.ชุมพร (เจ้าภาพ/ที่ปรึกษาหลัก) , อบต.หงษ์เจริญ, ชลประทาน ,ส่งเสริมการเกษตรฯ ,ส่งเสริมสหกรณ์จังหวัด, พัฒนาที่ดิน ,สมาคมประชาสังคมชุมพร  (เจ้าภาพโครงการ สสส./ที่ปรึกษาโครงการ คทช.)  พชอ., มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ฯลฯ

 

  1. จัดประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการฯ ภาคีเครือข่าย และสมาชิก เก่า/ ใหม่ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สมาชิก สหกรณ์การเกษตรฯจัดทำแผนงานดำเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่ พร้อมแบ่งบทบาทหน้าที่แต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ
  2. จัดตั้งและพัฒนาคณะทำงานขับเคลื่อนอาหารสินค้าเกษตรปลอดภัยหงษ์เจริญ
  3. ประสานความร่วมมือกับภาคีขับเคลื่อนงานพื้นที่ ได้แก่ สปก.ชุมพร (เจ้าภาพ/ที่ปรึกษาหลัก) , อบต.หงษ์เจริญ, ชลประทาน ,ส่งเสริมการเกษตรฯ ,ส่งเสริมสหกรณ์จังหวัด, พัฒนาที่ดิน ,สมาคมประชาสังคมชุมพร  (เจ้าภาพโครงการ สสส./ที่ปรึกษาโครงการ คทช.)  พชอ., มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ฯลฯ

 

กิจกรรม พัฒนาฐานข้อมูลและแผนการผลิตรายชนิด/รายสินค้า/รายแปลง ครั้งที่ 2/2565 10 ก.ค. 2565 10 ก.ค. 2565

 

  1. จัดประชุมพัฒนาฐานข้อมูล และจัดทำแผนการผลิตรายชนิด/ รายสินค้า/ รายแปลง เพื่อจัดทำแผนงานดำเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่
  2. คณะทำงานขับเคลื่อน สำรวจ จัดทำข้อมูล, การผลิตและแผนการผลิตรายชนิด/รายสินค้า/รายแปลง ที่เข้าร่วมโครงการ และจัดทำปฏิทินการผลิตทั้งในระดับครัวเรือนและระดับพื้นที่

 

  1. การประชุมพัฒนาฐานข้อมูล และจัดทำแผนการผลิตรายชนิด/ รายสินค้า/ รายแปลง เพื่อจัดทำแผนงานดำเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่
  2. สำรวจ จัดทำข้อมูล, การผลิตและแผนการผลิตรายชนิด/รายสินค้า/รายแปลง ที่เข้าร่วมโครงการ และจัดทำปฏิทินการผลิตทั้งในระดับครัวเรือนและระดับพื้นที่
  3. การจัดหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ไม้ผล กล้าไม้และปัจจัยการผลิต

 

กิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามฐานการเรียนรู้ ครั้งที่ 2/2556 17 ก.ค. 2565 17 ก.ค. 2565

 

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามความต้องการเรียนรู้ เรื่อง เทคนิคปลูกพืชผักปลอดสาร / ข้าวไร่ / สมุนไพร/ ไม้ผลยืนต้น ในรูปแบบเกษตรผสมผสาน/ เกษตรกรรมยั่งยืน
  2. จัดกลุ่มฝึกปฏิบัติการ แต่ละเรื่อง ๆ ละ 1-2 วัน  รุ่นละ 30 คน  เกษตรกรสามารถเข้าร่วมได้อย่างน้อย 2 เรื่อง/ ครัวเรือน

 

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการได้รับการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ เรื่อง เทคนิคปลูกพืชผักปลอดสาร ข้าวไร่ / สมุนไพร/ ไม้ผลยืนต้น ในรูปแบบเกษตรผสมผสาน/ เกษตรกรรมยั่งยืน
  2. การจัดหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ไม้ผล กล้าไม้และปัจจัยการผลิต

 

อบรมพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ 30 ก.ค. 2565 30 ก.ค. 2565

 

เรียนรู้เรื่องการกรอกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์

 

อัพเดตการทำกิจกรรมตามแผนงานโครงการผ่านระบบได้

 

การจัดตั้งและพัฒนาคณะทางานขับเคลื่อนอาหารสินค้าเกษตรปลอดภัยหงษ์เจริญ ครั้งที่ 3/2565 20 ส.ค. 2565 20 ส.ค. 2565

 

