แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมรวมกับหน่วยงานจัดการ สสส 18 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

ประชุมคณะทำงาน เพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน 25 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

เวทีปฐมนิเทศโครงการ ระดับหน่วยจัดการ 17 ก.ย. 2565 17 ก.ย. 2565

 

กล่าวต้อนรับและหัวหน้าโครงการชี้แจงนำเสนอกรอบโครงการการและเป้าหมายเชิงผลลัพธ์ที่คาคหวังร่วมกันระหว่างหน่วยจัดการและกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส.โดย นางนฤมล ฮะอุรา ,ชี้แจงรายละเอียดสัญญาโครงการย่อย ,แบ่งกลุ่มย่อยตามพี่เลี้ยงและร่วมกันคลี่โครงการ ,เรียนรู้การบริหารจัดการโครงการ และ การบริหารงบการเงิน และ คลี่ข้อมูลกิจกรรม และรายงานการเงินในระบบออนไลน์

 

การคลี่โครงการ การเขียนรายงานโครงการในระบบ การทำรายงานสัญญาโครง และ คลี่กิจกรรมในออนไลน์

 

ประชุมคณะทำงาน เพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน ครั้งที่ 1 25 ก.ย. 2565 25 ก.ย. 2565

 

  • 9.00 - 9.30 น. ประธานโครงการกล่าวเปิดพิธีเพื่อเสริมความบารอกัตในการทำงาน
  • 9.30 - 10.00 น. พูดคุยชี้แจงภาพรวมของโครงการกับทีมงาน
  • 10.00 - 11.00 น. เปิดเวทีแลกเปลี่ยน/เสนอข้อคิดเห็นในการดำเนินงานในแต่ละส่วน พร้อมทั้งมอบหมายงานรับผิดชอบแต่ละฝ่าย
  • 11.00 -11.30 น. เลขาในโครงการสรุปมติที่ประชุมเกี่ยวกับหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย
  • 11.30 - 12.00 น. นัดประชุมและติดตามความก้าวของเนื้องานที่ได้รับหมอบหมาย พร้อมประธานโครงการกล่าวปิดประชุม

 

  • ประธานโครงการ นายรอยาลี กียะ กล่าวเปิดพิธีเพื่อเสริมความบารอกัตในการทำงาน

  • พูดคุยชี้แจงภาพรวมของโครงการกับทีมงาน มีการชี้แจงว่าอย่างไร เนื้อหาในการชี้แจง พูดคุยประเด่นในการจะลงพื้นที่ครั้งแรกว่าจะต้องเตรียมอะไรบ้าง

  • เปิดเวทีแลกเปลี่ยน/เสนอข้อคิดเห็นในการดำเนินงานในแต่ละส่วน พร้อมทั้งมอบหมายงานรับผิดชอบแต่ละฝ่าย ในเวทีมีข้อเสนอแนะอะไรบ้าง มีการมอบหมายหน้าที่อย่างไร ใครรับผิดชอบเรื่องอะไร โดย นายรอยาลี กียะ จะเป็นหัวหน้าในการควบคุมงานตลอดโครงการ     นางสาวฮุสนา ตีมุง จะเป็นเจ้าหน้าที่การเงิน และผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์     นางสาวยูไวรียะ ยูโซะ จะเป็นเลขาค่อยสรุปโครงการและรวบรวมกิจกรรมต่างๆ     นายจิตพร สายทะพัน จะเป็นคนดูแลในการลงพื้นที่และการจัดกิจกรรมนอกสถานที่     นายอามีนันต์ วอลี จะเป็นผู้ช่วยในการลงพืนที่

  • นัดประชุมและติดตามความก้าวของเนื้องานที่ได้รับหมอบหมาย พร้อมประธานโครงการกล่าวปิดประชุม นัดประชุมครั้งต่อไปวันที่เท่าไหร่วันที่ 25 ตุลาคม มอบหมายงานใคร ทำอะไรบ้าง โดยจะมอบหมายตามเดิม และสอบถามข้อมูลที่ได้รับมอบหมายในครั้งนี้ว่าบรรลุตามเป้าหมายที่ว่างไว้หรือเปล่าอย่างไร

 

ลงพื้นสำรวจและสร้างความร่วมมือและข้อตกลงในการทำธุรกิจร่วมกับกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ปลาตากแห้งชุมชนบางตาวา 8 ต.ค. 2565 8 ต.ค. 2565

 

