task_alt

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลเกาะลิบง

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลเกาะลิบง

ชุมชน ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0011 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน ตุลาคม 2565 ถึงเดือน มกราคม 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การประสานงานและจัดทำรายงานโครงการ

วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

การประสานงานความมือผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินกิจกรรม และจัดทำรายงานโครงการในระบบ HappyNetwork โดย นางสาววันดี โปสู่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การประสานงานความมือผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินกิจกรรม และจัดทำรายงานโครงการในระบบ HappyNetwork

 

2 0

2. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

วันที่ 3 ตุลาคม 2565 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 คน ประกอบด้วย คณะทำงาน- 1.นางสาวบุหลัน ติ้งเก็บ 2.นางสาวปู่เตะ หาดเด็น 3.นางหนึ่งหทัย สกุลส่องบุญศิริ 4.นางสาววันดี โปสู่ และ 5.นางสาวเพ็ญผกา ทะเลลึก

ร่วมทบทวนบันไดผลลัพธ์
- คณะบริหารทบทวนบันไดผลลัพธ์พร้อมทำความเข้าใจของบันไดแต่ละขั้นว่าจะเดินต่ออย่างไร
วางแผนขั้นตอนการจัดเวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
- ลงทะเบียน เปิดเวทีโดยประธานโครงการ แนะนำคณะบริหารโครงการและ ได้ชวนทีมคุยโดยคุณหมอหนึ่ง
คัดเลือกรายชื่อคณะทำงาน
-คณะบริหาร
นายมะหมีด ทะเลลึก ประธาน
1) นายณัฐวัฒน์ ทะเลลึก 2) น.ส วันดี โป่สู่ 3) น.ส ปู่เตะ หาดเด็น 4) น.ส เพ็ญผกา ทะเลลึก 5) นางสาวบุหลัน ติ่งเก็บ
คณะทำงาน
ผู้ใหญ่บ้าน ทั้ง 3 หมู่
1) นายยงยุทธ สักหลัด 2) นายสุขถวิล พระคง
ผู้นำศาสนา 1) นายมิตร แดงสี 2) นายอำนาจ ทะเลลึก 3) นายสมัด นันตสินธ์
อบต.
1) หมาด หวังดี 2) นายเชิดศักดิ์ แดงสี
เตรียมรองรับ
1) นายหวาเหด หะหวา 2) นายสุบิน เที่ยงธรรม 3) นายเฉ็ม สาลี
เจ้าหน้าที่อบต . 5 คน
1) พี่แหม่ม 2) นักพัฒนาชุมชน 3) จะมูนา 4) ช่าง 5) หัวหน้ากองสาธารณสุข
อสม . โซนละ 2 คน โซนแมงกะพรุน 1) ยุพิน ทะเลลึก 2) มาลิสา ทองใส
โซนหอยชักตีน 1) สาระ ทะเลลึก 2) สายรุ้ง บ้าเหร็ม
โซนดุหยง 1) วันดี แซ่ตั้น 2) ยิมมิละ สาลี
โซนประการัง 1) สุชาดา เหล็กเกิดผล 2) นงคราญ ติ่งเก็บ ม. 8
โซนปูเปี้ยว 1) สายพิน หมานหรา 2) สุดารัตน์ พระคง
โซนมังกร 1) ลาม้าย พระคง 2) พัชรมัย จิหม้ง
ม.6
โซนปูม้า 1) หย๊ะ หมาดตุด 2) วรรณี คงมะนี
โซนปลาดาว 1) ปริม แก้วทอง 2) นาถยา หาดเด็น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมเตรียมความพร้อมในการจัดเวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
-คณะบริหารโครงการทบทวนบันไดผลลัพธ์โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
-วางแผนขั้นตอนที่จะทำเวที ARE
-คัดเลือกรายชื่อคณะทำงานทั้ง 3 หมู่

ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านมดตะนอย

 

0 0

3. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5

วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 30 คน ประกอบด้วย คณะทำงาน, ส.อ.บ.ต., รพ.สต.บ้านมดตะนอย, ตัวแทน อ.ส.ม, ตัวแทนองค์กรศาสนา และแพทย์ประจำตำบล