  1. จัดประชุมคณะทางานขับเคลื่อนโครงการฯ ภาคีเครือข่าย และสมาชิก เก่า/ ใหม่ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สมาชิก สหกรณ์การเกษตรฯจัดทาแผนงานดาเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่ พร้อมแบ่งบทบาทหน้าที่แต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ
  2. ประสานความร่วมมือกับภาคีขับเคลื่อนงานพื้นที่ ได้แก่ สปก.ชุมพร (เจ้าภาพ/ที่ปรึกษาหลัก) สมาคมประชาสังคมชุมพร (เจ้าภาพโครงการ สสส./ที่ปรึกษาโครงการ คทช.) และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม

 

  1. คณะทางานขับเคลื่อนโครงการฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพทาให้ขับเคลื่อนงานโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดการจัดทาแผนการดาเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่ ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น เครือข่ายข้าวไร่ คนกล้าคืนถิ่น
  2. ประสานความร่วมมือกับภาคีขับเคลื่อนงานพื้นที่ ได้แก่ สปก.ชุมพร (เจ้าภาพ/ที่ปรึกษาหลัก), เรื่องการขับเคลื่อนงานโครงการร่วมกับเกษตรกรรายใหม่ และการดาเนินงานกิจกรรมต่างๆ ตามบันไดผลลัพธ์ของโครงการฯ , ประสานสมาคมประชาสังคมชุมพร (เจ้าภาพโครงการ สสส./ที่ปรึกษาโครงการ คทช.) และคนกล้าคืนถิ่นตามกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการต่างๆ

 

กิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามฐานการเรียนรู้ ครั้งที่ 3/2556 21 ส.ค. 2565 21 ส.ค. 2565

 

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามความต้องการเรียนรู้ เรื่อง เทคนิคการเพาะพันธุ์และขยายพันธุ์กล้าไม้เพื่อการค้า
  2. จัดกลุ่มฝึกปฏิบัติการ แต่ละเรื่อง ๆ ละ 1-2 วัน รุ่นละ 30 คน เกษตรกรสามารถเข้าร่วมได้อย่างน้อย 2 เรื่อง/ ครัวเรือน

 

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการได้รับการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ เรื่อง เทคนิคการเพาะพันธุ์และขยายพันธุ์กล้าไม้เพื่อการค้า
  2. การจัดหาและสนับสนุนเมล็ดพันธุ์ ไม้ผล กล้าไม้และปัจจัยการผลิต

 

จัดทำป้ายงดเหล้า บุหรี่ และป้ายบันไดผลลัพธ์ 1 ต.ค. 2565 1 ต.ค. 2565

 

จัดทำป้ายงดเหล้า บุหรี่ และป้ายบันไดผลลัพธ์

 

นำป้ายงดเหล้า บุหรี่ และป้ายบันไดผลลัพธ์ ติดในพื้นที่

 

การจัดตั้งและพัฒนาคณะทางานขับเคลื่อนอาหารสินค้าเกษตรปลอดภัยหงษ์เจริญ ครั้งที่ 4/2565 2 ต.ค. 2565 2 ต.ค. 2565

 

  1. จัดประชุมคณะทางานขับเคลื่อนโครงการฯ ภาคีเครือข่าย และสมาชิก เก่า/ ใหม่ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์สมาชิก สหกรณ์การเกษตรฯจัดทาแผนงานดาเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่ พร้อมแบ่งบทบาทหน้าที่แต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ
  2. ประสานความร่วมมือกับภาคีขับเคลื่อนงานพื้นที่ ได้แก่ สปก.ชุมพร (เจ้าภาพ/ที่ปรึกษาหลัก) สมาคมประชาสังคมชุมพร (เจ้าภาพโครงการ สสส./ที่ปรึกษาโครงการ คทช.) และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม

 

  1. คณะทางานขับเคลื่อนโครงการฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพทาให้ขับเคลื่อนงานโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดการจัดทาแผนการดาเนินงานเพิ่มศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรในพื้นที่ ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น เครือข่ายข้าวไร่ คนกล้าคืนถิ่น
  2. ประสานความร่วมมือกับภาคีขับเคลื่อนงานพื้นที่ ได้แก่ สปก.ชุมพร (เจ้าภาพ/ที่ปรึกษาหลัก), เรื่องการขับเคลื่อนงานโครงการร่วมกับเกษตรกรรายใหม่ และการดาเนินงานกิจกรรมต่างๆ ตามบันไดผลลัพธ์ของโครงการฯ , ประสานสมาคมประชาสังคมชุมพร (เจ้าภาพโครงการ สสส./ที่ปรึกษาโครงการ คทช.) และคนกล้าคืนถิ่นตามกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการต่างๆ

 

