directions_run

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลเกาะลิบง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น(ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ และภาคีภาคประชาชน)มีศักยภาพในการ เตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้กับประชาชนในตำบล
ตัวชี้วัด :
1.00

 

2 1.เกิดกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1.1 มีกลไกคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยจำนวน ๑๕ คน ที่ ประกอบด้วยภาคีที่หลากหลาย ประกอบด้วย ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ ได้แก่ รพ. สต. อสม. ภาคีภาคประชาชน ได้แก่ แกนนำชมรมผู้สูงอายุ ท้องที่ และแกนนำกลุ่ม องค์กรภาคประชาชน 1.๒ มีการนำเข้าข้อมูลคนเปราะบาง (ผู้สูงอายุ คนพิการและคนยากจน) เข้าสู่ ระบบ imed @home
1.00

พื้นทีโครงการพยายามออกแบบกลไกคณะทำงาน ออกเป็น 4 มิติ โดยมีคณะกรรมการบริหารโครงการ เป็นผู้เชื่อมกรรมการทั้ง4 มิติ และมีหน้าที่ในการรายงานผล การจัดการเรื่องการเงินการบัญชี

3 2.เกิดสภาพแวดล้อมเตรียม รองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : มิติสุขภาพ 2.1 มีกติกาชุมชนในการดูแลสุขภาพเพื่อรักษาสุขภาพให้ปลอดโรคปลอดภัยสูงวัย แข็งแรง 2.2 มีการรณรงค์ให้ความรู้เชิดชูเกียรติผู้ที่มีการดูแลสุขภาพปลอดโรคปลอดภัย 2.3 มีร้านลดหวานมันเค็ม 1 ร้าน 2.4 มีระบบดูแลผู้มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว (Long Term Care) ผ่านมาตรฐานร้อย ละ 80** มิติสภาพแวดล้อม 2.5 มีครัวเรือนที่มีการปรับสภาพบ้านให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ (เจ้าบ้านปรับ เอง/ปรับโดยชุมชน/ปรับโดยหน่วยงาน เช่น อปท. พมจ. ) อย่างน้อยจำนวน ๒ ครัวเรือน 2.6 มีพื้นที่สาธารณะในชุมชน เช่น วัด หรือ มัสยิด หรือ ศาลเจ้า หรือ อาคารและ สถานที่ของราชการ มีการปรับสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ อย่าง น้อย 1 จุด 2.7 มีช่างชุมชน/เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้าใจแนวคิดและสามารถ ให้คำแนะนำการปรับสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุอย่างน้อย 2 คน
1.00

1.ปรับสภาพแวดล้อมห้องส้วมปลอดภัย 3 มัสยิดๆละ1ห้อง 2.ปรับสภาพแวดล้อมครัวเรือนโดยการจัดการให้มีการปลูกผักกินเองในถังขยะอินทรีย์

4 3.เกิดพฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติได้รับการเตรียมความพร้อม
ตัวชี้วัด : มิติสุขภาพ 3.1 กลุ่มเป้าหมายมีดัชนีมวลกายผ่านเกณฑ์ร้อยละ/มีพฤติกรรมลดการสูบบุหรี่ ร้อยละ 25 มิติสังคม 3.2 กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 25 มีการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม (ชมรมผู้สูงอายุ/โรงเรียน ผู้สูงอายุ/กลุ่มอื่นๆ ) อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 3.3 กลุ่มเป้าหมายมีการไปเยี่ยมผู้สูงอายุในชุมชน ร้อยละ 10 3.๔ กลุ่มเป้าหมายเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเท่าทันสื่อและเทคโนโลยี ร้อยละ 25 มิติเศรษฐกิจ 3.๕ กลุ่มเป้าหมายมีการออมเตรียมสูงวัยด้วยเงิน ได้แก่ สถาบันการเงินในชุมชน ธนาคาร กอช. ประกันตนเองมาตรา 40 กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ อย่างน้อย 2 รูปแบบ ร้อยละ 25

 

5 4.เกิดคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
ตัวชี้วัด : ด้านสุขภาพ 4.1 กลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองและมีความเสี่ยงเป็น โรคเบาหวานน้อยกว่าร้อยละ 10 มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงน้อยกว่า ร้อยละ 5 4.2 กลุ่มเสี่ยงเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ลดลง มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ5 4.3 กลุ่มเสี่ยงเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตรายใหม่ลดลง มากกว่าหรือเท่ากับร้อย ละ5 4.4 กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 4.5 กลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตที่ควบคุมระดับได้ดีมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60 4.6 กลุ่มติดเตียง ได้รับการดูแลร้อยละ 80
1.00

