task_alt

(17)ส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยสู่การท่องเที่ยวชุมชนตำบลบางน้ำจืด

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ (17)ส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยสู่การท่องเที่ยวชุมชนตำบลบางน้ำจืด

ชุมชน ตำบลบางน้ำจืด อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

รหัสโครงการ 65-00240-0017 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน พฤษภาคม 2565 ถึงเดือน กันยายน 2565

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ป้ายรงณรงค์ห้ามสูบบุหรี่และแอลกอฮอล์และป้ายโครงการฯ

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ป้ายไวนิลห้ามสูบบุหรี่และดื่มแอลกฮอล์ ขนาด 130x49 ซม. จำนวน 1 ป้าย ป้ายโครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยสู่การท่องเที่ยวชุมชนขนาด 100x50 ซม. จำนวน 1 ป้าย ค่าเดินทางไปประชุมคณะทำงานโครงการประชุมพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ ณ ห้องประชุม โรงแรมมรกตทวิน อ.เมือง จ.ชุมพร วันที่ 30 กรกฎาคม 2565

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • จัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ จำนวน 2 ป้าย
  • ค่าเดินทางไปประชุมคณะทำงานโครงการประชุมพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์

 

50 0

2. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัตการปฐมนิเทศโครงการย่อย

วันที่ 4 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.    ได้รับรู้และเข้าใจในโครงการ และสถานการณ์เกษตรและอาหารปลอดภัยภาพรวมของจังหวัดในปัจจุบัน 2.    ทราบถึงขั้นตอนการดำเนินโครงการให้สำเร็จ  ที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันทั้ง 25 โครงการ 3. การวิเคราะห์ปัญหาในพื้นที่ ด้วยสาเหตุ ผลกระทบ ทุนและศักยภาพของพื้นที่ โดยใช้ต้นไม้ปัญหา เพื่อการดำเนินงานโครงการตอบสนองต่อความต้องการของพื้นที่มากที่สุด 4.    สามารถออกแบบแผนกิจกรรมให้เหมาะสมตามศักยภาพ และความต้องการของพื้นที่ เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการบรรลุตามเป้าหมาย บันไดผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการเพื่อสร้างความเข้าใจในโครงการ 2.    ชี้แจงสถานการณ์สุขภาวะสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าหมายของจังหวัด 3.    แบ่งกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการขับเคลื่อนโครงการในแต่ละพื้นที่ เพื่อบรรลุตามเป้าหมาย บันไดผลลัพธ์ของโครงการ 4.    แนวทางการดำเนินการจัดการขับเคลื่อนโครงการเกี่ยวกับประเด็นเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพและประเด็นการจัดการโรคเรื้อรัง( NCD) ทั้ง 25 พื้นที่

 

2 0

3. อบรมพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เรียนรู้การบันทึกข้อมูลรายงานรายการการเงินผ่านระบบออนไลน์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

อบรมพัฒนาศักยภาพโครงการย่อยด้านการบันทึกข้อมูลผ่านระบบออนไลน์

 

1 0

4. อบรมนักสื่อสารสร้างสรรค์สังคมสุขภาวะ

วันที่ 20 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลิตสื่อได้ถูกต้องและสร้างสรรค์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. บรรยายการสร้างสื่ออย่างสร้างสรรค์
  2. แบ่งกลุ่มการสร้างสื่อออกเป็น 3 กลุ่มตามความสนใจ

- การเขียนข่าวและการทำกราฟิก - การผลิตสื่อเคลื่อนไหว - นักจัดรายการวิทยุและสื่อออนไลน์ 3. อบรมทฤษฎีและอบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตสื่อสร้างสรรค์ 4. สรุปผลการอบรม

 

1 0

5. ประชุมคณะทำงานโครงการฯ ครั้งที่ 1

วันที่ 30 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.แนวทางในการขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยสู่การท่องเที่ยวชุมชนตำบลบางน้ำจืด   2.สรุปแนวทางในการจัดกิจกรรมอบรมการทำสารชีวภัณฑ์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รูปแบบการจัดกิจกรรม 1. นางสุจิตรา หนูสุด รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืดกล่าวเปิดการประชุม 2. หัวหน้าโครงการบรรยายเกี่ยวรายละเอียดในการทำโครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยสู่การท่องเที่ยวชุมชนตำบลบางน้ำจืด 3. นางสาวสุณิสา ขันสมาน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืด กล่าวเรื่องคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน จำนวน 26 คน มีทั้งตัวแทนเกษตรกร เจ้าหน้าที่ อบต. และผอ.รพสต. เป็นที่ปรึกษา ในการดำเนินโครงการ 4. นางสาวสุณิสา ขันสมาน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืดพูดคุยเกี่ยวกับแนวทางในการดำเนินกิจกรรมการอบรมการใช้สารชีวภัณฑ์ จำนวน 1 ครั้ง 5. คณะทำงานพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิด เสนอ วันที่ 20 กันยายน 2565 6. นางสุจิตรา หนูสุด รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืด สรุปการประชุมและนัดหมายครั้งต่อไป