ทำฐานข้อมูลสินค้า 26 ต.ค. 2565 26 ต.ค. 2565

 

ทำฐานข้อมูลสินค้าของสมาชิกและเครือข่าย จำแนกประเภทของสินค้า

 

มีฐานข้อมูลและกำลังการผลิตสินค้าของสมาชิกและเครือข่าย

 

จำหน่ายในพื้นที่และออนไลน์ ครั้งที่1 28 ต.ค. 2565 31 ต.ค. 2565

 

เริ่มต้นจัดตั้งเพจเพื่อเป็นช่องทางการจัดจำหน่ายออนไลน์

 

มีเพจวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตอาหารปลอดภัยหงษ์เจริญ

 

ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย (ARE 1) 31 ต.ค. 2565 31 ต.ค. 2565

 

รายงานความคืบหน้าของโครงการ มีการแลกเปลี่ยนพูดคุยถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในการทำงาน

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำไปปรับใช้ในงานของตัวเอง

 

พัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 1 4 พ.ย. 2565 4 พ.ย. 2565

 

อบรมเรียนรู้พื้นฐานของการเป็นผู้ประกอบการ

 

เรียนรู้และเข้าใจในการเป็นผู้ประกอบการชุมชน

 

สนับสนุนหัวเชื้อทำสารชีวภัณฑ์ 7 พ.ย. 2565 28 ก.ย. 2566

 

จัดหาและรวบรวมเมล็ดพันธ์ุพื้นถิ่นที่ไม่ตัดแต่งพันธุกรรมเพื่อให้สมาชิกขยายพันธ์ุต่อได้

 

สมาชิกมีเมล็ดพันธุ์ที่ไม่ตัดแต่งพันธุกรรมและสมารถขยายพันธุ์ต่อได้จึงสามารถเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อได้เรื่อยๆ

 

กิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามฐานการเรียนรู้ ครั้งที่ 4/2556 การทำสารชีวภัณฑ์ 7 พ.ย. 2565 7 พ.ย. 2565

 

อบรมเรียนรู้เรื่องการทำเชื้อราไตรโครเดอร์มาร์ เชื้อบิวเวอร์เรีย และเชื้อเมธาเลเซียม เพื่อใช้เป็นสารชีวภัณฑ์ใช้ในการเกษตร เพื่อลดการใช้สารเคมีในการควบคุมแมลงและโรคพืช

 

1.เกิดฐานการเรียนรู้เรื่องการทำสารชีวภัณฑ์
2.สามารถทำสารชีวภัณฑ์ใช้เองได้
3.สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการทำสารชีวภัณฑ์ได้

 

จำหน่ายในพื้นที่และออนไลน์ ครั้งที่2 30 พ.ย. 2565 30 พ.ย. 2565

 

พัฒนาสินค้าแล้วทดลองขายให้กับหน่วยงาน(สปก.)เพื่อเป็นการทดลองตลาด

 

ผลิตภัณฑ์เป็นที่รู้จักมากขึ้น

 

พัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 2 9 ธ.ค. 2565 9 ธ.ค. 2565

 

เรียนรู้เรื่องการเพิ่มมูลค่าสินค้า เพื่ออกสู่ตลาดได้

 

นำผลผลิตมาแปรรูปสร้างมูลค่าให้กับสินค้า

 

สนับสนุนพันธุ์ปลาดุก 15 ธ.ค. 2565 28 ก.ย. 2566

 

ประสานภาคี กรมประมงเพื่อแจกจ่ายพันธุ์ปลาดุกให้สมาชิกได้สร้างรายได้

 

สมาชิกเลี้ยงเพื่อบริโภคทำให้ลดค่าใช้จ่ายภายในครัวเรือน และยังสามารถขายเพื่อสร้างรายได้ได้อีกช่องทางหนึ่งด้วย

 

จัดการมาตรฐานแปลง/สินค้า 19 ธ.ค. 2565 19 ธ.ค. 2565

 

1.อบรมการเรียนรู้เรื่องมาตรฐานเกษตรอินทรีย์และมาตรฐาน PGS 2.ดำเนินการขอมาตรฐาน PGS 3.ตรวจแปลงและรับรองมาตรฐาน

 

1.สมาชิกได้มาตรฐาน PGS 2.มีการพัฒนาแปลงอย่างต่อเนื่องเพื่อได้รับการรับรอง

 

พัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 3 16 ม.ค. 2566 16 ม.ค. 2566

 

เรียนรู้เรื่องการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เพื่อใก้สินค้าสามารถออกสู่ท้องตลาดได้

 