เปิดโครงการโดยประธาน นายมะหมีด ทะเลลึก ได้แนะนำตัว ได้นำเสนอความสำคัญ และ วัตถุประสงค์ พร้อมพูดเรื่องต้นไม้ปัญหาให้คณะกรรมการฟัง
คุณหมอหนึ่งหทัย สกุลส่องบุญศิริ ได้พูดเรื่องบันไดผลลัพธ์ให้ทีมฟังและกิจกรรมที่เราทำมาแล้ว หลังจากนั้นได้ให้ทีมแบ่งกลุ่มและหาตัวแทนรับผิดชอบใน 4 ด้าน
1 ด้านสุขภาพ
ประธานคือ นายณัฐวัฒน์ ทะเลลึก รองประธาน สาระ ทะเลลึก เลขา สายรุ้ง บ้าเหร็ม
กรรมการ ได้แก่ 1) ปริม จันทร์แดง 2) สมทรง จันทร์แดง 3) วันดี แซ่ตั้น 4) ยิมมิละ สาลี
ที่ปรึกษา หนึ่งหทัย สกุลส่องบุญศิริ
ธัญญภัสร์ ข่าวดี
สิ่งที่จะทำในด้านสุขภาพ
1 ต้องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขภาพของคนในชุมชน
2 ต้องมีการคัดกรองเบาหวาน ความดันในกลุ่มเสี่ยง
3 ต้องมีการติดตามผลการคัดกรอง
4 มีการส่งเสริมการออกกำลังกาย
5 เยี่ยมบ้านให้กำลังใจผู้ปกครองและครอบครัวที่มีลูกหลานเสพยาเสพติด
6 มีการผสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องการบำบัดยาเสพติด
7 มีการให้ความรู้ในการดูแลตนเองและการป้องกันโรคในทุกช่วงวัย
8 เยี่ยมบ้านและให้กำลังใจผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง

ด้านเศรษฐกิจ
ประธาน หย๊ะ หมาดตุด รองประธาน บุหลัน ติ่งเก็ม เลขา สุชาดา หลักศิลา
กรรมการ ได้แก่ 1) ยุพิน ทะเลลึก 2) สายพิน หมานหรา
สิ่งที่จะทำ
1 รวมทีมเก็บข้อมูล ค้นหากลุ่มเป้าหมาย
2 สร้างกลุ่มอาชีพ แปรรูปอาหารทะเล ปลาหวาน ปลาเค็ม ไตปลา จัดสานเตยปาหนั้น กระเป๋า เสื้อ หมวก
3 การท่องเที่ยววิสาหกิจชุมชน
4 กองทุนสวัสดิการเงินออมแรกเกิด สูงวัย

ด้านสิ่งแวดล้อม
ประธาน รองประธาน มาลิสา ทองใส เลขา สุดารัตน์ พระคง
กรรมการ ได้แก่ พัชรมัย จิม้ง
สิ่งที่อยากทำ
1 ปรับเปลี่ยนที่อยู่อาศัยให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของสูงวัย
1.1 ห้องน้ำใช้แบบชักโคก
1.2 มีราวจับในห้องน้ำ
1.3 มีราวจับหน้าบันได
1.4 ปรับสภาพพื้นบ้านให้เป็นระดับเดียวกัน
2 ต้องมีการจัดการตั้งทีมคณะทำงานเพื่อการตรวจเยี่ยมผู้สูงวัย
2.1 ตรวจเยี่ยมให้กำลังใจสูงวัย
2.2 ชุมชนมีระบบดูแลผู้สูงวัยให้มีระบบการขับเคลื่อนร่างการ
2.3 ให้ความรู้ผู้สูงวัยในการบริโภคอาหารและยารักษาโรค
3 ปรับภูมิทัศน์บริเวณหมู่บ้าน
3.1 การจัดการขยะในชุม
3.2 การจัดการลูกน้ำยุงลาย
3.3 หน้าบ้านสวยหลังบ้านสวยด้วยพืชผักสวนครัว

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการ

1.ลงทะเบียนทั้ง 3 หมู่
2.เปิดโครงการโดยประธานโครงการ - นายมะหมีด ทะเลลึก
3.คณะบริหารดำเนินอธิบายกิจกรรมที่ทำมาแล้วให้ทีมฟัง
4.แบ่งกลุ่มให้มีตัวแทนรับผิดชอบแต่ละด้าน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจการออม
5.แต่ละกลุ่มอยากทำเรื่องไหรบ้างทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจการออม

ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านมดตะนอย

 