1.มีการสนับสนุนให้มีอุปกรณ์ในการคัดกรองความเสี่ยง ทั้ง 8กลุ่มโซน อสม. ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการคัดกรองได้มากขึ้น 2.อสม.แต่ละกลุ่มโซนคัดกรองความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานความด้นโลหิตสูง ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2565 กำหนดส่งรายงานการคัดกรอง วันที่ 30 พฤศจิกายน 2565
3.ระหว่างการดำเนินการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย 35 ปีขึ้นไป อสม.ดำเนินการรับสมัครสมาชิกเข้าร่วมโครงการเตรีบมรองรับสังคมสูงวัย ตามความสมัครใจของแต่ละกลุ่มโซน โดยกำหนดกลุ่มอายุ 35-59 ปี ครอบคลุม ร้อยละ 80 กลุ่มอายุ 60ปีขึ้นไปครอบคลุมร้อยละ 20 ขณะนี้อยู่ระหว่างการดำเนินกิจกรรม

6 5.เกิดนโบบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล
ตัวชี้วัด : 5.1 มีการบรรจุแผนงานโครงการสนับสนุนการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูง วัยในแผนพัฒนาท้องถิ่นและหรือกองทุนสุขภาพตำบล 5.2 มีและใช้ธรรมนูญสุขภาวะชุมชนในการขับเคลื่อนการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ของพื้นที่  

สนับสนุนกระบวนการขับเคลื่อนแผนที่สอดคล้องกับการดำเนินงานปกติของพื้นที่ โดยเริ่มจากการปรับมุมมอง ปรับวิธีการคิดมองผลลัพธ์ให้ครอบคลุมทั้ง ๔ มิติ ที่มีความเชื่อมโยงกันผ่านการจัดทำโครงการของแต่ละพื้นที่

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ประชากร 60 ปีขึ้นไป 40
ประชากรอายุ 35-59 ปี 160

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น(ภาคีท้องถิ่น ภาคีสุขภาพ และภาคีภาคประชาชน)มีศักยภาพในการ เตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้กับประชาชนในตำบล (2) 1.เกิดกลไกการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง (3) 2.เกิดสภาพแวดล้อมเตรียม รองรับสังคมสูงวัย (4) 3.เกิดพฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติได้รับการเตรียมความพร้อม (5) 4.เกิดคุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (6) 5.เกิดนโบบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนากลไกเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง (2) พัฒนาสภาพแวดล้อมเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (3) พฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงวัย 4 มิติ (4) คุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (5) พัฒนานโยบายแผนงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยของตำบล (6) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (7) บัญชีธนาคาร (8) เวทีประเมิณผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (9) เวทีประเมิณผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (10) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (11) ให้ความรู้ระดับครัวเรือนเรื่องการปรับ สภาพบ้านให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ (12) เวทีปฐมนิเทศโครงการ (13) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ  ครั้งที่1 (อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ) (14) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (15) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (16) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (17) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (18) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่2 (ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้โปรแกรม canva และรายงานกิจกรรมและบันทึกรายงานการเงินในระบบ www.happynetwork.org) (19) ร่วมกำหนดทิศทางการ เตรียมรองรับสังคมสูงวัย (20) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 (21) อบรมให้ความรู้ (22) สำรวจ จัดเก็บ ฐานข้อมูล เตรียมรองรับสังคมสูงวัย ๔ มิต (23) จัดทำกติกาชุมชนในการดูแลสุขภาพเพื่อ รักษาสุขภาพให้ปลอดโรคปลอดภัย สูงวัย แข็งแรง (24) ค้นหาบุคคลต้นแบบ ร้านค้าต้นแบบ ใน การสร้างสุขภาพ (25) ส่งเสริมการจัดกิจกรรม กลุ่ม ส่งเสริมการออม (26) ติดตามเยี่ยมเสริมพลัง กลุ่มติดเตียง โดยการมีส่วนร่วม (27) จัดทำบัญชี (28) การประสานงานและจัดทำรายงานโครงการ (29) จัดทำป้ายปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ (30) จัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินโครงการ (31) เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด  ครั้งที่1 (32) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 (33) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3 (34) เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด  ครั้งที่ 2 (35) เวทีแลกเปลี่ยนรู้กับ สสส. (36) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 (37) ลงพื้นที่เยี่ยมประเมิณบ้านผู้สูงอายุ (38) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 (39) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 (40) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10 (41) เวทีร่วม  ARE (42) ส่งเสริมอาชีพการปลูกผักให้กับกลุ่มเป้าหมาย (43) ปรับสภาพแวดล้อมห้องน้ำมัสยิดเพื่อความปลอดภัย (44) เยี่ยมติดตามกิจกรรมส่งเสริมอาชีพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (45) การต่อยอดส่งเสริมอาชีพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (46) ปรับสภาพห้องน้ำมัสยิด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh