task_alt

โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลท่าพญา

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 3

ชื่อโครงการ โครงการสามภาคีสานพลังเตรียมรองรับสังคมสูงวัยเทศบาลตำบลท่าพญา

ชุมชน ตำบลท่าพญา อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0007 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 พฤษภาคม 2566

รายงานงวดที่ : 3 จากเดือน กุมภาพันธ์ 2566 ถึงเดือน พฤษภาคม 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ ความรู้การเตรียมรองรับ สังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ (2)

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 07:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 160 คน วิทยากร คือ นางสาวสุพินดา ติ้งซุ่ยกุล โดยผู้เข้าร่วมได้ตรวจสุขภาพเบื้องต้นวัดความดัน ชั่งน้ำหนัก เจาะเลือด วัดรอบเอว เพื่อประเมินอาการเบื้องต้นหากมีความผิดปกติจะนัดหมายเเพื่อตรวจซ้ำ และติดตามที่ รพ.สต.ต่อไป และให้ความรู้เรื่องการปฏิบัติตัวเช่นก การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การสร้างอารมณ์ให้สดใส่ห่างไกลโรค

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การอบรมให้ความรู้การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ ครั้งที่ 2 กำหนดการ คือ 1.ลงทะเบียน 2.ตรวจสุขภาพเบื้องต้น และ 3.ให้ความรู้การเตรียมสังคมสูงวัย 4มิติ เน้นปัญหาสุขภาพ ณ ศาลาบำเพ็ญกุศลวัดท่าพญา

 

0 0

2. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2

วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมติดตามการดำเนินงานคณะทำงาน 21 คน และผู้เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย นายนิรัตน์ รัตนสุรการย์-ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน, คณะทำงานโหนดเฟลกชิพตรัง (นายเชภาดร จันทร์หอม-ผู้ประสานงาน และนางจำเนียร มานะกล้า-ที่ปรึกษา) และภาคประชาชน โดยชี้แนะแนวทางการขับเคลื่อนของคณะกรรมการให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดหลังจากสรุปเกิดแผนการดำเนินงานการลงพื้นที่จัดทำประชาคมธรรมนูญสุขภาพระดับหมู่บ้านและระดับตำบล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 2 เพื่อแสดงความคิดเห็น และติดตามการดำเนินกิจกรรมโครงการ ณ สำนักงานเทศบาลตำบลท่าพญา

 

0 0

3. ดำเนินการร้านค้าลดหวาน มัน เค็ม

วันที่ 23 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ร้านค้าจำนวน 15 ร้านเข้าร่วมโครงการร้านลดหวานมันเค็มและลดโฟม ร้านค้ามีความรู้และแนวทางในการปรับพฤติกรรมการประกอบอาหาร ซึ่งรพ.สต.ร่วมกับ อสม.ลงประเมิน ติดตามร้านค้า และมอบป้ายร้านค้าที่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 5 ร้าน และร้านต้นแบบ 1 ร้าน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ชี้แจงกิจกรรม 2.หาร้านสมัครใจ 3.อบรม
4.วีดีทัศน์ 5.สรุปร้านเข้าร่วม 6.ประเมินร้านค้า

ณ ห้องประชุม รพ.สต.ท่าพญา อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

 

0 0

4. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

วันที่ 28 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมคณะทำงาน 21 คน และผู้เกี่ยวข้อง ประกอบกอบด้วย นายนิรัตน์ รัตนสุรการย์-ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงาน, ภาคประชาชน, คณะทำงานโหนดเฟลกชิพตรัง (นางสาวศรีหัทยา ชูสุวรรณ-ผู้ทรงคุณวุฒิ และ นางสุวณี สมาธิ-ผู้จัดการ), ทต.ท่าพญา, อสม., รร.ผู้สูงอายุ, สภาองค์กรชุมชน, รพ.สต., ช่างชุมชน, และอบต.บางด้วน เพื่อทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมาติดปัญหาอุปสรรคอะไรที่ทำให้งานเราไม่สามารถเดินได้ตามเป้าหมายและกำหนดทิศทางการเฃดำเนินงานในช่วงสุดท้ายก่อนปิดโครงการให้ผู้รับผิดชอบดำเนินการให้แล้วเสร็จรวมทั้งดำเนินการเรื่องการจัดทำธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3 เพื่อติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรมโครงการ ณ สำนักงานเทศบาลตำบลท่าพญา

