directions_run

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางรัก

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
เกิดกลไกการเตรียมรองรับ สังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

เกิดสภาพแวดล้อมเตรียมรองรับสังคม สูงวัย 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

เกิดพฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับ สังคมสูงวัย 4 มิติ ได้รับการเตรียม ความพร้อม 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

คุณภาพชีวิตเตรียมรองรับ สังคมสูงวัย 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

เกิดนโยบายแผนงาน โครงการเตรียมรองรับ สังคมสูงวัยของตำบล 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

บัญชีธนาคาร 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 1 มิ.ย. 2565 12 ต.ค. 2565

 

ประชุมคณะกรรมการชี้แจงรูปปฏิทินการทำงานและให้คณะกรรมการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน แบ่งเป็นช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 40 คน ช่วงอายุ 35-59 ปี จำนวน 160 คน ณ ห้องประชุม รพ.สต.บางรัก

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 21 คน โดยคณะทำงานได้ทราบเป้าหมาย ตัวชี้วัด และรูปแบบกิจกรรมในโครงการเตรียมรองรองรับสังคมสูงวัย รวมถึงหลักเกณฑ์และแแนวทางการค้นหากลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน ทั้งกลุ่มเป้าหมายหลัก 35-59 ปี จำนวน 160 คน และกลุ่มเป้าหมายรอง 60 ปีขึ้นไป จำนวน 40 คน

 

อบรม ช่างท้องถิ่น/ช่าง ชุมชน 1 มิ.ย. 2565 27 ก.ค. 2565

 

อบรมเชิงปฏิบัติการช่างท้องถิ่น และบุคลากรด้านสวัสดิการสังคมในการปรับสภาพพื้นที่ทั้งบ้านพักอาศัย/อาคารสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุ ณ อาคารโรงเลี้ยงเก่า วัดไร่พรุ

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 3 คน คือ 1.นายพินิจ หมื่นพล 2.นายบุญฤทธิ์ ศรีน้อย และ 3.นายศุภโชค อุไรรัตน์ โดยมีวิทยากร คือ นายตรีชาติ เลาแก้วหนู

  • ตัวแทนคณะทำงานและช่างอาสาเข้าร่วมเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาศักยภาพช่างชุมชน ณ วัดไร่พรุ
  • คณะทำงานและช่างได้เรียนรู้แนวคิดการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย สถานการณ์สังคมสูงวัยของจังหวัดตรัง
  • คณะทำงานได้เรียนรู้แนวคิดการปรับสภาพบ้านและพื้นที่สาธารณะปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุและคนทุกวัย และได้ชมตัวอย่างการปรับสภาพอาคารปฏิบัติธรรม ห้องน้ำ ทางลาด ของวัดไร่พรุ

 

จัดอบรมให้ความรู้ เตรียมรองรับสังคม สูงวัยแก่ กลุ่มเป้าหมาย 1 มิ.ย. 2565 15 ธ.ค. 2565

 

ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย เรื่อง เตรียมความพร้อมรองรับสังสูงวัยพร้อมตรวจวัดความดัน และเบาหวาน ณ วัดแจ้ง ต.บางรัก อ.เมืองตรัง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 53 คน โดยมีวิทยากร คือ นายวสวัตติ์ อมรเดชทวีสิทธิ์
- กลุ่มเป้าหมายเข้าใจรายละเอียดโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลบางรัก กิจกรรมหลัก ผลลัพธ์และตัวชี้วัดสำคัญ
และได้ให้ความรู้การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเน้นการเตรียมทั้ง 4 มิติ ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านการปรับสภาพแวดล้อม ด้านสังคม และด้านเศรษฐกิจการออม

 

ติดตามประเมินผล 4 มิติ 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ปฐมนิเทศโครงการย่อย 2 มิ.ย. 2565 2 มิ.ย. 2565

 

ปฐมนิเทศโครงการและบันทึกความร่วมมือเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะฯ พื้นที่จังหวัดตรัง สู่ธง ตรัง เมืองแห่งความสุข คุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืนประเด็นความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิฤต "ข้าว" และเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 3 คน คือ 1.นายพินิจ หมื่นพล 2.นางสุพิศ นกเอี้ยง และ 3.นายวิรัตน์ แก้วลาย
- ตัวแทนคณะทำงานโครงการเข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการย่อย ณ ห้องประชุม 116 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง
- ตัวแทนคณะทำงานได้ทำความรู้จักเป้าหมาย แนวทางการดำเนินงานของ Node Flagship จังหวัดตรัง
- คณะทำงานได้รับทราบแนวทางการขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์เตรียมรองรับสังคมสูงวัย โมเดลสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ผลลัพธ์ กิจกรรม และตัวชี้วัดสำคัญ
- มีการ MOU ความร่วมมือของหน่วยงานราชการ ท้องถิ่น ภาควิชาการ และภาคประชาชน ในการร่วมขับเคลื่อนประเด็นยุทธศาสตร์เตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 2 มิ.ย. 2565 2 มิ.ย. 2565