0 0

4. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 61 คน ประกอบด้วย อบต.เกาะลิบง, ตัวแทน อ.ส.ม, ตัวแทนวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดตรัง, รพ.สต. บ้านมดตะนอย, ตัวแทนโหนดเฟลกชิพตรัง (นายเชภาดร จันทร์หอม และนางสาวสริตา หันหาบุญ) โดยมีวิทยากร คือ นายตรีชาติ
เลาแก้วหนู -ม.อ.ตรัง

  • เตรียมรองรับสังคมสูงวัย มี 4 ด้าน ได้แก่ ด้านมิติสังคม ด้านสุขภาพ ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจ แต่พบปัญหา สมุดบันทึกไม่ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน โดยต้องเปลี่ยนเป็นแบบฟอร์ม แบบสำรวจข้อมูล ครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน
  • อสม.ได้ทำการสำรวจกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป ซึ่งได้พบปัญหาของกลุ่ม 35 ปีขึ้นไป มีกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัย
  • อาจาย์ตรีชาติ เลาแก้วหนู ได้แนะนำการปรับสภาพบ้านให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัย ในการใช้ชีวิตประจำวัน พื้นบ้าน พื้นห้องน้ำต้องไม่ลื่น ทางเดินภายในบ้านต้องมีราวจับและได้ลงพื้นที่สำรวจห้องน้ำที่มัสยิด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการ

ทบทวนบันไดผลลัพธ์และความก้าวหน้าของโครงการ โดย นายสมโชค สกุลส่องบุญศิริ -นักวิชาการสาธารณสุข
- แนวทางในการใช้สมุดบันทึกผู้สูงอายุ โดย นายสมโชค สกุลส่องบุญศิริ
- ติดตามการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันสูง กลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป โดย คุณหมอหนึ่งหทัย สกุลส่องบุญศิริ -พยาบาลวิชาชีพ - การปรับสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ตรีชาติ เลาแก้วหนู
- ก้าวต่อไปเพื่อดำเนินงาน" สามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย " ตำบลเกาะลิบง
- ระดมความคิดเห็นกลุ่ม

ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านมดตะนอย ต.เกาะลิบง อ.กันตัง จ.ตรัง

 

0 0

5. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่1

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ตัวแทนคณะทำงานโครงการเตรียมรองรับสังคม ต.เกาะลิบง จำนวน 5 คน คือ 1.นางสาวจิรารัตน์ แก้วพิทักษ์ 2.นายณัฐวัฒน์ ทะเลลึก 3.นางสาวธัญญภัสร์ ขาวดี 4.นางสาวเพ็ญผกา ทะเลลึก และ 5.นางสาววันดี โปสู่
1.กิจกรรมเช็คอิน (check-in)
2.ต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม โดย นายแพทย์จำรัส สรพิพัฒน์ ประธานคณะกรรมการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะจังหวัดตรัง
3.ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม พร้อมแนะองค์กรภาคียุทธศาสตร์ที่ร่วมขับเคลื่อนสำคัญระดับจังหวัด โดย นางสุวณี สมาธิ ผู้จัดการหน่วยจัดการระดับจุดเน้นสำคัญ ( โหนดเฟลกชิพ ) ตรัง
4.บรรยายพิเศษ บทบาทและภาคกิจการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ปี 2566-2570 จังหวัดตรัง โดย นายอนันต์ อัครสุวรรนกุล รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดตรัง
5.บรรยายพิเศษ บทบาทและภารกิจการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดย นางสาวจามีกร ปิ่นสุข พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดตรังหรือตัวแทน
6.การสะท้อนผลลัพธ์การดำเนินโครงการฯ บทเรียน ปัญหาอุปสรรค จากการดำเนินงานที่ผ่านมา และวางแผนแนวทางการปรับแผนการดำเนินงานในช่วงเวลาที่เหลืออยู่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การประชุมเวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา มีวัตถุประสงค์ ได้แก่
1.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์โครงการย่อยสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และการขับเคลื่อนการทำงานร่วมกับภาคียุทธศาสตร์
2.เพื่อรับฟังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียน ปัญหาอุปสรรค การดำเนินงานที่ผ่านมา และนำมาปรับปรุงวางแผนการดำเนินงานของหน่วยจัดการในระยะเวลาโครงการที่เหลืออยู่

