directions_run

โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนควนขัน

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
คืนเงินเปิดบัญชี 1 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการและ สสส. 18 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 7 ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้าและเตรียมความพร้อมการดำเนินกิจกรรมของศูนย์ Agri Center 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพครัวเรือนเป้าหมาย (ความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงิน) 1 ก.พ. 2566 1 ก.พ. 2566

 

  1. การจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผัก การใช้สารเคมีในชุมชน และนำข้อมูลไปใช้รวมถึงคืนข้อมูลให้ชุมชนอย่างต่อเนื่อง

 

1.  มีการกำหนดกติกาหรือข้อตกลงเรื่องการปลูกและการบริโภคผักปลอดสารเคมี และเกิดการปฏิบัติตามกติกาหรือข้อตกลงที่กำหนดไว้ 2. ครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพและการเงินเพิ่มขึ้น 3. ครัวเรือนเป้าหมายอย่างน้อย 80% สามารถนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาทางการเงินและสุขภาพได้

 

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมีในครัวเรือน 12 ก.พ. 2566 12 ก.พ. 2566

 

  1. อบรมให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย 30 ครัวเรือน เพื่อปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคเองที่บ้าน อย่างน้อย 5 ชนิด เช่น ผักบุ้งจีน คะน้า กวางตุ้ง พริก มะเขือ กะเพรา โหระพา

 

  1. ครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน บริโภคผักที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี อย่างน้อย 3 ครั้ง/สัปดาห์
  2. ค่าใช้จ่ายในการซื้อผักบริโภคต่อครัวเรือนต่อสัปดาห์ลดลงเฉลี่ย 50%
  3. เกิดครัวเรือนต้นแบบจำนวน 10 ครัวเรือน

 

กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center) 28 มี.ค. 2566 22 ก.พ. 2566

 

  1. จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อจัดทำศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center)

 

  1. เกิดศูนย์เรียนรู้การปลูกผักปลอดสารและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agri Center) ณ ชุมชนควนขัน อ.เมือง จ.ตรัง

 

กิจกรรมที่ 5 เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน 6 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 1 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ และสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ 7 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา 7 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

คืนเงินเปิดบัญชี 1 ก.ย. 2565 1 ก.ย. 2565

 

คืนเงินเปิดบัญชี  500 บาท

 

คืนเงินเปิดบัญชี  500 บาท

 

การเข้าร่วมกิขกรรมปฐมนิเทศ การแลกเปลี่ยนความรอบรู้สุขภาวะทางสุขภาพและการเงิน 17 ก.ย. 2565 17 ก.ย. 2565

 

  • แกนนำ 20 คน
  • ปฐมนิเทศโครงการ
  • โดยมีรายละเอียดดังนี้
  1. การบริหารจัดการโครงการและการเงิน
  2. การทำบัญชีคุมเงินสด
  3. การทำปฏิทินกิจกรรม
  4. การทำรายละเอียดกิจกรรม
  5. การทำตัวชี้วัด
  6. การบันทึกรายงานบนเว็ปไซต์ คนสร้างสุข

 

แกนนำ 20 คน มีความรู้ความเข้าใจ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. การบริหารจัดการโครงการและการเงิน 2. การทำบัญชีคุมเงินสด 3. การทำปฏิทินกิจกรรม 4. การทำรายละเอียดกิจกรรม 5. การทำตัวชี้วัด
6. การบันทึกรายงานบนเว็ปไซต์ คนสร้างสุข

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ครั้งที่ 1/2 17 ก.ย. 2565 17 ก.ย. 2565

 

  1. คณะทำงานจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการ
  3. มอบหมายงานในคณะทำงาน

 

  1. เกิดการประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูล วางแผนการดำเนินงานของคณะทำงาน

 

การจัดทำเอกสารประกอบการอบรมและการจัดทำรายงาน 27 ก.ย. 2565 27 ก.ย. 2565

 

การจัดทำเอกสาร การถ่ายเอกสารประกอบการประชุม การรายงานผล

 

เอกสารประกอบการประชุม การรายงานผล

 

ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 1/6 1 ต.ค. 2565 1 ต.ค. 2565

 

  • ประธานโครงการ นายเชวง รักใหม่ เปิดประชุมและแนะนำสมาชิก
  • ประธานแนะนำโครงการ ชี้แจงวัตถุประสงค์ รวมถึงกำหนดโครงสร้างบทบาทหน้าที่ ดังนี้
    • หัวหน้าโครงการ ริเริ่ม ออกแบบกิจกรรม บริหารจัดการ ตลอดจนกำกับ ติดตาม การดำเนินโครงการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

- เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ จัดเก็บเอกสาร ตรวจสอบความถูกต้อง และสรุปผลกิจกรรมทางการเงินในโครงการ ให้เป็นไปตามระเบียบการเงินของ สสส. - ประสานงานโครงการ ประสานงานกับประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้เข้าร่วมโครงการ และประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ

  • มีข้อตกลงของแกนนำ ดังนี้
  1. ร่วมประชุมแกนนำทุกวันที่ 14 ของเดือน กันยายน 2565 - กรกฎาคม 2566
  2. แกนนำร่วมกิจกรรมโครงการทุกครั้ง
  3. แกนนำรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามบทบาทหน้าที่
  4. แกนนำทุกคนจะต้องปลูกผักและจดบันทึกค่าผักเป็นตัวอย่างให้แก่สมาชิก
  • ในเดือนหน้ามีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน จัดทำแผนปฏิบัติการ (ความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงิน/การบริหารโครงการ สสส./แนวทางการขับเคลื่อนโครงการฯ ฯลฯ) และสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

 

  1. แกนนำโครงการ 10 คน มีความเข้าใจรายละเอียดโครงการและวิธีการดำเนินกิจกรรม
  2. เกิดข้อตกลงของแกนนำจำนวน 4 ข้อ
  3. แกนนำ 10 คน รับทราบ เข้าใจ แผนปฏิบัติงานในรูปแบบปฏิทินกิจกรรม

 

ป้ายไวนิลโครงการ ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ ตรายางชุมชนควนขัน 12 พ.ย. 2565 12 พ.ย. 2565

 

การจัดทำป้ายไวนิลบันโครงการ และไวนิลไดผลลัพธ์ ตรายางโครงการ ชุมชนควนขัน

 

การจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ ตรายาง  ชุมชนควนขัน อย่างละ 1 อัน

 

ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 2/6 1 ธ.ค. 2565 1 ธ.ค. 2565

 

  1. คณะทำงานจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการ
  3. มอบหมายงานในคณะทำงาน

 

  1. เกิดการประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลของคณะทำงาน และการวางแผนงานในการลงชุมชน

 

การเข้าร่วมการอบรมความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ ณ เขาพับผ้ารีสอร์ท อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง 15 ธ.ค. 2565 15 ธ.ค. 2565

 

การอบรมความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ

 

ได้รับการอบรมความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ

 

ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 3/6 1 ม.ค. 2566 1 ธ.ค. 2565

 

  1. คณะทำงานจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการ
  3. มอบหมายงานในคณะทำงาน

 

  1. เกิดการประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลของคณะทำงาน และการวางแผนงานในการลงชุมชน

 

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ครั้งที่ 2/2 11 ม.ค. 2566 11 ม.ค. 2566

 

  1. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ครั้งที่ 2

 

  1. เกิดข้อตกลงและแนวทางการทำงานร่วมกันของคณะทำงาน
  2. เกิดแผนการทำงาน สภาพปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหา

 

ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 4/6 1 ก.พ. 2566 1 ม.ค. 2566

 

  1. คณะทำงานจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการ
  3. มอบหมายงานในคณะทำงาน

 

  1. เกิดการประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลของคณะทำงาน และการวางแผนงานในการลงชุมชน

 

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการรายย่อยกับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1/2 (ARE ครั้งที่ 1) 11 ก.พ. 2566 11 ก.พ. 2566

 

  1. พี่เลี้ยงเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานครั้งที่ 1/2

 

  1. รายงานผลการดำเนินการและแนวทางการทำงานของชุมชน
  2. สภาพปัญหาการทำงานของชุมชน รวมถึงแนวทางการแก้ปัญญา

 

การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงหน่วยจัดการ ครั้งที่ 1/2 18 ก.พ. 2566 18 ก.พ. 2566

 

  1. หน่วยจัดการ สสส. ติดตามความก้าวหน้าของคณะทำงาน ครั้งที่ 1

 

  1. รายงานผลการทำงาน แลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดทำโครงการและการบันทึกข้อมูลเพิ่มเติมในระบบ สสส.

 

ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 6/6 1 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามความก้าวหน้า

 

เกิดกระบวนการทำงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน

 

เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 1/4 5 มี.ค. 2566 5 มี.ค. 2566

 

  1. เยี่ยมแปลงผักชุมชน

 

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล สภาพปัญหา แนวทางแก้ไขในการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 1/2 1 เม.ย. 2566 1 เม.ย. 2566

 

  1. เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 1

 

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานโครงการระหว่างชุมชนเป้าหมาย 4 ชุมชน
  2. เกิดเครือข่ายสวนผักคนเมืองเทศบาลนครตรัง

 

เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 2/4 5 เม.ย. 2566 5 เม.ย. 2566

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้แปลงผักชุมชน

 

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล สภาพปัญหา แนวทางแก้ไขในการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

การแลกเปลี่ยนข้อมูลกับพี่เลี้ยงหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2/2 30 เม.ย. 2566 30 เม.ย. 2566

 

  1. หน่วยจัดการ สสส. ติดตามความก้าวหน้าของคณะทำงาน ครั้งที่ 2

 

เกิดข้อมูลแลกเปลี่ยนร่วมกับหน่วยจัดการ สสส. ติดตามความก้าวหน้าของคณะทำงาน ครั้งที่ 2

 

เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 3/4 1 พ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้แปลงผักชุมชน

 

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล สภาพปัญหา แนวทางแก้ไขในการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 2/2 2 พ.ค. 2566 2 พ.ค. 2566

 

  1. เยี่ยมแปลงผักเพื่อนบ้าน-แลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่การพัฒนา ครั้งที่ 2/2

 

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บทเรียนการดำเนินงานโครงการระหว่างชุมชนเป้าหมาย 4 ชุมชน
  2. เกิดเครือข่ายสวนผักคนเมืองเทศบาลนครตรัง

 

การถ่ายเอกสารจัดทำโครงการ 15 พ.ค. 2566

 

 

 

 

 

ค่าจัดซื้ออุปกรณ์สำนักงานในการจัดทำโครงการ 15 พ.ค. 2566

 

 

 

 

 

การเข้าร่วมการอบรมการจัดทำสื่อ (Online) โปรแกรม CANVA TIKTOK 20 พ.ค. 2566

 

 

 

 

 

เยี่ยมแปลงผักชุมชน-เสริมพลังการทำงาน ครั้งที่ 4/4 1 มิ.ย. 2566 1 มิ.ย. 2566

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้สวนผักชุมชนและเสริมกำลังใจในการทำงาน

 

  1. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูล สภาพปัญหา แนวทางแก้ไขในการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

ประชุมเพื่อติดตามความก้าวหน้า ครั้งที่ 5/6 1 มิ.ย. 2566 1 ก.พ. 2566

 

  1. คณะทำงานจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
  2. จัดทำแผนปฏิบัติการ
  3. มอบหมายงานในคณะทำงาน

 

  1. เกิดการประชุมแลกเปลี่ยนข้อมูลของคณะทำงาน และการวางแผนงานในการลงชุมชน

 

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการรายย่อยกับหน่วยจัดการ ครั้งที่ 2/2 (ARE ครั้งที่ 2) 14 ก.ค. 2566 8 ก.ค. 2566

 

แกนนำเข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานครั้งที่ 2

 

  1. รายงานผลการดำเนินการและแนวทางการทำงานของชุมชน
  2. สภาพปัญหาการทำงานของชุมชน รวมถึงแนวทางการแก้ปัญญา

 

การจัดทำป้ายศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนควนขัน (Agri center) 28 ก.ค. 2566 28 ก.ค. 2566

 

การจัดทำป้ายศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนควนขัน (Agri center)

 

ป้ายศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนควนขัน (Agri center) 1 ป้าย

 

จัดทำไวนิลศูนย์การเรียนรู้การปลูกผักปลอดและการจัดการเมล็ดพันธุ์ชุมชน (Agi center) 4 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

การเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ครั้งที่ 13 9 ส.ค. 2566 9 ส.ค. 2566

 

การเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ครั้งที่ 13

 

การเข้าร่วมงานสร้างสุขภาคใต้ครั้งที่ 13

 

ค่าจัดทำรายงานออนไลน์ 16 ส.ค. 2566 16 ส.ค. 2566

 

ค่าจัดทำรายงานออนไลน์

 

ค่าจัดทำรายงานออนไลน์