 

ยืมเงินทดลองเปิดบัญชี

 

คืนเงินยืมทดลองเปิดบัญชี

 

พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1 6 ก.ค. 2565 6 ก.ค. 2565

 

พัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ ณ ศูนย์ประชุมเฉลิมประเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา มอ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม คือ นายวิรัตน์ แก้วลาย

  • คณะทำงานได้เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบรองรับสังคมสูงวัย ณ ห้องประชุม ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง
  • คณะทำงานได้เรียนรู้แนวคิดการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ ได้แก่ มิติสุขภาพ มิติสังคม มิติเศรษฐกิจการออม และมิติการปรับสภาพแวดล้อม
    โดยมิติสุขภาพ เน้นการดูแลสุขภาพองค์รวม
    มิติด้านสังคม เน้นการสร้างปฏิสัมพันธ์
    มิติเศรษฐกิจการออม เน้นการปรับใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ การมีเงินออม และการนำเงินไปลงทุนในรูปแบบต่าง ๆ (ตามความเสี่ยงที่เหมาะสม)
    มิติสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย เน้นการปรับสภาพแวดล้อมที่รองรับคนทุกกลุ่ม ทั้งภายในบ้านและพื้นที่สาธารณะ

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 1 ส.ค. 2565 20 ต.ค. 2565

 

-ประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินโครงการ ณ ต.บางรัก อ.เมืองตรัง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 23 คน โดยคณะทำงานได้หลักเกณฑ์และแแนวทางการค้นหากลุ่มเป้าหมาย จำนวน 200 คน ทั้งกลุ่มเป้าหมายหลัก 35-59 ปี จำนวน 160 คน และกลุ่มเป้าหมายรอง 60 ปีขึ้นไป จำนวน 40 คน รวมถึงการชี้แจงทำความเข้าใจบันทึกสุขภาพ เตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 1 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2 1 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

ARE ครั้งที่ 1 1 ก.ย. 2565 17 พ.ย. 2565

 

ประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ประเด็น สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 4 คน คือ 1.นายประศาสน์ รอดภัย 2.นายวิรัตน์ แก้วลาย 3.นางสาวชุติกาญจน์ ตรีทอง และ 4.นางสาวดวงพร มะนะโส

  • ตัวแทนคณะทำงานได้เข้าร่วมเวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาครั้งที่ 1 ณ ห้องประชุม 116 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง
  • คณะทำงานได้เรียนรู้แนวทางการการดำเนินโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของพื้นที่ต่าง ๆ
  • คณะทำงานได้รับฟังแนวทางการดำเนินการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ ทั้งมิติสุขภาพ มิติสภาพแวดล้อม มิติด้านสังคม และมิติเศรษฐกิจการออม

 

ประชุมพัฒนา ศักยภาพ คณะทำงาน 1 ต.ค. 2565 2 มี.ค. 2566

 

คณะทำงานตำบลบางรัก ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบองค์การบริหารส่วนตำบลบางด้วน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการดำเนินการขับเคลื่อนโครงการของบางด้วน

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 21 คน โดยมีวิทยากร คือ นายพิศิษฎพงค์ ปัญญาศิริพันธุ์-รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางด้วน โดยคณะทำงานได้เรียนรู้การขับเคลื่อนโครงการของบางด้วน ได้เรียนรู้บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ วิธีการชักชวนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเก็บออมเงิน วิธีการหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ

 

สำรวจ จัดทำ ฐานข้อมูลเตรียม รองรับสังคมสูงวัย ทั้ง 4 มิติ 1 ต.ค. 2565 20 ต.ค. 2565

 

ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนประชาชนในพื้นที่ สร้างการรับรู้การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางรัก

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 67 คน โดยมีวิทยากร คือ นายวสวัตติ์ อมรเดชทวีสิทธิ์ ได้ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนประชาชนในพื้นที่ สร้างการรับรู้การเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

สำรวจจัดหาบ้าน เป้าหมายและ สถานที่สาธารณะ เพื่อปรับ สภาพแวดล้อม 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

ส่งเสริมการออม 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

ส่งเสริมให้ กลุ่มเป้าหมายออก กำลังกาย 1 ต.ค. 2565 1 เม.ย. 2566

 