ผู้เข้าร่วมประชุมรวม 70 คน
1.ตัวแทนคณะทำงานโครงการสวมภาคีสานพลังเตรียรองรับสังคมสูงวัย 11 โครงการ โครงการละ 5 คน จำนวน 55 คน
2.พี่เลี้ยง/ผู้ทรงคุณวุฒิโครงการ จำนวน 8 คน
3.วิทยากร ( ผู้แทนภาคียุทธศาสตร์ภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาควิชาการ ) จำนวน 5 คน
4.แขกรับเชิญ ( องค์กรผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย/เกี่ยวข้างอย่างมีนัยสำคัญ ) ( Node flagship ) จังหวัดตรัง จำนวน 5 คน

ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

 

3 0

6. สำรวจจัดเก็บฐานข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ (รวบรวมข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ทั้ง 4 มิติ)

วันที่ 1 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 คน คือ 1.นางสาววันดี โปสู่ 2.นางสาวบุหลัน ติ้งเก็บ 3.นางปู่เตะ หาดเด็น 4.นางสาวเพ็ญผกา ทะเลลึก และ 5.นางหนึ่งหทัย สกุลส่องบุญศิริ

วิธีการ
1 สรุปรายชื่อที่ได้มาทั้งหมด แยกเป็นรายหมู่บ้าน
2 สรุปผลการสำรวจ ทั้ง 4 มิติ ได้แก่ มิติสุขภาพ ( แยกตามกลุ่มเสี่ยง) มิติด้านสังคม (การเป็นสมาชิกกลุ่ม) มิติด้านเศรษฐกิจ (การออม) มิติด้านสิ่งแวดล้อม (การปรับสภาพบ้านไปสู่ผู้สูงอายุ)
3 สรุปรายชื่อ พร้อม ผลที่ได้จากการเก็บข้อมูล เพื่อนำเข้าที่ประชุม คณะกรรมการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการ

09.00 - 10.00 น. ประชุมชี้แจงและทบทวนกลุ่มเป้าหมาย ตามโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย พร้อมให้กลุ่มพี่เลี้ยงเล่าตามรายละเอียด ขบวนการลงพื้นที่ไปดูพูดคุยกับกลุ่มเป้าหมาย และเขียนใบสมัคร
10.00 - 15.00 น. นำรายชื่อที่ได้มาจากการสมัครใจ มารวบรวมและคัดแยกตามประเด็น

ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านมดตะนอย

 

0 0

7. จัดทำบัญชี

วันที่ 8 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้จัดทำบัญชี รายงานการเงินในระบบ HappyNetwork ตั้งแต่งวดที่ 1-3 คือ นางสาวเพ็ญผกา ทะเลลึก เรียบร้อยสมบูรณ์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำบัญชี รายงานการเงินในระบบ HappyNetwork ตั้งแต่งวดที่ 1-3

 

1 0

8. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7

วันที่ 23 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 14 คน
การประเมินผล จะประเมินตามกลุ่มเป้าหมาย ได้กลุ่มเป้าหมาย 200 คน ครบแก้ว
1.การสร้างทีม มีคำสั่งอบต.รายชื่อคณะกรรมการ 38 คน
1.2 มีจุดข้อมูลทั้ง 4 มิติ เป้าหมาย 200 คน สูงอายุ 54 คน 35-59 146 คน
1.3 มีบทเรียน
2.สภาพแวดล้อม
2.1มีกติกาในชุมชน
2.2ต้นแบบร้านค้า 1 ร้าน ทั้งหมด ม.6 1 ร้าน นางปรานี สักหลัด ม.8 1 ร้าน นายสุบิน เที่ยงธรรม ม.3
3.มิติด้านสิ่งแวดล้อม ครัวเรือนมีการปรับสภาพบ้านปลอดภัย ม.3 1 คน ม.6 1คน นายพิมล สักหลัด ม.8 1 คน นายอะเบ็น ะระคง ช่างชุมชนมีแล้ว  4.มิติสังคม  กลุ่มอาชีพ เป้าหมาย - กว่าจะได้กรรมการเกือบ 4 เดือน - ข้อมูลเป้าหมาย 2 คน เราต้องรอให้ตรงกับนัดคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 35-59 ประจำปี - สำรวจกลุ่มเป้าหมายขาดแต่ละหมู่ - 27 ธ.ค 65 ตัวแทนนำเสนอการดำเนินงาน - ชี้แจงการเงิน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การประชุมคณะทำงานเพื่อสรุปผลการดำเนินกิจกรรมของแต่ละหมู่บ้านในช่วงที่ผ่านมา
ม.8 การออมยังไม่เคลื่อนที่ ผู้สูงอายุทำกิจกรรมร่วมกับนักศึกษา  นัดประชุมความปลอดภัยของผู้สูงอายุ 2-3 ครั้ง
ม.6 จะหย๊ะ สิ่งที่ทำ - คัดกรอง,ประชุมวันที่ 15 ของทุกเดือน, คุยกับโต๊ะอิหม่ำทุกวันที่ 2 ของทุกเดือนหลังละหมาด, สมาชิกการออม 105 คน ,สวัสดิการปี 365 บาท แจก 3 ราย นอน รพ.คืน 600 บาท, สตรีบ้านหาดยาว แปรรูปปลาหวาน รับซื้อขยะ
ม.8 คัดกรองเบาหวาน ความดัน
ม.3 คัดเลือกผู้สูงอายุ รอลงพื้นที่สำรวจสภาพบ้าน และ ร้านค้าต้นแบบ

ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านมดตะนอย

 

0 0

9. ลงพื้นที่เยี่ยมประเมินบ้านผู้สูงอายุ

วันที่ 25 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 14 คน โดยการสำรวจข้อมูลบ้านผู้สูงอายุ ได้แก่

1.นางสาว ฮก ทะเลลึก อายุ 83 ปี บ้านเลขที่ 7/1
ลักษณะบ้าน
1.บ้านท้องถุน
2.อยู่คนเดียว
3.ห้องน้ำห่างจากบ้าน 5 เมตร
4.โถนั่งยอง
5.พื้นห้องน้ำต่างระดับ
6.ไม่มีราวจับ บ้าน/ห้องน้ำ
7.ใช้ไม้เท้าในการเดิน
8.ห้องน้ำไม่มิดชิด/หลังคารั่ว ฝ้ากั้น
9.มีเงินออม
10.ไม่มีรายได้
11.มีผู้ดูแล น.ส.รัตนา ยีเจะเอ็ม

  1. นางแม๊ะนะ ทะเลลึก อายุ 83 ปี บ้านเลขที่ 125
    ลักษณะบ้าน
    1.บ้านท้องถุน
    2.อยู่คนเดียว
    3.ไม่มีห้องน้ำ/ห้องส้วม
    4.ไม่มีรายได้
    5.ไม่มีผู้ดูแล
    6.พร้อมช่วยสมทบ

  2. นาย บุหลาด พระคง อายุ 74 ปี บ้านเลขที่ 131
    ลักษณะบ้าน
    1.บ้านท้องถุน
    2.อยู่คนเดียว
    3.เป็นผู้พิการ
    4.ห้องน้ำแยก ห่างจากบ้าน 2 เมตร
    5.ห้องน้ำโถ่นั่งยอง
    6.ไม่มีราวจับ บ้าน/ห้องน้ำ
    7.มีเงินออม
    8.ใช้ไม้เท้าในการเดิน
    9.มีผู้ดูแล น.ส.ทิพยา ทะเลลึก

4.นาย หยัน ไมหมาด อายุ 70 ปี บ้านเลขที่ 31/1
ลักษณะบ้าน
1.บ้านปูน 2 ชั้น
2.อยู่ 6 คน
3.ห้องน้ำอยู่ในบ้าน/โถนั่งยอง/พื้นต่างระดับ
4.ไม่มีราวจับในบ้าน/ห้องน้ำ
5.ไม่มีรายได้
6.ไม่มีเงินออม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการ

09.00 - 09.30 น.  รวบรวมสมาชิก วางแผนการลงพื้นที่
09.30 - 12.00 น.  เยี่ยมบ้าน นางสาวฮก ทะเลลึก กับ นางแหม๊ะน๊ะ ทะเลลึก
13.00 น -15.00 น.  เยี่ยมบ้าน นายหยัน ไมหมาด กับ นายบุหลาด พระคง

ณ ชุมชนบ้านมดตะนอย

 

0 0

10. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8

วันที่ 26 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 คน คือ 1.นางหนึ่งหทัย สกุลส่องบุญศิริ 2.นางสาวยุพิน ทะเลลึก 3. นางสาวบุหลัน ติ้งเก้บ 4.นางสาววันดี โปสู่ และ 5.นางสาวเพ็ญผกา ทะเลลึก