  • 9.00 - 9.30 น. นัดเจอกันที่มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
  • 9.30 - 10.00 น. เดินทางสู่ชุมชนบางตาวา
  • 10.00 - 12.00 น. พูดคุยกับผู้ประกอบอาชีพประมงในพื้นที่
  • 12.00 -13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
  • 13.00 - 14.00 น. เดินทางสู่ชุมชนสายบุรี
  • 14.00 - 16.00 น. พูดคุยกับผู้ประกอบการในพื้นที่
  • 16.00 - เป็นต้นไปเดินทางกลับบ้าน

 

ชุมชนบางตาวา - พูดคุยชี้แจงภาพรวมของโครงการกับชาวบ้าน โดย อาจารย์ที่ซากี นิเซ็ง ว่าด้วยโครงการที่ทำจะช่วยในการขยายสินค้าของชุมชน และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาเพื่อให้ได้มูลค่าเพิ่มขึ้น - นายมะยากี สาแม ได้เล่าถึงปัญหาการถูกกดราคาจากนายหน้าในพื้นที่เนื่องจากติดหนี้เถ้าแก่ ขาดรายได้ในช่วงที่มรสุมเข้าเพราะออกเรือไม่ได้เป็นเรือเล็ก ชุมชนบางสายบุรี - พูดคุยชี้แจงภาพรวมของโครงการกับชาวบ้าน โดย อาจารย์ที่ซากี นิเซ็ง ว่าด้วยโครงการที่ทำจะช่วยในการขยายสินค้าของชุมชน และพัฒนาผลิตภัณฑ์จากปลาเพื่อให้ได้มูลค่าเพิ่มขึ้น - นางสาวศุภมาส ปรีดานนท์ (แต๋ม) เป็นเถ้าแก่รับซื้อของสดจากเช้าบ้านในราคาสูงทำให้เกิดปัญหากับเถ้าแก่รายอื่น สืบเนื่องจากเถ้าแก่รายอื่นกดราคา ซึ่งแต๋ม เป็นผู้ประกอบการที่ต้องการช่วยชุมชนที่ตัวเองอาศัยอยู่โดยการรับซื้อของสดโดยที่ตัวเองยังมีกำไร และต้องการขยายพื้นที่ และปัญหาที่ตามมาก็คือ เเกิดการคู่กันว่าทำไม่ถึงทำแบบนี้ทำให้ผู้ประกอบการอื่นเดือดร้อน

 

จัดอบรมและวางแผนการทำงานของสมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจกลุ่มเป้าหมาย และจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมขนเป้าหมาย 11 ต.ค. 2565 11 ต.ค. 2565

 

  • คณะทำงานลงพื้นที่สำรวจชุมชนเป้าหมาย เพื่อชี้แจงภาพรวมของโครงการที่จะเกิดขึ้นแก่กลุ่มเป้าหมาย ให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
  • จัดเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ทัศนคติ และประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน
  • คลี่ปัญหา และหาแนวทางในการแก้ไข สำรวจข้อคิดเห็นของสมาชิกต่อภาพรวมของสิ่งที่อยากให้เกิดขึ้นในโครงการ
  • คัดเลือกหัวหน้าของสมาชิกเพื่อเป็นตัวแทนในการประสานงานกับคณะทำงานใสการดำเนินงานครั้งถัดไป

 

  • คณะทำงานลงพื้นที่สำรวจชุมชนเป้าหมาย เพื่อชี้แจงภาพรวมของโครงการที่จะเกิดขึ้นแก่กลุ่มเป้าหมาย ให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน
  • จัดเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ทัศนคติ และประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน
    ในเวทีมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนประเด็นใดบ้าง
    1 ประเด่น อาชีพในชุมชน ซึ่งจะพบว่าส่วนใหญ่คนในชุใชนจะทำอาชีพประมง และกรีดยาง และเป็นลูกจ้าง 2 ความต้องการของชุมชนที่อยากให้ช่วย โดยเราจะบอกก่อนว่าเราไม่ได้มีทุนให้แต่เราจะช่วยในการขยายส่วนที่ชาวบ้านมีอยู่แล้ว ดังนั้นชาวบ้านต้องการให้หาช่วยหาตลาดในการส่งออกผลิตภัณฑ์ของตัวเองหรือช่วยสอนในการแปรรูปผลิตภัณฑ์