 

0 0

5. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 2

วันที่ 31 มีนาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคณะกรรมการ จำนวน 10 คน ในการสรุปผลการดำเนินตามกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายกิจกรรมการให้ความรู้มีผู้ร่วมโครงการ 160 คน มีการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและการให้ความรู้การดูแลสุขภาพเพื่อเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะอนุกรรมการด้านสุขภาพ ครั้งที่ 2 เพื่อสรุปการทำกิจกรรมและวางแผนการลงพื้นที่ ณ รพ.สต.ท่าพญา อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

 

0 0

6. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 5 คน ประกอบด้วย 1.นายนิรัตน์ รัตนสุรการย์ 2.นายชนพัฒน์ สุนทรกิจจาภรณ์ 3.นางสุวรรณ ส่งศรี 4.นางกุสุมา กุลบุญ และ 5.นายวิษณุ ปราบโรค ได้รับทราบวัตถุประสงค์การประเมินครั้งที่ 2 ทบทวนบันไดผลลัพธ์ของตัวเองว่าดำเนินการถึงไหนสำเร็จมากน้อยแค่ไหน รวมถึงได้รับทราบผลของพื้นที่อื่นๆเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานเพื่อปรับปรุงตนเอง  ในช่วงสุดท้ายโครงการและกำหนดแผนในการจัดทำธรรมนูญสุขภาพตำบลท่าพญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

วัตถุประสงค์ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์โครงการย่อย และการขับเคลื่อน การทำงานร่วมกับภาคียุทธศาสตร์ ร่วมถึงรับฟัง แลกเปลี่ยนบทเรียน สรุปบทเรียน นำเสนอผลการดำเนินงานตามโครงการ ระยะดำเนินการตั้งแต่ 1 พ.ค.65-31 มี.ค.66 ณ อาคารเรียนรวม 1 ม.อ.ตรัง

 

3 0

7. กิจกรรมให้ความรู้หลัก 3 อ

วันที่ 11 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 36 คน ประกอบด้วย ชุมชนท้องถิ่น (ภาคีท้องถิ่น สุขภาพ และประชาชน) บรรยายให้ความรู้โดยเจ้าหน้าที่เทศบาลตำบลท่าพญา นำโดย นายกเทศมนตรีตำบลท่าพญา เจ้าพนักงานสาธารณสุขและนักพัฒนาชุมชน เริ่มการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินงานโครงการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยทั้ง 4 มิติ  เจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายถูกวิธิสำหรับช่วงอายุต่างๆ เช่น การเต้นแอโรบิกหรือวิ่งสำหรับหนุ่มสาว การรำ รำมวย การเดิน สำหรับผู้สูงอายุ การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และการลดอาหารหวานมันเค็ม อารมจิตใจต้องสบายร่าเริ่งเสมอโดยการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม นันทนาการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

อบรมให้ความรู้หลัก 3 อ. ณ ศาลาการเปรียญ วัดท่าพญา ม.4 ต.ท่าพญา

 

0 0

8. จัดทำร่างธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย หมู่ที่ 4

วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 28 คน ประกอบด้วย ชุมชนท้องถิ่น (ภาคีท้องถิ่น สุขภาพ และประชาชน) โดยมีวิทยากร คือ นายชนพัฒน์ สุนทรกิจจาภรณ์ และนางสาวฐิติมา บุญเกื้อ ให้ความรู้เรื่องธรรมนูญสุขภาพของพื้นที่ต่างๆ และระดมความคิดเห็นธรรมนูญหรือข้อตกลงที่คนหมู่ที่ 4 ที่สามารถทำร่วมกันและไม่กระทบต่อการใช้ชีวิต โดยจะนำข้อสรุปมาประชาคมระดับตำบลต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ให้ความรู้ และระดมความคิดเห็นธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย กับชาวบ้าน ม.4 ณ ศาลาอเนกประสงค์ ม.4 ต.ท่าพญา

 