สรุปกระบวนการทำงาน
1. การพัฒนากลไกคณะทำงาน - จุดเริ่มต้นมีการร่างคณะทำงานก่อนว่าจะมีใคร/หน่วยงาน ไหนที่จะเข้ามาร่วมขับเคลื่อนโครงการบ้าง ( แบบใบร่าง )
- คณะกรรมการบริหารโครงการ ได้มีการจัดประชุมแกนนำจาก 3 หมู่บ้าน เพื่อให้ค้นหา/คัดเลือก บุคคลที่จะมาร่วมเป็นคณะกรรมการ
- ประชุมทำความเข้าใจกับการทำงาน เพื่อให้มีความเข้าใจโดยการร่วมกันก่อนลงมือดำเนินงาน
- แบ่งบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการตามมิติ 4 มิติ ( ด้านสุขภาพ,สังคม,สิ่งแวดล้อม,เศรษฐกิจ ) โดยคัดเลือกประธานการดูแลในแต่ละมิติพร้อมคณะกรรมการ
- คณะกรรมการแต่ละมิติ การออกแบบการทำงนของตนเองเพื่อไปสู่ความสำเร็จของโครงการ
- มีการติดตามผลการดำเนินงานผ่านการประชุมทุกเดือน โดยมีการให้แต่ละกลุ่ม แต่ละหมู่บ้าน รายงานความก้าวหน้าในการทำโครงการ เสนอ ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินงาน และวางแผนการดำเนินงานเพื่อไปสู่ความสำเร็จของโครงการ

2 บทเรียนการเก็บข้อมูลเพื่อให้ได้ชุดข้อมูลเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล 4 มิติ ( มิติสุขภาพ,สังคม,สภาพแวดล้อม,เศรษฐกิจ )
- อสม.ออกสำรวจข้อมูลตามรายชื่อกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 200 คน ครั้งที่1 สำรวจโดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพ " เตรียมสูงวัย " หลังสำรวจนำข้อมูลมารวบรวม พบว่า " ได้ข้อมูลไม่ครอบคลุม 4 มิติ"
- ออกแบบรายงานการเก็บข้อมูลชุดที่ 2  โดยใช้แบบสำรวจข้อมูล " ตามโครงการ สามภาคีสานพลัง เตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตำบลเกาะลิบง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง "  ซึ่งออกแบบการเก็บข้อมูล ครบ 4 มิติ
- ส่งแบบฟอร์มข้อมูลให้กับคณะกรรมการแต่ละหมู่บ้านสำรวจข้อมูล กลุ่มเป้าหมาย ตามรายชื่อ 200 คน
- คณะกรรมการแต่ละหมู่บ้านส่งแบบฟอร์มพร้อมข้อมูลที่สำรวจแล้วกลับมายังคณะกรรมการบริหาร
- คณะกรรมการรวบรวมข้อมูลแต่ละมิติ พร้อมตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลซ้ำ โดยการสอบถามเพิ่มเติมในกรณีไม่ถูกต้อง
- เตรียมข้อมูลที่รวบรวมได้ไปวางแผนเพื่อออกแบบในการดูแลและสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการตนเองตามกลุ่มเป้าหมาย

3.บทเรียน การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ " เตรียมรองรับสังคมสูงวัย "
- ขอข้อมูลกลุ่มอายุ 35-59 ปี และกลุ่ม 60 ปีขึ้นไป จาก รพ.สต.บ้านมดตะนอย
- จัดสรรโควต้า ให้แต่ละหมู่ เพื่อไปค้นหาเป้าหมายของตนเองในแต่ละหมู่บ้าน
- แต่ละหมู่บ้าน นำเป้าหมายมาพูดคุยกัน ในแต่ละเขตการรับผิดชอบของ อสม. และค้นหาเป้าหมายประชาชนในเขตรับผิดชอบของแต่ละ อสม. เข้าร่วมโครงการ
- ส่งรายชื่อ กลุ่มเป้าหมายมายังคณะทำงาน เพื่อรวบรวมและกลั่นกรอง
- ส่งข้อมูลกลับให็พื้นที่แต่ละหมู่บ้าน รับทราบว่ามีใครบ้าง ที่เข้าร่วมอยู่โครงการสรุปข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในโครงการ กลุ่มอายุ 35-59 ปี จำนวน 146 คน คิดเป็นร้อยละ 73 กลุ่ม 60 ปีขึ้นไป จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 27
- ทำความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับโครงการและบทบาทของประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ ว่าต้องมีส่วนร่วมอย่างไรบ้าง
- คณะทำงานของแต่ละหมู่บ้าน ออกเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงาน เพื่อรวบรวมข้อมูล ที่ได้มาทั้งหมด สรุปลงในแผ่นชาร์ต ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านมดตะนอย

