directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม 1 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 5 ครั้ง 1 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

คณะทำงานสัมภาษณ์ข้อมูลกลุ่มสมาชิกเรื่อง ความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพ เพื่อใช้วัดผลการเปลี่ยนแปลงของสมาชิก (ก่อน-หลังดำเนินโครงการ) 1 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก จำนวน 2 หลักสูตร/ครั้ง 21 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

กระบวนการรวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง รวมจำนวน 10 ครั้ง 21 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 16 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ป้ายชื่อโครงการ และตรายาง 1 ก.ย. 2565 1 ก.ย. 2565

 

จัดทำป้ายไวนิล โครงการ  รวม 3 แผ่นป้าย ตราปั้ม จ่ายแล้ว 1 ตราปั้ม โครงการ 1 น้ำหมึกปั้มตรายาง 1

 

จัดทำป้ายไวนิล โครงการ  รวม 3 แผ่นป้าย ตราปั้ม จ่ายแล้ว 1 ตราปั้ม โครงการ 1 น้ำหมึกปั้มตรายาง 1

 

ถอนเงินฝากเปิดบัญชี 9 ก.ย. 2565 9 ก.ย. 2565

 

คณะทำงานเดินทางถอนเงินฝาก ค่าเปิดบัญชี 500 บาท

 

คณะทำงานเดินทางถอนเงินฝาก ค่าเปิดบัญชี 500 บาท

 

เข้าร่วมกิจกรรมที่ สสส. จัดขึ้น เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อย 1 ต.ค. 2565 1 ต.ค. 2565

 

"เวทีปฐมนิเทศโครงการย่อย ชุดโครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด19 #พื้นที่ภาคใต้ตอนบน NODE COVID ภาคใต้ ปี 2565 " ระหว่างวันที่ 1-2 ตุลาคม พ.ศ.2565 ณ ห้องประชุมโรงแรมซิลเวอร์ออร์คิด ต.อ่าวนาง อ.เมืองกระบี่ จ.กระบี่" วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้รับผิดชอบโครงการย่อยมีความรู้และความเข้าใจในหัวข้อต่อไปนี้ 1.การทำความเข้าใจรายละเอียดโครงการที่รับทุน 2. การบริหารจัดการโครงการ (การจัดการข้อมูล, การรายงานผลข้อมูล) 3. แนวทางปฏิบัติด้านการเงินของโครงการ โดยมีกำหนดการ/กิจกรรมสำคัญในการปฐมนิเทศโครงการย่อย ดังนี้ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 08.00-08.30 น. ประชุมทีมสนับสนุนวิชาการ (พี่เลี้ยง) ร่วมวางแผนกำหนดบทบาทหน้าที่จัดกระบวนการปฐมนิเทศโครงการย่อย 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน เตรียมความพร้อมเวที ดำเนินรายการโดย นายทิตอารุณ สัจจสุจริตกุล 09.00-09.30 น. กล่าวต้อนรับ และหัวหน้าโครงการ ชี้แจงนำเสนอกรอบโครงการและเป้าหมาย เชิงผลลัพธ์ที่คาดหวังร่วมกันระหว่างหน่วยจัดการ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. โดย นางนฤมล ฮะอุรา 09.30-10.00 น. ชี้แจงรายละเอียดสัญญาโครงการย่อย 10.30-12.00 น. แบ่งกลุ่มย่อยตามตามพี่เลี้ยงและร่วมกันคลี่โครงการ ดังต่อไปนี้ 1. ทําความเข้าใจเป้าหมายร่วมของโครงการ 2. การเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์ ตัวชี้วัด และกิจกรรม 3. การทําความเข้าใจรายละเอียดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดรายกิจกรรม (ตัวแทนกลุ่มนำเสนอตัวอย่าง กลุ่มละ 1 โครงการ) 13.30-16.00 น.
แบ่งกลุ่มย่อยตามพี่เลี้ยง (ต่อ)
เรื่อง การบริหารจัดการโครงการ การจัดการข้อมูล,การรายงานผลข้อมูล ดังต่อไปนี้
1. การทำความเข้าใจเรื่อง ความรอบรู้เรื่องสุขภาพ 2. การทำความเข้าใจเรื่องความรอบรู้ทางการเงิน 3. การจัดเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย และแนวทางการนำข้อมูลไปสนับสนุน การทํางาน วันที่ 2 ตุลาคม 2565 08.30- 09.00 น. เตรียมความพร้อมเวที 09.00-10.30 น. ทำความเข้าใจระบบการรายงานกิจกรรม และรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์ โดย อาจารย์สุวิทย์ หมาดอะดำ 10.30-12.00 น. ทำความเข้าใจแนวทางปฏิบัติด้านการเงินของโครงการย่อย ว่าด้วยระเบียบและข้อบังคับทางการเงิน โดย ทีมหน่วยจัดการ และนักวิชาการ สสส.สำนัก 6 ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางการดำเนินโครงการ 12.00 น. ปิดกิจกรรม โดย คุณนฤมล ฮะอุรา และรับประทานอาหารกลางวัน เดินทางกลับ

 

คณะทำงาน 2 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการบริหารโครงการ การจัดการการเงิน การบันทึกรายงานผลผ่านระบบออนไลน์

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 1/5 12 ต.ค. 2565 12 ต.ค. 2565

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 1 วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2565 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ม.1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

เริ่มประชุม เวลา 09.00 น.

ระเบียบวาระการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 1

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธารแจ้งที่ประชุมทราบ     นายสมหมาย หลานอาว์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านร่าปู แจ้งผู้เข้าร่วมประชุมทราบถึงการได้รับสนับสนุนโครงการจาก สสส.สำนัก 6 ในชื่อโครงการสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่ ซึ่งมีนายทิตอารุณ สัจจสุจริตกุล เป็นพี่เลี้ยงโครงการ ได้ให้การช่วยเหลือจนได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการจากโหนด สสส.ภาคใต้ เป็นจำนวนเงิน 80,000 บาท

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเสนอเพื่อทราบ 2.1) เสนอแผนการขับงานโครงการสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู     นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู ซึ่งเป็นแกนนำขับเคลื่อนโครงการ ได้นำเสนอแผนกิจกรรมในโครงการสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่ โดเยมี นายทิตอารุณ สัจจสุจริตกุล หรือ น้องเกมส์ เป็นทีมสนับสนุนวิอชาการของหว่วยจัดการโควิดภาคใต้ หรือ เป็นพี่เลี้ยงโครงการ ได้ให้การช่วยเหลือจนได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการจากโหนด สสส.ภาคใต้ เป็นจำนวนเงิน 80,000 บาท โดยได้แจ้งกิจกรรมตามโครงการทั้งหมด

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 3.1) จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่     นายสมหมาย หลานอาว์ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านร่าปู ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ได้เสนอต่อที่ประชุมเพื่อร่วมพิจารณาเสนอรายชื่อคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 10 คน เพื่อขับเคลื่อนสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่

  มติที่ประชุม เสนอรายชื่อคณะทำงาน 10 คน เพื่อขับเคลื่อนสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่ ดังนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง/หน้าที่ในชุมชน ตำแหน่ง/หน้าที่ในโครงการ 1 นายสมหมาย หลานอาว์  ผู้ใหญ่บ้าน ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 นายประวุฒิ การดี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน รองหัวหน้าโครงการ 3 นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เหรัญญิก 4 นางอัน แส้หมูด อสม. ประชาสัมพันธ์ 5 นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน อสม. ประชาสัมพันธ์ 6 นางสาวประภาพร  คงเมือง หน้าที่ อบต.เกาะกลาง ประสานงาน 7 นางสาวจารุณี ปุตสะ ราชการครู ร.ร.บ้านร่าปู ผู้ช่วยเหรัญญิก 8 นางสาวจุฑารัตน์ หลานอาว์ กรรมการหมู่บ้าน ผู้ช่วยเลขานุการ 9 นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม กรรมการกลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เลขานุการ
10 นางกิ่งแก้ว สังข์ทอง นักวิชาการ พช. อำเภอเกาะลันตา ที่ปรึกษา

ปิดประชุม เวลา 13.00 น.

 

เกิดคณะทำงาน 10 คน ที่มาจาก กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนกลุ่มสมาชิก พช. อปท. ปราชญ์ชุมชน ฯลฯ และมีการกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน ดังต่อไปนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง/หน้าที่ในชุมชน ตำแหน่ง/หน้าที่ในโครงการ 1 นายสมหมาย หลานอาว์  ผู้ใหญ่บ้าน ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 นายประวุฒิ การดี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน รองหัวหน้าโครงการ 3 นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เหรัญญิก 4 นางอัน แส้หมูด อสม. ประชาสัมพันธ์ 5 นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน อสม. ประชาสัมพันธ์ 6 นางสาวประภาพร  คงเมือง หน้าที่ อบต.เกาะกลาง ประสานงาน
7 นางสาวจารุณี ปุตสะ ราชการครู ร.ร.บ้านร่าปู ผู้ช่วยเหรัญญิก 8 นางสาวจุฑารัตน์ หลานอาว์ กรรมการหมู่บ้าน ผู้ช่วยเลขานุการ 9 นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม กรรมการกลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เลขานุการ
10 นางกิ่งแก้ว สังข์ทอง นักวิชาการ พช. อำเภอเกาะลันตา ที่ปรึกษา

 

คณะทำงานสัมภาษณ์ข้อมูลกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 1 (ก่อนดำเนินโครงการ) 16 ต.ค. 2565 16 ต.ค. 2565

 

คณะทำงานจัดวงประชุมสมาชิกเพื่อสัมภาษณ์ประเมินข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ ครั้งที่ 1

โดยกลุ่มเป้าหมายที่มาเข้าร่วม รวมจำนวน 40 คน ประกอบด้วย คณะทำงานโครงการ 10 คน และกลุ่มเป้าหมายผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ระบาด ในชุมชน จำนวน 30 คน โดยมีรายชื่อ ดังนี้ 1. นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม 2. นางสาวสรางค์ หมาดเส็ม 3. นางสาวจุฑารัตน์ หลานอาว์ 4. นางสาวธัญรัตน์ สัตย์จิตร 5. นางอัน แส้หมูด 6. นายประเสริจฐ์ ละเอียด 7. นางสุดา นวลสุวรรณ์ 8. นางปราณี ภูมาวงค์ 9. นางสำเนียง เพริดพร้อม 10. นายเอกทัศน์ หนูสงฆ์ 11. นายธงชัย สุขเจริญ 12. นายเสรี ธรรมจิตร 13. นายธนากร โส๊ะแหลม 14. นางสาวจารุณี ปุตสะ 15. นางอารียา ต้นวิชา 16. นางสาวประภาพร คงเมือง 17. นางสาวศิริกุล ขุนสมุทร 18. นางสาวปัณฑิตา ก๊กใหญ่ 19. นางอีฉ๊ะ คลองรั้ว 20. นางละไมส์ หมาดเส็ม 21. นางฝ่าตีม๊ะ ปุสสะ 22. นางอรพินย์ หมาดเส็ม 23. นายสมหมาย หลานอาว์ 24. นายครรชิต ละเอียด 25. นางสรี การดี 26. นางสงวน ละเอียด 27. นางสาวนฤนาจ หมาดเส็ม 28. นางนพพร บัวทอง 29. นางสาวพิชน์ ปสสะ 30. นายอุดม ต้นวิชา 31. นายสหพล ปุสสะ 32. นางสาวลัดดาวัลย์ ต่อติด 33. นางสาวธนิการณ์ ธรรมณ์จิตร 34. นางจินดานุช ก๊กใหญ่ 35. นางปัทมา รักษากิจ 36. นางสาวอัมภา หยงสตาร์ 37. นางสาวกนิษฐา หมาดเส็ม 38. นายบุคขอรี ปราบเภท 39. นางสาวอรนิท ทองแดง 40. นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน

ข้อมูลการสัมภาษณ์ประกอบด้วย
- สถานการณ์ความรอบรู้ทางด้านการเงิน มีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือน หรือไม่ รายได้-รายจ่ายในครัวเรือนปัจจุบันเท่าไร เป็นต้น - สถานการณ์ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ ปัจจุบันกลุ่มเป้าหมายมีโรคประจำตัวหรือไม่ มีการออกกำลังกายจำนวนกี่วันต่อเดือน สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม หรือไม่อย่างไร เป็นต้น

 