 

26 0

6. ส่งหนังสือเชิญวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรปลอดสารเคมีและการทำสารชีวภัณฑ์

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ค่าเดินทางส่งหนังสือเชิญวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรปลอดสารเคมีและการทำสารชีวภัณฑ์ สำนักงานเกษตรอำเภอหลังสวน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าเดินทางส่งหนังสือเชิญวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรปลอดสารเคมีและการทำสารชีวภัณฑ์ สำนักงานเกษตรอำเภอหลังสว

 

1 0

7. ส่งหนังสือเชิญวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรปลอดสารเคมีและการทำสารชีวภัณฑ์

วันที่ 12 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ค่าเดินทางส่งหนังสือเชิญวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรปลอดสารเคมีและการทำสารชีวภัณฑ์ สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าเดินทางส่งหนังสือเชิญวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรปลอดสารเคมีและการทำสารชีวภัณฑ์ สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร

 

1 0

8. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการทำเกษตรปลอดสารเคมีและการทำสารชีวภัณฑ์

วันที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ได้เรียนรู้และทดลองทำสารชีวภัณฑ์จากเชื้อราไตรโคเดอร์มา บิวเวอเรียและเมตาไรเซียม
  2. ลดต้นทุนการใช้สารเคมีในการกำจัดศัตรูพืช
  3. สร้างแนวร่วมในชุมชนให้หันมาทำเกษตรแบบปลอดภัย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. นางสาวสุณิสา ขันสมาน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืดกล่าวเปิดกิจกรรมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การทำสารชีวภัณฑ์”
  2. นางสาวน้ำฝน ลือขจร วิทยากร ให้ความรู้เกี่ยวกับสารชีวภัณฑ์ ที่3 ชนิดคือ เชื้อราไตรโคเดอร์มา บิวเวอเรียและเมตาไรเซียม
  3. ฝึกปฏิบัติการขยายสารชีวภัณฑ์ ทั้ง 3 ชนิด โดยการแบ่งเป็น 3 กลุ่มในการฝึกปฏิบัติการทำสารชีวภัณฑ์แต่ละชนิดมีการเปลี่ยนกลุ่มในการทดลองการทำเชื้อราไตรโคเดอร์มา บิวเวอเรียและเมตาไรเซียม
  4. อธิบายการนำสารชีวภัณฑ์ไปใช้ในการทำการเกษตร
  5. ผู้เข้าร่วมอบรมทำแบบประเมินความพึงพอใจโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจกิจกรรมเชิงปฏิบัติการ “การทำสารชีวภัณฑ์”

 

50 0

9. ประชุมคณะทำงานโครงการฯ ครั้งที่ 2

วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. แนวทางในการขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยสู่การท่องเที่ยวชุมชน ตำบลบางน้ำจืด
  2. สรุปผลจากการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “การทำสารชีวภัณฑ์”

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. นางสุจิตรา หนูสุด รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืดกล่าวเปิดการประชุม
  2. หัวหน้าโครงการบรรยายเกี่ยวรายละเอียดในการทำโครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยสู่การท่องเที่ยวชุมชนตำบลบางน้ำจืด สรุปผลแบบสอบถามความพึ่งพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม เชิงปฏิบัติการ “การทำสารชีวภัณฑ์”ให้คณะกรรมการรับทราบ
  3. คณะกรรมการได้พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดคาวมคิดเห็นจากการได้เข้าร่วมกิจกรรม เชิงปฏิบัติการ “การทำสารชีวภัณฑ์”ในวันที่ 20 กันยายน 2565
  4. นางสุจิตรา หนูสุด รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืด สรุปการประชุมและนัดหมายครั้งต่อไป

 

26 0

10. เวทีย่อยประเมินผลการเรียนรู้ ARE ครั้งที่ 1

วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.แนวทางในการขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยสู่การท่องเที่ยวชุมชนตำบลบางน้ำจืด   2.ปรับปรุงโครงการตรงกับความต้องการของสมาชิกโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. นางสุจิตรา หนูสุด รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืดกล่าวเปิดการประชุม
  2. นางสาวสุณิสา ขันสมาน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืด บรรยายเกี่ยวรายละเอียดในการทำโครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยสู่การท่องเที่ยว
    ชุมชนตำบลบางน้ำจืดและได้มีการเสนอเพิ่มเติมการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การทำตลาดออนไลน์”เพราะปัจจุบันนอกจากการขายสินค้าในตลาดปกติแล้วการขายสินค้าผ่าน
    ออนไลน์ก็มีความสำคัญจึงขอมติในการขอปรับปรุงโครการ
  3. คณะกรรมการเห็นด้วยกับการอบรมการทำตลาดออนไลน์และเปลี่ยนแปลงโครงการ
  4. นางสาวสุณิสา ขันสมาน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืด เสนอให้อาจารย์จากมหาวิลัยแม่โจ้ วิทยาเขตชุมพร เป็นวิทยากรในการอบรมการทำตลาดออนไลน์
    จึงขอมติในที่ประชุมเพื่อเลือกวันที่จะจัดอบรม
  5. คณะทำงานพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิด เสนอ วันที่ 20 ตุลาคม 2565
  6. นางสาวสุณิสา ขันสมาน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืด นอกจากอบรมการทำตลาดออนไลน์แล้ว ในวันที่ 18 ตุลาคมนี้ ยังมีการอบรมฝึกทักษะ ความรู้ด้านการ
    ขับเคลื่อนการดำเนินโครงการ การจัดเก็บข้อมูลประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับผิดชอบในแต่ละหมู่บ้านรับทราบและเข้าร่วมอบรมในวันที่ 18 ตุลาคมนี้ด้วยและทางอบต.จะมี
    หนังสือเชิญให้อีกครั้ง
  7. เริ่มกระบวนการติดตามประเมินผลลัพธ์(ARE) ครั้งที่ 1 มีคณะทำงานและภาคีจาก อบต.บางน้ำจืด รพ.สต.บางน้ำจืด เกษตรตำบล เข้าร่วม โดยมีการคลี่บันไดผลลัพธ์ ตัวชี้วัด บันไดขั้นที่ 1 เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนที่มีขีดความสามารถในการดำเนินงาน ได้คณะทำงาน 26 คน มาจากท้องถิ่น ท้องที่ และภาคประชาชน(หมู่บ้านนำร่อง หมู่ละ 2 คน) บันไดขั้นที่ 2 เกิดความร่วมมือกับภาคีและกติการ่วมของคนในชุมชน เกษตรกร/ผู้ประกอบการมีความสามารถเป็นวิทยากรในเรื่องการทำเกษตรปลอดภัยและการทำสารชีวภัณฑ์ 5 คน ปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้น เกิดจากคณะทำงานมีเวลาว่างไม่ตรงกันทำให้การบริหารการจัดกิจกรรมเกิดความล่าช้าไม่เป็นไปตามแผนงานที่ตั้งไว้
  8. นางสุจิตรา หนูสุด รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางน้ำจืด สรุปการประชุมและนัดหมายครั้งต่อไป

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 36 10                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 130,000.00 17,451.00                  
คุณภาพกิจกรรม 40                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ค่าเดินทางอบรมสื่่อสร้างสรรค์ ครั้งที่2 ( 2 ต.ค. 2565 - 3 ต.ค. 2565 )
  2. ส่งหนังสือเชิญวิทยากรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการทำตลาดออนไลน์ ( 11 ต.ค. 2565 )
  3. ฝึกอบรมทักษะ ความรู้ด้านการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการ การจัดเก็บข้อมูล ( 18 ต.ค. 2565 )
  4. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานด้านการขับเคลื่อนการดำเนินการโครงการ ( 18 ต.ค. 2565 )
  5. การจัดตลาดชุมชนจำหน่ายสินค้าเชื่อมโยงการอบรมเชิงปฏิบัติการทำตลาดออนไลน์ ( 20 ต.ค. 2565 )
  6. การจัดการสินค้าตลาดและท่องเที่ยวของชุมชน ( 20 ต.ค. 2565 )
  7. ประชุมคณะทำงานโครงการฯ ครั้งที่ 3 ( 25 ต.ค. 2565 )
  8. ค่าเดินทางเข้าร่วมกิจกรรม "การจัดเวทีสมัชชาสุขภาพจังหวัดชุมพร ( 26 ต.ค. 2565 )
  9. จัดเก็บข้อมูลรายหมู่บ้าน 14 หมู่ ( 23 พ.ย. 2565 - 7 ธ.ค. 2565 )
  10. เกิดการรักษาคุณค่าทางทรัพยากรและรายได้ในครัวเรือน ( 1 ธ.ค. 2565 - 31 มี.ค. 2566 )
  11. ประชุมคณะทำงานโครงการฯ ครั้งที่ 4 ( 27 ก.พ. 2566 - 16 ก.ค. 2567 )

(................................)
( นายธีระพันธ์ รัตนธรรม)
ผู้รับผิดชอบโครงการ