  • คลี่ปัญหา และหาแนวทางในการแก้ไข สำรวจข้อคิดเห็นของสมาชิกต่อภาพรวมของสิ่งที่อยากให้เกิดขึ้นในโครงการ ที่ประชุมมีความคิดเห็นอย่างไร 1 ทีมงานได้เสนอแนวทางให้การแก้โดยการที่เราจะแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่จำจากปลาและจะยื่นอายุการเก็บรักษาให้นานกว่าเดิมเพื่อที่จะง่ายต่อการส่งออก 2 ทีมงานจะเป็นจะเป็นคนช่วยขายให้ด้วย

  • คัดเลือกหัวหน้าของสมาชิกเพื่อเป็นตัวแทนในการประสานงานกับคณะทำงานใสการดำเนินงานครั้งถัดไป ได้ใครเป็นสมาชิก การคัดเลือกใช้วิธีการเสนอ และทีมงานดูความเหมาะสมว่ามีโอกาสที่จะให้ความร่วมมือในการทำงานครั้งหน้าไหม

 

ประชุมคณะทำงาน เพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน ครั้งที่ 2 25 ต.ค. 2565 25 ต.ค. 2565

 

  • 9.00 - 9.30 น. ประธานโครงการกล่าวเปิดพิธีเพื่อเสริมความบารอกัตในการทำงาน
  • 9.30 - 10.00 น. พูดคุยชี้แจงภาพรวมของโครงการกับทีมงาน
  • 10.00 - 11.00 น. เปิดเวทีแลกเปลี่ยน/เสนอข้อคิดเห็นในการดำเนินงานในแต่ละส่วน พร้อมทั้งมอบหมายงานรับผิดชอบแต่ละฝ่าย
  • 11.00 -11.30 น. เลขาในโครงการสรุปมติที่ประชุมเกี่ยวกับหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย
  • 11.30 - 12.00 น. นัดประชุมและติดตามความก้าวของเนื้องานที่ได้รับหมอบหมาย พร้อมประธานโครงการกล่าวปิดประชุม

 

  • ประธานโครงการ นายรอยาลี กียะ กล่าวเปิดพิธีเพื่อเสริมความบารอกัตในการทำงาน

  • พูดคุยชี้แจงภาพรวมของโครงการกับทีมงานที่ผ่านมาทำอะไรบ้าง ลงพื้นที่ได้อะไร เปิดโดยนายจิตพร สายทะพัน ได้กล่าวกว่า การลงพื้นที่ที่ชุมชนบางตาวาครั้งนี้ 1 ประเด่นแรก อาชีพในชุมชน ซึ่งจะพบว่าส่วนใหญ่คนในชุใชนจะทำอาชีพประมง และกรีดยาง และเป็นลูกจ้าง ประเด่นที่ 2 ความต้องการของชุมชนที่อยากให้ช่วย โดยเราจะบอกก่อนว่าเราไม่ได้มีทุนให้แต่เราจะช่วยในการขยายส่วนที่ชาวบ้านมีอยู่แล้ว ดังนั้นชาวบ้านต้องการให้หาช่วยหาตลาดในการส่งออกผลิตภัณฑ์ของตัวเองหรือช่วยสอนในการแปรรูปผลิตภัณฑ์

 

เวทีชี้แจงโครงการให้กับหน่วยงานภาครัฐและชุมชนเป้าหมาย จัดตั้งคณะทำงาน แบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน ประชุมชี้แจงกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ 5 พ.ย. 2565 5 พ.ย. 2565

 

  • 7.30 - 8.00 น. นัดเจอกันที่มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
  • 8.00 - 8.40 น. เดินทางสู่องค์การบริหารส่วนตำบลปูโละปูโย
  • 8.40 - 9.00 น. ลงทะเบียน
  • 9.00 -9.20 น. กล่าวตอนรับโดยนายกองค์การบริหารส่วนตำบลปูโละปูโย นายซานูซี วงศ์ปัตน
  • 9.20 - 12.00 น. พูดคุยและตั้งขอตกลงโดย ที่ปรึกษาโครงการ  นายอนุวัตร วอลี
  • 12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
  • 13.00-14.00 น.จัดตั้งคณะทำงานของชุมชน และแบ่งหน้าที่การทำงานของแต่ละชุมชนกลุ่มเป้าหมาย

 