มีข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย แต่ทั้งนี้ คณะทำงานมีแผนในการจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย (ก่อนดำเนินโครงการ) โดยการเชิญครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย มาร่วมประชุมในวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2565 เพื่อชี้แจงโครงการฯ พร้อมทั้งสัมภาษณ์ข้อมูลด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพ ตามแบบฟอร์มที่คณะทำงานได้ออกแบบไว้ แล้วให้กลุ่มเป้าหมายได้ตอบคำถามตามแบบสอบถาม โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 30 คน/ครัวเรือน และคณะทำงาน 10 คน

 

พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 1 หลักสูตร การจัดทำแผนพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน “CBMC” 21 ต.ค. 2565 21 ต.ค. 2565

 

วันที่ 21 ตุลาคม 2565 เวทีพัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 1
หลักสูตร การจัดทำแผนพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน “CBMC”
ณ ห้องประชุม อบต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

กลุ่มเป้าหมายมาเข้าร่วม ประกอบด้วย คณะทำงาน 10 คน และกลุ่มสมาชิก 30 คน รวมจำนวน 40 คน

โดยคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ประสานทีมวิทยากรมาให้ความรู้ พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก รวมจำนวน 40 คน
เพื่อให้มีความเข้าใจและสามารถวางแผนดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการฯ
โดยมี นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู มาเป็นวิทยากรอบรม

 

คณะทำงานและกลุ่มสมาชิก รวมจำนวน 40 คน มีความเข้าใจและสามารถวางแผนดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการฯคณะทำงานและกลุ่มสมาชิกรวมจำนวน 40 คน มีความรู้และความเข้าใจในหลักสูตร (Community Business Model Canvas:CBMC) และมีเป้าหมายในการสนับสนุนการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและทุนชุมชน เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นมีระบบเศรษฐกิจและทุนชุมชนที่มั่นคง สามารถพึ่งตนเองและจัดการตนเองได้ รวมไปถึงเกิดความเข้าใจและเปลี่ยนวิธีคิดจากการใช้ “เงินเป็นตัวตั้ง” มาเป็นการใช้ “ทุน” ที่เป็นปัจจัยทางการผลิตในการประกอบการ หรือการรู้จักใช้ปัจจัยการผลิตที่สอดคล้องกับวิถีชุมชนมาเป็นตัวตั้ง ด้วยการใช้เครื่องมือ “แผนธุรกิจเพื่อชุมชน”(Community Business Model Canvas:CBMC) เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และมีแผนปฏิบัติการร่วมกันพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชนได้ โดยความสำคัญของหลักสูตร (Community Business Model Canvas:CBMC) มีเป้าหมายในการสนับสนุนการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและทุนชุมชน เพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นมีระบบเศรษฐกิจและทุนชุมชนที่มั่นคง สามารถพึ่งตนเองและจัดการตนเองได้อย่างยั่งยืน

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 1/10 24 ต.ค. 2565 24 ต.ค. 2565

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 1
วันที่ 24 ตุลาคม 2565 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

วัตถุประสงค์ เพื่อกำหนดข้อตกลงร่วมกันของกลุ่มสมาชิก 30 คน ในการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ โดยสมาชิกร่วมกันจัดรูปแบบการดำเนินงาน กำหนดบทบาทการทำงานของสมาชิกในกลุ่มอย่างชัดเจน เพื่อให้กลไกสามารถขับเคลื่อนตามแผนที่วางไว้ อย่างต่อเนื่อง

โดยแกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 7 คน ได้แบ่งหน้าที่ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ 1.นายสมหมาย หลานอาว์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้กำหนดนโนบาย เนื้อหาที่จะใช้พูดคุยในการประชุมกระบวนการรวมกลุ่มสมาชิก เพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง 2.นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน ทำหน้าที่จัดเตรียมอาหารและของว่าง เพื่อให้คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ และสมาชิกกลุ่ม ใช้รับประทานระหว่างการประชุมและหลังประชุมเสร็จ 3.นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม ทำหน้าที่รับลงทะเบียนผู้เข้าร่วม
4.นายประวุฒิ การดี ทำหน้าที่จัดเตรียมและติดป้ายโครงการ พร้อมทั้งจัดสถานที่เพื่อใช้จัดกิจกรรมการประชุม 5.นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม ทำหน้าที่ จดบันทึกการประชุม 6.นางกิ่งแก้ว สังข์ทอง ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา
7. นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน ทำหน้าที่ถ่ายรูปกิจกรรม

ผู้มาเข้าร่วมกิจกรรม รวมจำนวน 30 คน

เริ่มประชุม เวลา 09.00 น. โดยมีระเบียบวาระการประชุมดังนี้

วาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ โดย นายสมหมาย หลานอาว์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้ารร่าปู และประธานผู้รับผิดชอบโครงการ ได้แจ้งรายละเอียดโครงการสร้างอาชีพเสริมรายได้กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด 19 บ้านร่าปู ให้ผู้เข้าร่วมรับทราบ และแจ้เป้าหมา่ยการจัดกิจกรรมครั้งนี้ เพื่อกำหนดข้อตกลงการรวมกลุ่มสมาชิก สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ พร้อมทั้งกำหนดบทบาทการทำงานของสมาชิกในกลุ่มอย่างชัดเจน เพื่อให้กลไกสามารถขับเคลื่อนตามแผนที่วางไว้ อย่างต่อเนื่อง

วาระการประชุมที่ 2 เรื่องเสนอพิจารณา   2.1. การเปิดรับสมาชิกที่เป็นผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 มาเข้าร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู จำนวน 30 คน   2.2. กำหนดข้อตกลงร่วมกัน ในการดำเนินงานของสมาชิกกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

ปิดประชุม เวลา 16.00 น.