 

0 0

11. เวทีแลกเปลี่ยนรู้กับ สสส.

วันที่ 27 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม คือ 1.นางสาววันดี โปสู่ และ นางสาวเพ็ญผกา ทะเลลึก

1.การจัดตั้งคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ในระดับตำบล ปัจจัยความสำเร็จ
- สามภาคีให้ความร่วมมือ
- ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน บุคคลที่คนในชุมชนเคารพ มาร่วมดำเนินงาน - คณะทำงานชุดใหญ่ คณะทำงานชุดเล็ก รู้บทบาทหน้าที่ ชัดเจน มีความรู้
- มีการประชุมคณะทำงานชุดเล็ก บ่อยครั้งตามกิจกรรม บันใดผลลัพธ์
- มีแผนการดำเนินงานครบทุกด้าน ประเมินผล
- มีการกำหนดระยะเวลาดำเนินกิจกรรมโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การประชุมถอดบทเรียน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างการดำเนินงานโครงการส่ามภาคีสานพลัง เตรียมรองรับสังคมสูงวัย สู่การพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม
กำหนดการเวลา 10.00 น.-16.00 น. ณ ห้องประชุมอาคารเอนกประสงค์ริมชายหาดหัวหิน ต.บ่อหิน อ.สิเกา จ.ตรัง

 

10 0

12. ส่งเสริมการจัดกิจกรรม กลุ่ม ส่งเสริมการออม (จัดทำเวทีประชาคม การออม)

วันที่ 9 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 35 คน โดยจากการสำรวจ ผู้สูงอายุ ของ ม.3 ส่วนใหญ่ มีรายไม่มีรายได้ที่แน่นอน รับจ้างทั่วไป ขายขยะ แกะปู รายได้จากเงินผู้สูงอายุ และ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ทั้งหมด 103 คน
พบว่า มีการออม แค่ 70 คน และมีผู้สูงอายุสนใจการออม คิดเป็นเปอร์เซ็น 95 % และไม่สนใจแค่ 5%บางคนมีการออมบ้าง ออมบ้างไม่ออมบ้าง
มีการออกความคิดเห็นจากผู้สูงอายุ ว่า การออมไม่จำเป็นต้องออมเป็นเงิน การประหยัดไฟก็ถือว่าเป็นการออม การพบขยะที่ลอยมาที่หาดนำมาขายก็ถือว่าเป็นการออม จะบุหลัน พูดเรื่องการออม ว่าเพื่ออนาคตข้างหน้า คณะกรรมการเสนอให้ผู้สูงอายุว่า มี 3 ตัวเลือก
รูปแบบที่1 เวียนกันให้เวียนกันได้ จะเป็นการได้เงินก้อน แต่ต้องมีคนค้ำ ไม่มีสวัสดิการ
รูปแบบที่ 2 การออมแบบขายขยะ  สะสมเงินที่ได้จากการขายขยะ ถอนได้ เดือนละครั้ง
รูปแบบที่ 3 เพื่อนช่วยเพื่อน โครงการวันละ 1 บาท มีสวัสดิการ ไม่ได้เงินคืน
สรุปผู้สูงอายุ เลือก การออมแบบโครงการวันละ 1 บาท และโครงการ การออมแบบขายขยะ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดการ
09.00-11.00 น. ลงพื้นที่สำรวจผู้สูงอายุ เรื่อง การออม
11.00-12.00 น. สุรุปผู้สูงอายุที่มีการออม
13.00-16.30 น. ประชาคม เรื่อง การออม

ณ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านมดตะนอย ต.เกาะลิบง จ.ตรัง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 39 20                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 58,140.00                  
คุณภาพกิจกรรม 80                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายมะหมีด ทะเลลึก
ผู้รับผิดชอบโครงการ