  • กล่าวตอนรับโดยนายกองค์การบริหารส่วนตำบลปูโละปูโย นายซานูซี วงศ์ปัตน
  • คณะทำงานได้ชี้แจงภาพร่วมของโครงการให้แก่ชุมชนกลุ่มเป้าหมาย ว่าวัตถุประสงค์ของโครงการว่าทำเพื่ออะไร
  • กล่าวเปิด นายอนุวัตร วอลี ให้ความรู้ และพูดคุยกับชุมชนให้แต่ละสามารถวิเคราะห์ถึงจุดเด่น และข้อควรที่จะพัฒนาของตนเอง เพื่อให้การแบ่งงานหรือมอบหมายหน้าที่เกิดความง่ายดาย โดยความรู้ที่ได้ ประกอบด้วยการทำงานเป็นกลุ่ม การแบ่งหน้าที่ของแต่ละชุมชน โดยจะแบ่งว่า ชุมชนบางตาวาเป็นผู้จัดเตรียมวัตถุดิบให้แก่วิสาหกิจโตะลางาและชุมชนสายบุรี ส่วนวิสาหกิจจะเป็นคนแปรรูปผลิตภัณฑ์ส่งให้ทีมงานเป็นคนขาย

1)เกิดความร่วมมือของชุมชนกลุ่มเป้าหมายและผู้ประกอบการ 2)เกิดทักษะในการวางแผนในการดำเนินงาน

 

การจัดอบรมให้ความรู้ด้านการเงิน และการจัดอบรมพัฒนาสูตรและกระบวนการผลิต การขายและการสื่อสาร 15 พ.ย. 2565 15 พ.ย. 2565

 

ทางทีมวิจัยได้มีการจัดอบรมการให้ความรู้ทางการเงิน โดย
ภาคเช้า :
    - เชิญวิทยากร ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันและสามารถมองภาพรวมด้านการบริหารการเงินในครัวเรือนที่ชัดขึ้น     - เปิดเวทีให้กับกลุ่มเป้าหมายได้ซักถาม และทำกิจกรรมเวิร์คช็อปให้กลุ่มเป้าหมายอธิบายการบริหารการเงินของตนเองในปัจจุบันว่าเป็นอย่างไร พร้อมสะท้อนถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการดังกล่าว

ภาคบ่าย :
    - เปิดเวทีนำเสนอกิจกรรมในภาคเช้าที่กลุ่มเป้าหมายได้ทำการเวิร์คช้อปกัน และให้กลุ่มเป้าหมายนำเสนอวิธีการบริหารจัดการทางด้านการเงินที่ควรจะเป็น ที่คาดว่าสามารถจะแก้ไขปัญหาหรือจุดบอดจากการบริหารจัดการของตนในปัจจุบัน

 

ทางทีมวิจัยได้มีการจัดอบรมการให้ความรู้ทางการเงิน โดย
ภาคเช้า :
  - วิทยากร นางสาวอัญรินท์ เจะบือราเฮง ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันและสามารถมองภาพรวมด้านการบริหารการเงินในครัวเรือนที่ชัดขึ้น โดยมีเนื้อหา ได้แก่
1 เป้าหมายความรอบรู้ด้านการเงิน
2 การวางแผนการเงินในครัวเรือน

  - เปิดเวทีให้กับกลุ่มเป้าหมายได้ซักถาม และทำกิจกรรมเวิร์คช็อปให้กลุ่มเป้าหมายอธิบายการบริหารการเงินของตนเองในปัจจุบันว่าเป็นอย่างไร พร้อมสะท้อนถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการดังกล่าว โดยมีปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น พร้อมวิธีแก้ปัญหา ได้แก่   ปัญหา 1 การจัดการเงินออมของตัวเองที่ไม่สามารถจัดการได้ เนื่องจากรายรับและรายจ่ายไม่เท่ากัน 2 ค่าครองชีพสูงขึ้ กลับกับเลินเดือนที่ได้ยังเท่าเดิมและบางที่ลดลงอีก 3 การติดบุหรี่
  วิธีแก้ 1 การแก้ปัญหาในส่วนที่ไม่จำเป็น เช่น บุหรี่ โดยชี้ให้เห็นว่า ถ้าวันหนึ่งเราไม่สูบบุรี่เราจะมีเงินส่วนนั้นอยู่ที่เท่าไหรต่อวัน 2 โครงการนีจึงมาเสนอทางออกโดยการที่เราจะขยายวัตถุดิบที่เรามีแล้ว เพิ่มมูลค่าของมัน และเพิ่มอายุการเก็บรักษาให้ง่ายต่อการขนส่ง

  • การอบรมทำให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการรายรับรายจ่ายในครัวเรือนอีกทั้งยังมีการพัฒนาในด้านการวางแผนทางการเงินในพื้นที่เป้าหมายอีกด้วย

 

ประชุมและติดตามงานประจำเดือนพฤศจิกายน 24 พ.ย. 2565 24 พ.ย. 2565

 