มหาวิทยาลัยแม่โจ้สนับสนุนบรรจุภัณฑ์สำหรับกล้วยฉาบและกล้วยตากให้กับกลุ่ม

 

สนับสนุนเม็ดพันธุ์ 18 ม.ค. 2566 28 ก.ย. 2566

 

เพาะพันธุ์กล้าไม้แจกจ่ายสมาชิก และประสาน สปก. เพื่อสนับสนุนพันธุ์ไม้ให้กับสมาชิก

 

สมาชิกมีพืชผักบริโภคเองแบบปลอดภัย และเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับพื้นที่ คทช.โดยการปลูกไม้เศรษฐกิจ

 

การจัดตั้งและพัฒนาคณะทำงานขับเคลื่อนอาหารสินค้าเกษตรปลอดภัยหงษ์เจริญ ครั้งที่ 5 /2566 19 ม.ค. 2566 19 ม.ค. 2566

 

1.จัดประชุมคณะทำงาน 2.สรุปกิจกรรมต่างๆที่จัดทำแล้ว 3.วางแผนการจัดกิจกรรมที่เหลือตามแผน

 

1.คณะทำงานวางวันและเวลาในการทำกิจกรรมให้เสร็จเรียบร้อยตามแผน 2.จัดหาอุปกร์ในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป

 

่จำหน่ายในพื้นที่และออนไลน์ ครั้งที่3 25 ม.ค. 2566 25 ม.ค. 2566

 

เรียนรู้เทคนิคการถ่ายภาพโปรโมทสินค้า เพื่อการจำหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์

 

มีรูปภาพโปรโมทผลิตภัณฑ์

 

จัดจำหน่ายในพื้นที่และออนไลน์ครั้งที่ 4 31 ม.ค. 2566 31 ม.ค. 2566

 

สร้างสตอรี่ให้กับผลิตภัณฑ์ผ่านทางออนไลน์

 

ประชาสัมพันธ์ผ่านทางออนไลน์

 

จำหน่ายในพื้นที่และออนไลน์ ครั้งที่ 5 10 ก.พ. 2566 10 ก.พ. 2566

 

ทดลองไลฟ์สดผ่านทางเพจเพื่อจำหน่ายสินค้า

 

สามารถจำหน่ายสินค้าได้

 

พัฒนาผู้ประกอบการรายใหม่ ครั้งที่ 4 21 ก.พ. 2566 21 ก.พ. 2566

 

ทดลองนำสินค้าออกขายสู่ตลาด และทำการตลาดต่อไป

 

มีผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม

 

หักเงินยืมเปิดบัญชีโครงการ 27 ก.พ. 2566 27 ก.พ. 2566

 

จ่ายเงินยืมเปิดบัญชีหัวหหน้าโครงการ จำนวน 500 บาท

 

มีการคืนเงินให้ผู้รับผิดชอบโครงการที่ได้สำรองเงินเปิดบัญชี

 

กิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามฐานการเรียนรู้ ครั้งที่ 5/2556 การทำของใช้ในครัวเรือน 18 มี.ค. 2566 17 มี.ค. 2566

 

จัดทำผลิตภัณฑ์ซักผ้า และน้ำยาล้างจาน เพื่อเป็นการลดรายจ่ายในครัวเรือน และพัฒนาให้เป็นผลิภัณฑ์ที่จะสร้างรายได้ให้กับชุมชน

 

1.คณะทำงานสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับสมาชิกได้ 2.เกิดฐานการเรียนรู้เรื่องการผลิตของใช้ในครัวเรือน

 

ติดตามสรุปประเมินผลผลิต รายได้ครัวเรือน และติดตามประเมินผลลัพธ์ (ARE ในพื้นที่) 20 มี.ค. 2566 20 มี.ค. 2566

 

ผู้ประเมินโครงการและคณะกรรมการลงพื้นที่ติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการและร่วมวิเคราะห์สถานะการและหาแนวทางแก้ไขปัญหา (ARE ในพื้นที่)

 

แนวทางแก้ไขปัญหาและพัฒนาในพื้นที่

 

จัดทำแผนการผลิตและแผนการผลิตรายชนิด/รายสินค้า/รายแปลง 27 มี.ค. 2566 27 มี.ค. 2566

 

1.เรียนรู้เรื่องตลาดนำการผลิตและความต้องการของตลาด ช่องทางการจัดจำหน่าย 2.วางแผนการผลิตและการตลาด เสริมทักษะการเป็นผู้ประกอบการ (แผนการผลิตและการตลาด กล้วย ฟักทอง ข้าวไร่) 3.วางแผนการจัดทำแผนธุรกิจ 4.ทำปฏิธินการผลิตระดับครัวเรือนและระดับพื้นที่

 

1.วางแผนการผลิตรายชนิด รายแปลงให้มีความสามารถในการผลิตวัตถุดิบให้เพียงพอในการทำผลิตภัณฑ์ 2.ประเมินผลผลิตเพื่อนำไปสู่การทำผลิตภัณฑ์ 3.จัดทำ business model canvas

 

กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการทำแผนธุรกิจ ครั้งที่ 6/2566 28 มี.ค. 2566 28 มี.ค. 2566

 

1.แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการเขียนแผนการผลิตและแผนการตลาดของกลุ่มและสหกรณ์ 2.วิเคราะห์ SWOT Analysis เพื่อการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ เป็นเครื่องมือในการประเมินสถานการณ์สำหรับการประกอบธุรกิจ 3.เขียนแผนการผลิตและการตลาดร่วมกัน

 

1.ผลิตภัณฑ์ที่สามารถทำได้และสามารถมีช่องทางการขายในตลาดชุมชน 2.แผนธุรกิจ

 

ประชุมติดตามประเมินผลลัพธ์โครงการย่อย ARE 10 เม.ย. 2566 10 เม.ย. 2566

 

อภิปรายการดำเนินงานโครงการความเชื่อมโยงสู่ชุมพรน่าอยู่และสมัชชาสร้างสุขภาคใต้  กลุ่มย่อยติดตามประเมินผลลัพธ์และนำเสนอผลการประเมิน

 

คัดเลือกโครงการที่เป็น the best และ good

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายสุขภาวะจังหวัดชุมพร 21 เม.ย. 2566 21 เม.ย. 2566

 

จัดทำ Road map ทบทวนบทเรียนและกลุ่มพื้นที่เป้าหมาย  เป้าหมาย/ผลลัพธ์/กระบวนการที่ต้องการให้เกิดขึ้น ความร่วมมือกับภาคีที่เกี่ยวข้อง

 

Road map ของประเด็นเกษตร พืชผัก ผลไม้ ปาล์มยั่งยืน ปศุสัตว์ ประมง และประเด็นคุณภาพชีวิต เด็กและเยาวชน วัยทำงาน ผู้สูงอายุ

 

กิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่เกษตรกรตามฐานการเรียนรู้ ครั้งที่ 7/2556 พลังงานทดแทน 26 เม.ย. 2566 26 เม.ย. 2566

 

ปฏิบัติ​การสร้างอุปกรณ์​แปรรูป​ผลิตภัณฑ์​อบแห้งแบบพึ่งตนเอง เรียนรู้และลงแรงร่วมกันทำตู้อบถังพลังถ่าน​ ตู้อบถังพลังแดด​ เตาชีวมวล​3​พลัง​ 1.​ ตู้อบถังพลังถ่าน​ ตู้อบแห้ง​ ผัก​ ผลไม้​ สมุนไพร​ระบบลมร้อน​ ใช้พลังงานจากถ่านด้วยเตาชีวมวลและโซลาร์​เซลล์​ 2.​ ตู้อบถังพลังแดด​ ตู้อบแห้ง​ ผัก​ ผลไม้​ สมุนไพร​ระบบลมร้อน​ ใช้พลังงานจากแสดแดดและโซลาร์​เซลล์​ 3.​ เตาชีวมวล​3​พลัง​ เตาชีวมวลทึ่ใช้เชื้อเพลิงชีวมวล​ ได้ทั้งไม้ฟืน​ แกลบ​ ขี้เลื่อย​ และถ่าน​ ในรูปแบบเตานรก​ เตาชีว​มวล​ และเตาชีว​มวล​ถ่าน​ชีวภาพ​

 

1.​ ตู้อบถังพลังถ่าน​ ตู้อบแห้ง​ ผัก​ ผลไม้​ สมุนไพร​ระบบลมร้อน​ ใช้พลังงานจากถ่านด้วยเตาชีวมวลและโซลาร์​เซลล์​ 2.​ ตู้อบถังพลังแดด​ ตู้อบแห้ง​ ผัก​ ผลไม้​ สมุนไพร​ระบบลมร้อน​ ใช้พลังงานจากแสดแดดและโซลาร์​เซลล์​ 3.​ เตาชีวมวล​3​พลัง​ เตาชีวมวลทึ่ใช้เชื้อเพลิงชีวมวล​ ได้ทั้งไม้ฟืน​ แกลบ​ ขี้เลื่อย​ และถ่าน​ ในรูปแบบเตานรก​ เตาชีว​มวล​ และเตาชีว​มวล​ถ่าน​ชีวภาพ​