0 0

9. จัดทำร่างธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย หมู่ที่ 1

วันที่ 16 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 22 คน ประกอบด้วย ชุมชนท้องถิ่น (ภาคีท้องถิ่น สุขภาพ และประชาชน) โดยมีวิทยากร คือ นายชนพัฒน์ สุนทรกิจจาภรณ์ และนางสาวฐิติมา บุญเกื้อ ให้ความรู้เรื่องธรรมนูญสุขภาพของพื้นที่ต่างๆ และระดมความคิดเห็นธรรมนูญหรือข้อตกลงที่คนหมู่ที่ 1 ที่สามารถทำร่วมกันและไม่กระทบต่อการใช้ชีวิต โดยจะนำข้อสรุปมาประชาคมระดับตำบลต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ให้ความรู้ และระดมความคิดเห็นธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย กับชาวบ้าน ม.1 ณ ศาลาอเนกประสงค์ ม.1 ต.ท่าพญา

 

0 0

10. จัดทำร่างธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย หมู่ที่ 3

วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน ประกอบด้วย ชุมชนท้องถิ่น (ภาคีท้องถิ่น สุขภาพ และประชาชน) โดยมีวิทยากร คือ นายชนพัฒน์ สุนทรกิจจาภรณ์ และนางสาวฐิติมา บุญเกื้อ ให้ความรู้เรื่องธรรมนูญสุขภาพของพื้นที่ต่างๆ และระดมความคิดเห็นธรรมนูญหรือข้อตกลงที่คนหมู่ที่ 3 ที่สามารถทำร่วมกันและไม่กระทบต่อการใช้ชีวิต โดยจะนำข้อสรุปมาประชาคมระดับตำบลต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ให้ความรู้ และระดมความคิดเห็นธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย กับชาวบ้าน ม.3 ณ ศาลาอเนกประสงค์ ม.3 ต.ท่าพญา

 

0 0

11. จัดทำร่างธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย หมู่ที่ 2

วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 58 คน ประกอบด้วย ชุมชนท้องถิ่น (ภาคีท้องถิ่น สุขภาพ และประชาชน) โดยมีวิทยากร คือ นายชนพัฒน์ สุนทรกิจจาภรณ์ และนางสาวฐิติมา บุญเกื้อ ให้ความรู้เรื่องธรรมนูญสุขภาพของพื้นที่ต่างๆ และระดมความคิดเห็นธรรมนูญหรือข้อตกลงที่คนหมู่ที่ 2 ที่สามารถทำร่วมกันและไม่กระทบต่อการใช้ชีวิต โดยจะนำข้อสรุปมาประชาคมระดับตำบลต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ให้ความรู้ และระดมความคิดเห็นธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย กับชาวบ้าน ม.2 ณ ศาลาอเนกประสงค์ ม.2 ต.ท่าพญา

 

0 0

12. ประชาคมระดับตำบลเพื่อรับรองธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลท่าพญา

วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 62 คน ประกอบด้วย อบท.บางด้วน, อสม., กองการศึกษา, กศน.ต.ท่าพญา, กองคลัง/ทต.ท่าพญา, กองช่าง, รพ.สต., สภาองค์กรชุมชน, สมาชิกสภาเทศบาล, เลขานุการฯ นายกเทศมนตรี, นักวิเคราะห์นโยบายและแผน, สภาเด็กและเยาวชน จ.ตรัง, เทศบาลตำบล และโหนดเฟลกชิพตรัง วิทยากร คือ นายพิศิษฏพงค์ ปัญญาศิริพันธ์ุ ซึ่งให้ข้อเสนอแนะ ทบทวน เพิ่มเติมและการรับรองธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลท่าพญา ที่ได้รับจาก 4 หมู่บ้าน โดยนำข้อมูลที่ได้จากการประชาคมระดับหมู่บ้านมาวิเคราะห์ร่วมกัน โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมวันนี้ มาจากหลายๆภาคส่วน ประกอบด้วย ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น ฝ่ายปกครอง ครู ศพด. อผส.ชมรมองค์กรต่างๆในพื้นที่ รวม 60 คนเข้าร่วมโดยมีข้อสรุปร่วมกันประกาศใช้ธรรมนูญสุขภาพเตียมรองรับสังคมสูงวัยตำบลท่าพญา

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมให้ความรู้ เสนอแนะ และรับรองร่างธรรมนูญสุขภาพเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ต.ท่าพญา ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาล ต.ท่าพญา อ.ปะเหลียน จ.ตรัง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 38 31                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 107,412.49                  
คุณภาพกิจกรรม 124                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายนิรัตน์ รัตนสุรการย์
ผู้รับผิดชอบโครงการ