  • 9.00 - 9.30 น. ประธานโครงการกล่าวเปิดพิธีเพื่อเสริมความบารอกัตในการทำงาน
  • 9.30 - 10.00 น. พูดคุยชี้แจงภาพรวมของโครงการกับทีมงาน
  • 10.00 - 11.00 น. เปิดเวทีแลกเปลี่ยน/เสนอข้อคิดเห็นในการดำเนินงานในแต่ละส่วน พร้อมทั้งมอบหมายงานรับผิดชอบแต่ละฝ่าย
  • 11.00 -11.30 น. เลขาในโครงการสรุปมติที่ประชุมเกี่ยวกับหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละฝ่าย
  • 11.30 - 12.00 น. นัดประชุมและติดตามความก้าวของเนื้องานที่ได้รับหมอบหมาย พร้อมประธานโครงการกล่าวปิดประชุม

 

  • เปิดเวทีให้กับกลุ่มเป้าหมายได้ซักถาม และทำกิจกรรมเวิร์คช็อปให้กลุ่มเป้าหมายอธิบายการบริหารการเงินของตนเองในปัจจุบันว่าเป็นอย่างไร พร้อมสะท้อนถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการบริหารจัดการดังกล่าว  โดยมีปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น พร้อมวิธีแก้ปัญหา ได้แก่     ปัญหา 1 การจัดการเงินออมของตัวเองที่ไม่สามารถจัดการได้ เนื่องจากรายรับและรายจ่ายไม่เท่ากัน 2 ค่าครองชีพสูงขึ้ กลับกับเลินเดือนที่ได้ยังเท่าเดิมและบางที่ลดลงอีก 3 การติดบุหรี่
        วิธีแก้ 1 การแก้ปัญหาในส่วนที่ไม่จำเป็น เช่น บุหรี่ โดยชี้ให้เห็นว่า ถ้าวันหนึ่งเราไม่สูบบุรี่เราจะมีเงินส่วนนั้นอยู่ที่เท่าไหรต่อวัน 2 โครงการนีจึงมาเสนอทางออกโดยการที่เราจะขยายวัตถุดิบที่เรามีแล้ว เพิ่มมูลค่าของมัน และเพิ่มอายุการเก็บรักษาให้ง่ายต่อการขนส่ง

  • การอบรมทำให้ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการรายรับรายจ่ายในครัวเรือนอีกทั้งยังมีการพัฒนาในด้านการวางแผนทางการเงินในพื้นที่เป้าหมายอีกด้วย

 

เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน โครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานราก 11 ก.พ. 2566 11 ก.พ. 2566

 

จัดเวทีแลกเปลี่ยนการดำเนินงานของแต่ละโครงการที่ได้รับทุน

 

ได้ขอสรุปของแต่ละโครงการว่าดำเนินถึงขั้นตอนไหนแล้ว

 

พัฒนาช่องทางการขาย ไลฟ์สดให้ปัง สร้างคอนเทนต์โดนใจ 30 มี.ค. 2566 30 มี.ค. 2566

 

-อบรมหัวข้อ "การไลฟ์สดให้ปัง" โดยคุณฝ้ายลิกา ยาแดง เจ้าของร้าน Failikashop บริษัท ฝ้ายลิกา และอุปนายกสมาคมสร้างสรรค์เยาวชนชายแดนใต้ (กลุ่มสานฝัน) -สนทนาแลกเปลี่ยนประสมการณ์ระหว่างวิทยากรและผู้เข้าร่วม (ให้ผู้เข้าร่วมทดลองไลฟ์สด) -อบรมหัวข้อ "สร้างคอนเทนให้โดนใจ" โดยคุณฝ้ายลิกา ยาแดง เจ้าของร้าน Failikashop บริษัท ฝ้ายลิกา และอุปนายกสมาคมสร้างสรรค์เยาวชนชายแดนใต้ (กลุ่มสานฝัน) -สนทนาแลกเปลี่ยนประสมการณ์ระหว่างวิทยากรและผู้เข้าร่วม (ให้ผู้เข้าร่วมทดลองสร้างคอนเทน)

 

-ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้ในการไลฟ์สด การสร้างคอนเทน ยังไงให้ผลิตภัณฑ์ของเราให้เกิดความสนใจ -ผู้ร่วมได้ลองทำการไลฟ์สดด้วยตัวเอง และสามารถเรียนรู้จากการไลฟ์จริง คนดูจริง

 

ประชุมคณะทำงาน เพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน ครั้งที่ 3 1 พ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566

 