ประชุมชี้แจงกิจกรรมออกกำลังกาย กำหนดวิทยากร กำหนดจำนวนวัน 5 วัน/สัปดาห์ ใช้เวลาวันละ 1 ชั่วโมงตอนเย็น กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการและประชาชนทั่วไป ณ ชุมชนตำบลบางรัก

 

ดำเนินกิจกรรมตั้งแต่เดือนเมษ.-มิ.ย. รวม 32 ครั้ง โดยในแต่ละครั้งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 10-15 คน โดยมีวิทยากรสอนเต้น คือ นายภานุมาศ อินนุรักษ์ ทำให้เกิดกลุ่มเต้นออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในชุมชน สร้างแกนนำกลุ่มในชุมชนได้

 

อบรมเรื่องการใช้สื่อ และเทคโนโลยีแก่ กลุ่มเป้าหมาย 1 ต.ค. 2565 15 มิ.ย. 2566

 

กำหนดกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ กำหนดวัน เวลาในการจัดกิจกรรม ประสานติดต่อวิทยากร ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลบางรัก

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน โดยมีวิทยากร คือ นายภูเมศร์ คงเกต ซึ่งผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่องเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น

 

เยี่ยมบ้านเสริมพลัง เพื่อนเยี่ยมเพื่อน 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

จัดทำบัญชี 1 ต.ค. 2565 1 ต.ค. 2565

 

จัดทำบัญชีการเงินและรายงานการใช้จ่ายแต่ละกิจกรรมในระบบ HappyNetwork ซึ่งแบ่งออกเป็นงวดที่ 1-3

 

นายพินิจ หมื่นพล ผู้จัดทำบัญชีการเงินและรายงานการใช้จ่ายในระบบ HappyNetwork เรียบร้อย

 

ป้ายปลอดบุหรี่ 1 ต.ค. 2565 19 ต.ค. 2565

 

ป้ายโครงการ

 

ป้ายโครงการ

 

ประสานงานและจัดทำโครงการ 1 ต.ค. 2565 1 ต.ค. 2565

 

ประสานงานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินกิจกรรมและการรายงานกิจกรรมในระบบ HappyNetwork

 

นายวิรัตน์ แก้วลาย ผู้ประสานงานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินกิจกรรมและการรายงานกิจกรรมในระบบ HappyNetwork เรียบร้อยสมบูรณ์

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 1 พ.ย. 2565 27 ม.ค. 2566

 

ประชุมคณะทำงานเรื่องขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพ ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางรัก

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน ทำให้เกิดร่างธรรมนูญสุขภาพตำบลบางรัก

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 1 ธ.ค. 2565 10 ก.พ. 2566

 

ประชุมคณะกรรมการหาหรือธรรมนูญสุขภาพ ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางรัก

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน โดยได้ร่างธรรมนูญสุขภาพตำบลบางรัก

 

ARE ครั้งที่ 2 1 ธ.ค. 2565 27 เม.ย. 2566

 

นัดคณะกรรมการประชุมการทำ ARE พื้นที่ตำบลบางรัก เพื่อสะท้อนผลลัพท์การดำเนินการที่ผ่านมา ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางรัก

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน ประกอบด้วย โหนดเฟลกชิพจังหวัดตรัง-นางสุวณี สมาธิ และคณะทำงาน ได้สะท้อนผลลัพท์ที่ผ่านมาแล้วนำผลการทำงานที่ยังไม่ได้ดำเนินการกำหนดแผนการดำเนินการรอบใหม่

 

ARE ครั้งที่ 3 1 ธ.ค. 2565 3 พ.ค. 2566

 

เวทีประเมินผลลัพท์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ณ อาคารเรียนรวม 1 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตตรัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 6 คน ประกอบด้วย 1.นายประศาสน์ รอดภัย 2.นางหนูพันธ์ มะนะโส 3.นางสาวชไมพร เที่ยงธรรม จิตตกูล 4.นายวิรัตน์ สั้นเต้ง 5.นางสุพิศ นกเอี้ยง และ 6.นายพินิจ หมื่นพล ร่วมสะท้อนผลลัพท์การทำงานของพื้นที่

 

นิทรรศการ 1 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 1 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

สรุปบทเรียน 1 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 3 1 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 1 ก.พ. 2566 26 มิ.ย. 2566

 

ประชุมคณะทำงานพิจารณาร่างธรรมนูญสุขภาพ ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลบางรัก

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน ได้ร่างธรรมนุญสุขภาพตำบลที่ได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการ

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 1 มี.ค. 2566