9.00 - 9.30 น. ประธานโครงการกล่าวตอนรับการประชุมและแจ้งวัดถุประสงค์การประชุม 9.30 - 10.30 น. ทีมงานรายงานการจักกิจกรรมที่ผ่านมา 10.30 - 12.00 น. ตกผลึกหัวข้อที่ได้จากการแลกเปลี่ยน 12.00 -13.30 น. พักทานข้าว 13.30 - 15.00 น. สรุปและเริมกิจกรรมต่อไป

 

  • จากการจัดกิจกรรมนักขายออนไลน์ ทำให่เรารู้ศักยภาพของชาวบ้านหรือกลุ่มเป้าหมายของเราว่ามีมากน้อยแค่ไหน และจะให้พัฒนาไปในด้านใด
  • กลุ่มบ้างคนสามารถขายของหรือเป็นตัวแทนในการกระจ่ายสินค้าได้
  • แกนนำกลุ่มเองสามารถที่จะมองเห็นช่องทางของผลิตภัณฑ์ที่ทำนั้น มาส่งผลลัพธ์อะไรบ้างแก่ชุมชน ได้แก่ ชุมชนกลุ่มเป้าหมายมีผลิตภัณฑ์ประจำชุมชน สร้างนักขายภายในกลุ่ม เพิ่มรายได้ให้กับตนเอง เป็นต้น

 

พัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ปลาสเตอรรีไลซพร้อมทาน ครั้งที่ 1 (ทดสอบการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในตัวอย่างผลิตภัณฑ์) 5 พ.ค. 2566 10 พ.ค. 2566

 

วิธีการ  Total Plate Count ( In-housed method WI-QC-001, WI-QC002 อ้างอิงวิธีการมาตรฐาน USP / NF 36:2013 Chapter 61 Microbiological Examination of Non Sterile Products : Microbial Enumeration Tests)
1. โดยการเตรียมตัวอย่างผงเปลือกและเมล็ดลูกหยี ที่ผ่านการบดและนึ่งฆ่าเชื้อด้วยหม้อดันไอน้ำ ที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 นาทีที่ความดัน 15 ปอนด์
2. ชั่งมา 1 กรัม ต่อน้ำกลั่นปราศจากเชื้อ 9 มิลลิลิตร
3. ตั้งทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที ทำการเจือจางตัวอย่างเป็น 10 เท่า จนถึงระดับการเจือจาง 10-4 ทำการแยกเชื้อแบคทีเรียโดยการดูดตัวอย่างมา 1 มิลลิลิตรเลี้ยงในอาหาร PCA โดยเทคนิค  pour plate บ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา24 ชั่วโมง 4. ทำการแยกเชื้อบนอาหาร PDA เพื่อทดสอบปริมารเชื้อราที่มีการปนเปื้อนในตัวอย่าง โดยทำการดูดตัวอย่างมา 1 มิลลิลิตร
5.ทำลักษณะเดียวกับการทดสอบปริมารเชื้อแบคทีเรียในอาหาร PCA ทำการบ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 72 ชั่วโมง ทำการนับโคโลนีเชื้อแบคทีเรียที่มีการเจริญเติบโตบันทึกผล

 

ตัวอย่างการทดสอบ CFU/g วิธีการทดสอบ ปลาต้มส้ม 001 N
ปลาต้มส้ม 002 N
ปลาต้มส้ม 003 N
ทั้งสามตัวอย่างทำด้วยวิธีการ Total Plate Count ( In-housed method WI-QC-001, WI-QC002 อ้างอิงวิธีการมาตรฐาน USP / NF 36:2013 Chapter 61 Microbiological Examination of Non Sterile Products : Microbial จากการทดสอบไม่มีการปนเปื้อนจุลินทรีย์ในตัวอย่างผลิตภัณฑ์ปลาต้มส้ม หมายเหตุ : N ไม่มีการปนเปื้อนจุลินทรีย์ในตัวอย่างผลิตภัณฑ์ปลาต้มส้ม

 

พัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ปลาสเตอรรีไลซพร้อมทาน ครั้งที่ 2 (ทดสอบอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์) 7 พ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566

 

วิธีการ Total Plate Count ( In-housed method WI-QC-001, WI-QC002 อ้างอิงวิธีการมาตรฐาน USP / NF 36:2013 Chapter 61 Microbiological Examination of Non Sterile Products : Microbial Enumeration Tests)
1. โดยการเตรียมตัวอย่างผงเปลือกและเมล็ดลูกหยี ที่ผ่านการบดและนึ่งฆ่าเชื้อด้วยหม้อดันไอน้ำ ที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 15 นาทีที่ความดัน 15 ปอนด์
2. ชั่งมา 1 กรัม ต่อน้ำกลั่นปราศจากเชื้อ 9 มิลลิลิตร
3. ตั้งทิ้งไว้ประมาณ 10 นาที ทำการเจือจางตัวอย่างเป็น 10 เท่า จนถึงระดับการเจือจาง 10-4 ทำการแยกเชื้อแบคทีเรียโดยการดูดตัวอย่างมา 1 มิลลิลิตรเลี้ยงในอาหาร PCA โดยเทคนิค pour plate บ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง 4. ทำการแยกเชื้อบนอาหาร PDA เพื่อทดสอบปริมารเชื้อราที่มีการปนเปื้อนในตัวอย่าง โดยทำการดูดตัวอย่างมา 1 มิลลิลิตร
5.ทำลักษณะเดียวกับการทดสอบปริมารเชื้อแบคทีเรียในอาหาร PCA ทำการบ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 72 ชั่วโมง ทำการนับโคโลนีเชื้อแบคทีเรียที่มีการเจริญเติบโตบันทึกผล
6. ทำการศึกษาอายุการเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 10 วัน

 

ตัวอย่างการทดสอบ CFU/g วิธีการทดสอบ
ปลาต้มส้ม 001 1.2 x105
ปลาต้มส้ม 002 0.98 x105
ปลาต้มส้ม 003 2.5x104
ปลาต้มส้ม 004 3.64 x104
ปลาต้มส้ม 005 2.2 x104
ปลาต้มส้ม 006 0.76x105
ปลาต้มส้ม 007 5.74 x104
ปลาต้มส้ม 008 1.32 x105
ปลาต้มส้ม 009 3.52 x104
ปลาต้มส้ม 010 1.85 x105
ปลาต้มส้ม 011 0.79 x105
ปลาต้มส้ม 012 8.1 x104
ปลาต้มส้ม 013 4.61 x104
ปลาต้มส้ม 014 0.97 x105
ปลาต้มส้ม 015 2.5 x105
ปลาต้มส้ม 016 2.2 x105
ปลาต้มส้ม 017 3.65 x104
โดยการทดสอบทั้งหมดจะใช้วิธีการ Total Plate Count ( In-housed method WI-QC-001, WI-QC002 อ้างอิงวิธีการมาตรฐาน USP / NF 36:2013 Chapter 61 Microbiological Examination of Non Sterile Products : Microbial Enumeration Tests)

 

ลงพื้นที่สอนชาวบ้านในการแปรรูปปลาต้มส้ม 21 มิ.ย. 2566 21 มิ.ย. 2566

 

9:00 เดินทางไปที่วิสาหกอจโตะลางา 9:30 -11:00 เตรียมวัดถุดิบปลา สำหรับทำกิจกรรม
11:00-12:00 บรรจุแพค โดยใช้เครื่องซิล

 

จากการลงพื้นที่ครั้งนี้ ทีมงานได้สอนสูตรในการทำปลาส้ม และกับแพค โดยใช้เครื่องซิล   จะเห็นได้ว่าชาวบาท(กลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์) มีความเอาใจใส่และตั้งใจในการเรียนรู้ ถึงแม้บ้างอย่างจะเคยชินจากการที่ทำกินเองอยู่ทุกวัน แต่กลุ่มนี้เก็พร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
การใช้เครื่องซิล
  แรกๆกลัวกันที่จะใช้เครื่องมือ เพราะไม่เคยลอง แต่พออธิบายวิธฺการซิล ทุกคนก็สามารถทำได้ โดยไม่มีปัญหาใดๆ

 

สรุปกิจกรรม 13 ส.ค. 2566 13 ส.ค. 2566

 

13:00 เริ่มสรุปหัวข้อ การเปลี่ยนแปลงในแต่ลิมติทั้งระดับุคคล / ครอบครัว / ชุนชน 14:00 เริ่มสรุปหัวข้อ การเปลี่ยนแปลงรายจ่าย 14:30 เริ่มสรุปหัวข้อ การเปลี่ยนแปลงสุขภาพ เปลี่ยนแปลงอะไร  อย่างไรบ้าง  เหตุผลที่เปลี่ยนแปลง 15:00 เริ่มสรุปหัวข้อ บทสรุป

 

การเปลี่ยนแปลงในแต่ลิมติทั้งระดับุคคล / ครอบครัว / ชุนชน   มิติทางเศรฐกิจ ได้แก่
- ขยายตลาดสินค้า - ราคาเพิ่มขึ้น - ยืดอายุสินคา/ผลิตภัณฑ์ - มีรายได้ที่แน่นอน - มีการแปรรูป และ ใช้วัตถุดิบที่หลากหลาย - มีการใช้นวัตกรรมในการแปรรูป   มิติทางสังคม - เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางธุรกิจ - เกิดความสามัครคีกันในกลุ่ม - ความขัดแย้งลดลง   มิติสิ่งแวดล้อม - ไม่มีการปนเปื้อนของสารเคมี - มีการใช้วัตถุดิบพื้นถิ่น   มิติสุขภาพ -ใช้เกลือหวานทดแทน -ไม่มีสารเคมีตกข้าง - ทำให้สุขภาพดีขึ้นคอบคุมโรคได้บ่างส่วน

การเปลี่ยนแปลงรายจ่าย   รายจ่ายอะไรบ้างที่ลดลง - ค่าสินค้าออนไลน์ - ค่าขนมปังทานเล่น - ค่าไฟ - ค่าของใช้จุกจิก - ค่าโทรศัพท์   ลดลงเท่าไหร์ ปกติ - 2,000 / เดือน ลดลง 500 บาท - 1,500 / เดือน ลดลง 500 บาท
- 500 / เดือน ลดลง 200 บาท
- 1,000 / เดือน ลดลง 300 บาท
- 300 / เดือน ลดลง 150 บาท
  ทำไม่ถึงลด - เลือกชื้อของที่จำเป็น - เกิดการทำบัญชีครัวเรือนทำให้รู้รายจ่ายต่อเดือน - ใช้ไฟยามจำเป็นเปิด และ ปิด เป็นเวลา - แชร์ไวฟาย

การเปลี่ยนแปลงสุขภาพ เปลี่ยนแปลงอะไร อย่างไรบ้าง เหตุผลที่เปลี่ยนแปลง   การเปลี่ยนแปลง
น้ำหนักแกนนำ 10 คน - ลดลง 5 คน - เพิ่มขึ้น 3 คน - เท่าเดิม 2 คน
รอบเอวแกนนำ 10 คน - ลดลง 5 คน - เพิ่มขึ้น 3 คน - เท่าเดิม 2 คน ลดลงเพราะ ทำงานหนักลงพื้นที่บ่อย เครียดหลายอย่าง ออกกำลังการ และลดการกิน
เท่าเดิมเพราะ พฤติกรรมคงที่อยู่แบบไหนก็แบบนั้น เพิ่มขึ้นเพราะ กินทุกเวลา และไม่ออกกำลังกาย เหตุผลที่เปลี่ยน ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ควบคุมการกิน และพักผ่อนเพียงพอ

การลดหวาน/ลดเค็ม/ลดมัน 10 คน ลดอาหารรสจัดทุกชนิด และเลือกบริโภค No sodium No sugar No fat

ความเครียด ลดลงแกนนำ 5 คนเพิ่มขึ้นแกนนำ 5 คน ลงลงเพราะมีความสุขเพิ่มขึ้น และมีปัญหาสุขภาพ เหตุผลที่เปลี่ยน เกิดการบริหารการจัดการเวลาอย่างเป็นระบบ และภาระงานี่เพิ่มขึ้น

ความสุข ลดลงแกนนำ 5 คน และเพิ่มขึ้นแกนนำ 5 คน สิ่งที่เปลี่ยนแปลงการเป็ฯอยู๋ และบริหารเวลาไม่ได้

บทสรุป ข้อคิด/บทสรุป มีสติในการทำงาน สามารถยืดอายุของผลิตภัณฑ์ สามารถขายออนไลน์ และ ขายในพื้นที่ที่ห่างไกลได้ และรู้จักวิธีการแก้ปัญหา อะไรที่ทำสำเร็จ(เหตุผล) การทำบัญชี ลดภาระรายจ่าย การออม สุขภาพดีขึ้น และการวางแผ่นการใช้จ่าย อะไรที่ไม่สำเร็จ(เหตุผล) เกิดความขัดแย้งในกลุ่ม อยากได้แต่ไม่ลงมือทำ และการวางแผ่นที่ไม่ครอบคลุม แหล่งเรียนรู้/บ้านใคร/เรื่องไร จะเป็ฯที่วิสาหกิจชุมชนโตะลางาที่เดียว ปัจจัยความสำเร็จ การวางแผนและการจดัการรายได้ มีความกระตือรือร้นในการทำงาน และเกิดความรวมมือในกลุ่ม การต่อยอด การขยายผลผลิต และการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์