 

1) มีผู้เข้าร่วมเป็นสมาชิกกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู รวมจำนวน 40 คน ประกอบด้วย ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 จำนวน 30 คน และคณะทำงาน 10 คน ดังนี้ 1. นางสาวจันทร์จิรา  เพริดพร้อม 2. นางสาวสรางค์  หมาดเส็ม 3. นางสาวจุฑารัตน์  หลานอาว์ 4. นางสาวธัญรัตน์  สัตย์จิตร 5. นางอัน แส้หมูด 6. นายประเสริจฐ์  ละเอียด 7. นางสุดา  นวลสุวรรณ์ 8. นางปราณี ภูมาวงค์ 9. นางสำเนียง เพริดพร้อม 10. นายเอกทัศน์  หนูสงฆ์ 11. นายธงชัย  สุขเจริญ 12. นายเสรี  ธรรมจิตร 13. นายธนากร  โส๊ะแหลม 14. นางสาวจารุณี  ปุตสะ 15. นางอารียา  ต้นวิชา 16. นางสาวประภาพร  คงเมือง 17. นางสาวศิริกุล  ขุนสมุทร 18. นางสาวปัณฑิตา  ก๊กใหญ่ 19. นางอีฉ๊ะ คลองรั้ว 20. นางละไมส์  หมาดเส็ม 21. นางฝ่าตีม๊ะ  ปุสสะ 22. นางอรพินย์  หมาดเส็ม 23. นายสมหมาย  หลานอาว์ 24. นายครรชิต  ละเอียด 25. นางสรี  การดี 26. นางสงวน ละเอียด 27. นางสาวนฤนาจ  หมาดเส็ม 28. นางนพพร  บัวทอง 29. นางสาวพิชน์  ปสสะ 30. นายอุดม  ต้นวิชา 31. นายสหพล  ปุสสะ 32. นางสาวลัดดาวัลย์  ต่อติด 33. นางสาวธนิการณ์  ธรรมณ์จิตร 34. นางจินดานุช  ก๊กใหญ่ 35. นางปัทมา รักษากิจ 36. นางสาวอัมภา หยงสตาร์ 37. นางสาวกนิษฐา  หมาดเส็ม 38. นายบุคขอรี  ปราบเภท 39. นางสาวอรนิท  ทองแดง 40. นางสาวนารีรัตน์  โต๊ะดิน

2) เกิดข้อตกลงร่วมกันในการดำเนินงานของสมาชิกกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู 3 ข้อ (1) การรวมกลุ่มสมาชิก อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง (เฉลี่ย 2 สัปดาห์/ครั้ง) และตามเฉพาะกิจเมื่อมีออร์เดอร์การสั่งสินค้า (2) เบิกจ่ายเงินผลกำไรให้สมาชิกทุกครั้งที่รวมกลุ่ม (3) ออมเงินสมาชิกผลกำไรของสมาชิก 20/30 บาท/เดือน

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 2/5 2 พ.ย. 2565 3 ก.พ. 2566

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาวะกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 2
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ม.1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

เริ่มประชุม เวลา 09.00 น.

ระเบียบวาระการประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 2

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
นายสมหมาย หลานอาว์ (ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านร่าปู) คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ได้มอบหมายให้ นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม รายงานความก้าวหน้าการขับเคลื่อนโครงการที่ผ่านมา

นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม (หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู) และเหรัญญิกโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ (รายงานการดำเนินงานโครงการและผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดโครงการ) ดังนี้ ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดกลไกคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1) เกิดคณะทำงาน 10 คน ที่มาจาก กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนกลุ่มสมาชิก พช. อปท. ปราชญ์ชุมชน ฯลฯ และมีการกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน ดังต่อไปนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง/หน้าที่ในชุมชน ตำแหน่ง/หน้าที่ในโครงการ 1 นายสมหมาย หลานอาว์ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 นายประวุฒิ การดี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน รองหัวหน้าโครงการ 3 นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เหรัญญิก 4 นางอัน แส้หมูด อสม. ประชาสัมพันธ์ 5 นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน อสม. ประชาสัมพันธ์ 6 นางสาวประภาพร คงเมือง หน้าที่ อบต.เกาะกลาง ประสานงาน 7 นางสาวจารุณี ปุตสะ ราชการครู ร.ร.บ้านร่าปู ผู้ช่วยเหรัญญิก 8 นางสาวจุฑารัตน์ หลานอาว์ กรรมการหมู่บ้าน ผู้ช่วยเลขานุการ 9 นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม กรรมการกลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เลขานุการ 10 นางกิ่งแก้ว สังข์ทอง นักวิชาการ พช. อำเภอเกาะลันตา ที่ปรึกษา

1.2) มีข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของครัวเรือนกลุ่มสมาชิก
- ยังไม่มีข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย แต่ทั้งนี้ คณะทำงานมีแผนในการจัดทำข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของสมาชิกกลุ่มเป้าหมาย (ก่อนดำเนินโครงการ) โดยการเชิญครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย มาร่วมประชุมในวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ.2565 เพื่อชี้แจงโครงการฯ พร้อมทั้งสัมภาษณ์ข้อมูลด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพ ตามแบบฟอร์มที่คณะทำงานได้ออกแบบไว้ แล้วให้กลุ่มเป้าหมายได้ตอบคำถามตามแบบสอบถาม โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 30 คน/ครัวเรือน และคณะทำงาน 10 คน ประกอบด้วยรายชื่อดังต่อไปนี้ 1. นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม 2. นางสาวสรางค์ หมาดเส็ม 3. นางสาวจุฑารัตน์ หลานอาว์ 4. นางสาวธัญรัตน์ สัตย์จิตร 5. นางอัน แส้หมูด 6. นายประเสริจฐ์ ละเอียด 7. นางสุดา นวลสุวรรณ์ 8. นางปราณี ภูมาวงค์ 9. นางสำเนียง เพริดพร้อม 10. นายเอกทัศน์ หนูสงฆ์ 11. นายธงชัย สุขเจริญ 12. นายเสรี ธรรมจิตร 13. นายธนากร โส๊ะแหลม 14. นางสาวจารุณี ปุตสะ 15. นางอารียา ต้นวิชา 16. นางสาวประภาพร คงเมือง 17. นางสาวศิริกุล ขุนสมุทร 18. นางสาวปัณฑิตา ก๊กใหญ่ 19. นางอีฉ๊ะ คลองรั้ว 20. นางละไมส์ หมาดเส็ม 21. นางฝ่าตีม๊ะ ปุสสะ 22. นางอรพินย์ หมาดเส็ม 23. นายสมหมาย หลานอาว์ 24. นายครรชิต ละเอียด 25. นางสรี การดี 26. นางสงวน ละเอียด 27. นางสาวนฤนาจ หมาดเส็ม 28. นางนพพร บัวทอง 29. นางสาวพิชน์ ปสสะ 30. นายอุดม ต้นวิชา 31. นายสหพล ปุสสะ 32. นางสาวลัดดาวัลย์ ต่อติด 33. นางสาวธนิการณ์ ธรรมณ์จิตร 34. นางจินดานุช ก๊กใหญ่ 35. นางปัทมา รักษากิจ 36. นางสาวอัมภา หยงสตาร์ 37. นางสาวกนิษฐา หมาดเส็ม 38. นายบุคขอรี ปราบเภท 39. นางสาวอรนิท ทองแดง 40. นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน

1.3) มีแผนปฏิบัติการร่วมกันพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน กลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์

ผลลัพธ์ที่ 2 เกิดข้อตกลงในการขับเคลื่อนงาน สร้างงาน สร้างอาชีพ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1) มีกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19 เข้าร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่ม 30 คน สำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้   2.2) เกิดข้อตกลง/ระเบียบการดำเนินการของสมาชิกร่วมกัน สำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว   2.3) กลุ่มสมาชิกสามารถขับเคลื่อนงานตามแผนธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้ได้อย่างต่อเนื่อง ยังไม่สำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อพิจารณา 2.1) ร่วมวางแผนการขับเคลื่อนโครงการ ระยะต่อไป

ปิดประชุม เวลา 13.00 น.

 

เกิดแผนในการขับเคลื่อนโครงการฯ เพื่อให้กลุ่มสมาชิกสามารถขับเคลื่อนงานตามแผนธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้ได้อย่างต่อเนื่อง
พัฒนาช่องทางทางตลาด ขยายฐานลูกค้าของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ไปยังหมู่บ้าน ตำบล อำเภออื่นๆ ไกล้เคียง นำไปสู่การสร้างรายได้จากการจำหน่ายขนมเบเกอรรี่ และพัฒนากลุ่มให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจให้กลุ่มสมาชิก

 

เข้าร่วมกิจกรรมที่ สสส. จัดขึ้น เวทีอบรมความรอบรู้ทางการเงินและด้านสุขภาพ 5 พ.ย. 2565 5 พ.ย. 2565

 

วันที่ 5-6 พฤศจิกายน 2565 เวทีอบรมความรอบรู้ทางการเงินและด้านสุขภาพ ณ เขาพับผ้ารีสอร์ท ต.ช่อง อ.นาโยง จ.ตรัง

นางสาวสรางค์  หมาดเส็ม แกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ เข้าร่วมกิจกรรมที่ สสส. จัดขึ้น ในเวทีอบรมความรอบรู้ทางการเงินและด้านสุขภาพ พร้อมทั้งแกนนำคณะทำงานโครงการอื่นๆ อีกหลายโครงการ โดยเข้ารับการอบรม

  • เรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ บรรยายโดย คุณนฤมล ฮะอุรา
  • เรื่องความรอบรู้ด้านการเงิน บรรยายโดย อาจารย์สุวิทย์ หมาดอะดำ
    เพื่อได้นำความรู้ในเรื่องที่ได้เข้ารับการอบรมจากวิทยากร ไปใช้ในการจัดการตนเองและสามารถชี้แนะเรื่องสุขภาพและการเงินให้กับแกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ท่านอื่นๆ รวมทั้งสมาชิกกลุ่มเป้าหมายในโครงการฯ ได้

 

มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและด้านการเงิน ดังนี้

1.ความรอบรู้ด้านสุขภาพ   1.มีความสามารถในการค้นหาข้อมูลด้านสุขภาพและการปฏิบัติตนจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้   2.มีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้องเกี่ยวกับข้อมูลนั้นๆ   3.มีทักษะในการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างถูกต้อง   4.มีทักษะในการตัดสินใจ สามารถใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ผลดีผลเสียและทำให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด   5.สามารถรู้เท่าทันสื่อ และมีความสามารถในการตรวจสอบความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่สื่อนำเสนอได้

2.ความรอบรู้ทางการเงิน   1.การจัดงบประมาณการใช้เงิน สามารถบริหารจัดการ ค่าใช้จ่าย การลงทุน การออมได้   2.รู้จักการลงทุน นำเงินที่มีอยู่ไปใช้อย่างชาญฉลาด นำไปเพิ่มรายได้ทำให้เงินงอกเงยขึ้น   3.การกู้ยืม มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องดอกเบี้ยต่างๆ   4.การบริหารการเงิน การหาเทคนิคการลดหนี้ให้ได้มากที่สุด   5.การวางแผนการเงินในครัวเรือน ได้รู้ถึงจำนวนเงินที่ได้มา และวางแผนการใช้จ่ายแต่สิ่งที่จำเป็นและนำไปสู่การออม การลงทุน เพื่อเพิ่มช่องทางรายได้

 

พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 2 หลักสูตร ความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ 10 พ.ย. 2565 10 พ.ย. 2565

 

พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 2
หลักสูตร ความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565 ณ ห้องประชุม อบต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

คณะทำงานประสานวิทยากรมาให้ความรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานและกลุ่มสมาชิก รวมจำนวน 40 คน เพื่อให้มีความเข้าใจและสามารถวางแผนดำเนินงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการฯ
โดยมี กฤษปกรณ์ กันนุสา (นักวิชาการพัฒนาชุมชน อำเกาะลันตา จังหวัดกระบี่) มาเป็นวิทยากรให้ความรู้ผู้มาเข้าร่วม ได้มีความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ

โดยแกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 6 คน ได้แบ่งหน้าที่ปฏิบัติงานในกิจกรรมดังนี้ 1.นายสมหมาย หลานอาว์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้กำหนดนโนบาย เนื้อหาที่จะใช้พูดคุยในการประชุมกระบวนการรวมกลุ่มสมาชิก เพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง 2.นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน ทำหน้าที่จัดเตรียมอาหารและของว่าง เพื่อให้คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ และสมาชิกกลุ่ม ใช้รับประทานระหว่างการประชุมและหลังประชุมเสร็จ 3.นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม ทำหน้าที่รับลงทะเบียนผู้เข้าร่วม
4.นายประวุฒิ การดี ทำหน้าที่จัดเตรียมและติดป้ายโครงการ พร้อมทั้งจัดสถานที่เพื่อใช้จัดกิจกรรมการประชุม 5.นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม ทำหน้าที่ จดบันทึกการประชุม 6.นางกิ่งแก้ว สังข์ทอง ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา
7. นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน ทำหน้าที่ถ่ายรูปกิจกรรม

 

คณะทำงานและกลุ่มสมาชิก รวมจำนวน 40 คน มีความเข้าใจความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ เพื่อสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการเงิน รวมทั้งมีทักษะในการบริหารจัดการ เช่น การจัดงบประมาณการใช้เงิน คือ งบค่าใช้จ่าย งบในการลงทุน งบในการออม งบในการให้

-ใช้เงินในการจ่ายหนี้ก่อน เงินที่เหลือนำมาใช้ เก็บออมและลงทุน ตามลำดับ

การลงทุน คือ ช่วยให้สามารถบริหารจัดการเงินที่มีอยู่อย่างชาญฉลาดและนำไปสู่การเพิ่มรายได้ ทำให้เงินงอกเงย

-การกู้ยืม คือ ความรู้เรื่องดอกเบี้ยต่างๆ เช่น ดอกเบี้ยทบต้น ดอกเบี้ยลอยตัว ดอกเบี้ยคงที่

-ภาษี คือ คำนวณภาษีเงินได้ ทั้งเงินได้จากงานประจำหรือเงินได้จากทางอื่น รวมทั้งต้องรู้สิทธิในการลดหย่อนภาษีต่างๆเพื่อให้สามารถใช้สิทธิได้อย่างเต็มที่ ทำให้มีเงินเหลือเก็บมากขึ้น

-การบริหารการเงินส่วนบุคคล คือ การหาเทคนิคการลดหนี้ให้ได้มากที่สุด

-การวางแผนการเงินครัวเรือน คือ การรู้จำนวนเงินที่จะได้มา และวางแผนการใช้จ่ายด้วยสิ่งที่จำเป็น จะเหลือส่วนที่ไม่จำเป็น นำไปสู่การออม และแบ่งบางส่วนจากการออมไปสู่การลงทุนเพื่อเพิ่มช่องทางรายได้อยู่ตลอด จะนำไปสู่ความ

มั่งคั่งในอนาคต

2.ความรอบรู้ทางสุขภาพ คือ ความสามารถในการเข้าถึง เข้าใจ ใช้ข้อมูล เพื่อนำมาใช้ในการจัดการตนเอง สามารถชี้แนะเรื่องสุขภาพแก่ผู้อื่นได้ องค์ประกอบความรอบรู้ทางสุขภาพ 6 ด้าน

1.การเข้าถึงข้อมูลสุขภาพและบริการสุขภาพ คือ ความสามารถในการค้นหาข้อมูลด้านสุขภาพ เกี่ยวกับการปฏิบัติตน จากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือและเข้าใช้บริการสุขภาพ

2.ความรู้ความเข้าใจ คือ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับข้อมูลนั้นๆ ที่จะนำมาใช้ในการดูแลตนเอง นำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง

3.ทักษะการสื่อสาร คือ ความสามารถในการสื่อสาร ทั้งการพูด การอ่าน การเขียน ให้ผู้อื่นได้เข้าใจถูกต้อง โน้มน้าวให้ผู้อื่นได้ข้อมูลที่ถูกต้อง

4.ทักษะการจัดการตนเอง คือ ความสามารถในการกำหนดเป้าหมาย และทำตามแผนที่กำหนด ในการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

5.ทักษะการตัดสินใจ คือ ความสามารถในการกำหนดทางเลือก เลี่ยงวิธีการที่ไม่เหมาะสม ใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ผลดี ผลเสีย เกิดผลกระทบน้อยที่สุด

6.การรู้เท่าทันสื่อ คือ ความสามารถในการตรวจสอบความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือของมูล ที่สื่อนำเสนอ

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 2/10 24 พ.ย. 2565 24 พ.ย. 2565

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 2 วันที่ 24 พฤศจิกายน 2565 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

วัตถุประสงค์ กลุ่มสมาชิกร่วมกันฝึกและปฏิบัติการจริง ในการผลิตสินค้าแบบมีคุณภาพ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของตลาดเพื่อสร้างจุดขายเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์สินค้า พร้อมทั้งกลไกติดตามข้อมูลของสมาชิกตามแผนที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง

โดยแกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ จำนวน 7 คน ได้แบ่งหน้าที่ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้
1.นายสมหมาย หลานอาว์ ผู้รับผิดชอบโครงการได้กำหนดนโนบาย เนื้อหาที่จะใช้พูดคุยในการประชุมกระบวนการรวมกลุ่มสมาชิก เพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง
2.นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน ทำหน้าที่จัดเตรียมอาหารและของว่าง เพื่อให้คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ และสมาชิกกลุ่ม ใช้รับประทานระหว่างการประชุมและหลังประชุมเสร็จ
3.นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม ทำหน้าที่รับลงทะเบียนผู้เข้าร่วม 4.นายประวุฒิ การดี ทำหน้าที่จัดเตรียมและติดป้ายโครงการ พร้อมทั้งจัดสถานที่เพื่อใช้จัดกิจกรรมการประชุม
5.นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม ทำหน้าที่ จดบันทึกการประชุม
6.นางกิ่งแก้ว สังข์ทอง ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษา 7. นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน ทำหน้าที่ถ่ายรูปกิจกรรม

 

  • ผู้มาเข้าร่วม 40 คน ประกอบด้วย สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 30 คน และคณะทำงาน 10 คน ประกอบด้วยรายชื่อดังต่อไปนี้
  1. นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม
  2. นางสาวสรางค์ หมาดเส็ม
  3. นางสาวจุฑารัตน์ หลานอาว์
  4. นางสาวธัญรัตน์ สัตย์จิตร
  5. นางอัน แส้หมูด
  6. นายประเสริจฐ์ ละเอียด
  7. นางสุดา นวลสุวรรณ์
  8. นางปราณี ภูมาวงค์
  9. นางสำเนียง เพริดพร้อม
  10. นายเอกทัศน์  หนูสงฆ์
  11. นายธงชัย สุขเจริญ
  12. นายเสรี ธรรมจิตร
  13. นายธนากร โส๊ะแหลม
  14. นางสาวจารุณี ปุตสะ
  15. นางอารียา ต้นวิชา
  16. นางสาวประภาพร  คงเมือง
  17. นางสาวศิริกุล  ขุนสมุทร
  18. นางสาวปัณฑิตา ก๊กใหญ่
  19. นางอีฉ๊ะ คลองรั้ว
  20. นางละไมส์ หมาดเส็ม
  21. นางฝ่าตีม๊ะ ปุสสะ
  22. นางอรพินย์ หมาดเส็ม
  23. นายสมหมาย หลานอาว์
  24. นายครรชิต ละเอียด
  25. นางสรี การดี
  26. นางสงวน ละเอียด
  27. นางสาวนฤนาจ หมาดเส็ม
  28. นางนพพร บัวทอง
  29. นางสาวพิชน์ ปสสะ
  30. นายอุดม ต้นวิชา
  31. นายสหพล ปุสสะ
  32. นางสาวลัดดาวัลย์ ต่อติด
  33. นางสาวธนิการณ์ ธรรมณ์จิตร
  34. นางจินดานุช ก๊กใหญ่
  35. นางปัทมา รักษากิจ
  36. นางสาวอัมภา หยงสตาร์
  37. นางสาวกนิษฐา  หมาดเส็ม
  38. นายบุคขอรี ปราบเภท
  39. นางสาวอรนิท ทองแดง
  40. นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน
  • ผู้เข้าร่วมสามารถผลิตขนมเบเกอรรี่ตามรูปแบบต่างๆ ได้

  • มีช่องทางการจำหน่ายในช่องทางต่าง ๆ (1) ร้านค่าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน (2) สถานศึกษาในพื้นที่ ตำบลเกาะกลาง,คลองยาง ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 3/10 24 ธ.ค. 2565 24 ธ.ค. 2565

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 3

วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2565
ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

วัตถุประสงค์ กลุ่มสมาชิกร่วมกันฝึกและปฏิบัติการจริง เรื่อง การจัดการข้อมูลสุขภาวะทางการเงินในครัวเรือน พร้อมทั้งกลไกติดตามข้อมูลของสมาชิกตามแผนที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง

โดยแกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ คืนข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู - ผู้มาเข้าร่วมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง รวม 3 ครั้ง จำนวน 20 คน จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 คน - ผู้ที่มีการออมเงิน เดือนละ 30 บาท จำนวน 18 คน จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 คน - ข้อมูลการผลิตการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของสมาชิกในกลุ่ม ช่องทางการตลาด ที่มาของรายได้ - หน้าร้าน 400 ต่อวัน - ส่ง หน่วยงานภาคี (1) โรงเรียนบ้านร่าหมาด ร่าปู คลองย่าหนัด นาทุ่งกลาง 4 โรงเรียน 32,000 บาท/สัปดาห์ บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) (2) อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่ เดือนละ 4,000 บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) (3) พช.อำเภอเกาะลันตา และที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา 2 ครั้ง 1,700 บาท บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) (4) โครงการพระราชดำริ ทุ่งทะเล เดือนละ 2,000 บาท บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) - ร้านค่าในชุมชน 3 ร้าน รายได้หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว 12,000 บาท/เดือน

 

มีข้อมูลบันทึกรายรับ รายจ่ายของกลุ่ม และบันทึกเงินปันผลกำไร รายได้ของสมาชิกในกลุ่มทุกเดือน
- สมาชิก 10 คน มารวมกลุ่ม 15 วัน/เดือน มีรายได้เดือนละ 2,2000 บาท - สมาชิก 20 คน มารวมกลุ่ม 4 วัน/เดือน มีรายได้เดือนละ 300 บาท

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 4/10 24 ม.ค. 2566 24 ม.ค. 2566

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 4

วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2565
ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

วัตถุประสงค์ กลุ่มสมาชิกร่วมกันฝึกและปฏิบัติการจริง ในเรื่องการพัฒนาช่องทางการตลาด ช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าผ่านระบบออนไลน์ พร้อมทั้งกลไกติดตามข้อมูลของสมาชิกตามแผนที่วางไว้อย่างต่อเนื่อง

โดยแกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ได้คืนข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ดังนี้ 1.คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ 10 คน และสมาชิกกลุ่มทั้ง 30 คน ได้ร่วมกันขับเคลื่อนงานตามแผนที่วางไว้

2.คณะทำงานได้ติดตามและสรุปข้อมูลการผลิต การจัดจำหน่ายของกลุ่มสมาชิก

3.มีการบันทึกรายได้และเงินออมเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก พร้อมทั้งคืนข้อมูลให้สมาชิกรับทราบอย่างต่อเนื่อง

4.แกนนำคณะทำงานทั้ง 10 คน และสมาชิกทั้ง 30 คน ได้ร่วมกันฝึกและร่วมปฏิบัติการจริง

  1. มีข้อมูลบันทึกการจำหน่ายสินค้า

 

  • มีผู้มาเข้าร่วมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง จำนวน 20 คน จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 คน

  • มีผู้ที่มีการออมเงิน เดือนละ 30 บาท จำนวน 20 คน จากกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 คน

  • มีข้อมูลการผลิตการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของสมาชิกในกลุ่ม ช่องทางการตลาด ที่มาของรายได้ ประกอบด้วย 1) ร้านค่าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน
        2) สถานศึกษาในพื้นที่ ตำบลเกาะกลาง,คลองยาง ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง
        3) การผลิตและจำหน่ายสินค้าตามออร์เดอร์ของลูกค้าหน่วยงานองค์กรต่างๆ ประกอบด้วย (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่) (2) พช. และส่วนราชการอำเภอเกาะลันตา (3) หน่วยงานในโครงการพระราชดำริทุ่งทะเล
        4) การจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ Facebook (เฟสบุ๊ค)

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 3/5 3 ก.พ. 2566 23 ก.พ. 2566

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 3

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2566 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ม.1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

เริ่มประชุม เวลา 09.00 น.

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
นายสมหมาย หลานอาว์ (ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านร่าปู) กล่าวต้อนรับคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ และมอบหมายให้ นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม รายงานความก้าวหน้าการขับเคลื่อนโครงการที่ผ่านมา
้เพื่อให้คณะทพำงานขับเคลื่อนโครงการ รับทราบข้อมูลร่วมกัน

นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม (หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู) และเหรัญญิกโครงการฯ รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ (รายงานการดำเนินงานโครงการและผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดโครงการ) ดังนี้

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเพื่อพิจารณา 2.1) ร่วมวางแผนการขับเคลื่อนโครงการ ระยะต่อไป

ปิดประชุม เวลา 13.00 น.

 

  • มีรายงานความก้าวหน้าการขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาวะ กลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่
  • มีข้อมูลบันทึกการติดตามกลุ่มเป้าหมายโครงการ เพื่อรายงานตัวชี้วัดผลลัพธ์โครงการ

ความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ (รายงานการดำเนินงานโครงการและผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดโครงการ) ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดกลไกคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1) เกิดคณะทำงาน 10 คน ที่มาจาก กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนกลุ่มสมาชิก พช. อปท. ปราชญ์ชุมชน ฯลฯ และมีการกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน ดังต่อไปนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง/หน้าที่ในชุมชน ตำแหน่ง/หน้าที่ในโครงการ 1 นายสมหมาย หลานอาว์  ผู้ใหญ่บ้าน ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 นายประวุฒิ การดี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน รองหัวหน้าโครงการ 3 นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เหรัญญิก 4 นางอัน แส้หมูด อสม. ประชาสัมพันธ์ 5 นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน อสม. ประชาสัมพันธ์ 6 นางสาวประภาพร  คงเมือง หน้าที่ อบต.เกาะกลาง ประสานงาน 7 นางสาวจารุณี ปุตสะ ราชการครู ร.ร.บ้านร่าปู ผู้ช่วยเหรัญญิก 8 นางสาวจุฑารัตน์ หลานอาว์ กรรมการหมู่บ้าน ผู้ช่วยเลขานุการ 9 นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม กรรมการกลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เลขานุการ 10 นางกิ่งแก้ว สังข์ทอง นักวิชาการ พช. อำเภอเกาะลันตา ที่ปรึกษา

1.2) มีข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของครัวเรือนกลุ่มสมาชิก
- มีข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย ตามแบบฟอร์มที่คณะทำงานได้ออกแบบไว้ แล้วให้กลุ่มเป้าหมายได้ตอบคำถามตามแบบสอบถาม โดยมีกลุ่มเป้าหมาย 30 คน/ครัวเรือน และคณะทำงาน 10 คน ประกอบด้วย
- ข้อมูลสถานการณ์ความรอบรู้ทางด้านการเงิน
(1) มีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือนหรือไม่
(2) จำนวนรายได้ปัจจุบัน กี่บาท/เดือน
(3) จำนวนรายจ่ายปัจจุบัน กี่บาท/เดือน
(4) การออมเงินปัจจุบัน (บาท/เดือน) - ข้อมูลสถานการณ์ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ (1) มีโรคประจำตัวหรือไม่
(2) จำนวนที่เข้ารับการรักษา (ครั้ง/เดือน) (3) จำนวนการออกกำลังกาย (วัน/เดือน) (4) มีการสูบบุหรี่ (มวน/วัน) (5) มีการดื่มสุรา (ขวด/วัน) (6) มีการทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม (กี่มื้อ/วัน)

1.3) มีแผนปฏิบัติการร่วมกันพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน
- มีแผนการดำเนินงาน ตาม TOR - มีแผนการจดแจ้งกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู OTOP กับ พช. และจดแจ้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกับเกษตร และขอการรับรองมาตรฐาน อ.ย.

ผลลัพธ์ที่ 2 เกิดข้อตกลงในการขับเคลื่อนงาน สร้างงาน สร้างอาชีพ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1) มีกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19 เข้าร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่ม อย่างน้อย 30 คน - มีกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19 เข้าร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่ม 30 คน

    2.2) เกิดข้อตกลง/ระเบียบการดำเนินการของสมาชิกร่วมกัน (1) การรวมกลุ่มสมาชิก อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง (เฉลี่ย 2 สัปดาห์/ครั้ง) และตามเฉพาะกิจเมื่อมีออร์เดอร์การสั่งสินค้า (2) เบิกจ่ายเงินผลกำไรให้สมาชิกทุกครั้งที่รวมกลุ่ม (3) ออมเงินสมาชิกผลกำไรของสมาชิก 30 บาท/เดือน

2.3) กลุ่มสมาชิกสามารถขับเคลื่อนงานตามแผนธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้ได้อย่างต่อเนื่อง

ผลลัพธ์ที่ 3 กลไกสามารถสนับสนุน การสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1) มีข้อมูลการผลิตการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของสมาชิกในกลุ่ม โดยมีช่องทางการจำหน่ายสินค้า และรายได้ทั้งในรูปแบบการ Online และ Onsite ดังนี้ การขายหน้าร้าน บ้านขนมบ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยจำนวน 400 บาทต่อวัน หรือ เดือนละ 12,000 บาท - #การจำหน่ายส่งตั้งขายประจำ ประกอบด้วย (1) ร้านค่าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 12,000 บาท (2) สถานศึกษาในพื้นที่ ตำบลเกาะกลาง,คลองยาง ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง เป็นต้น โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) ณ ช่วงเปิดเทอม จำนวน 32,000 บาทต่อสัปดาห์ - #การผลิตและจำหน่ายสินค้าตามออร์เดอร์ของลูกค้าหน่วยงานองค์กรต่างๆ ประกอบด้วย (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่) โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 4,000 บาท (2) พช. และส่วนราชการอำเภอเกาะลันตา ที่ผ่านมาได้สั่งซื้อแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 1,700 บาท (3) หน่วยงานในโครงการพระราชดำริทุ่งทะเล โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท
(4) ภาคเอกชน ได้แก่ โรงแรมนครา อำเภอเกาะลันตา ที่ผ่านมาใช้บริการแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 3,000 บาท - #การจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ โดยที่ผ่านมา มีลูกค้าสั่งที่ได้ซื้อสินค้าผ่านแพ็ตฟอร์มต่างๆ ดังนี้ (1) Facebook (เฟสบุ๊ค) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 10,000 บาท

3.2) มีข้อมูลบันทึกรายรับ รายจ่ายของกลุ่ม และบันทึกเงินปันผลกำไร รายได้ของสมาชิกในกลุ่มทุกเดือน
- สมาชิก 10 คน มีการรวมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง (เฉลี่ย 15 วัน/เดือน) มีรายได้ เฉลี่ยคนละ 2,2000 บาทต่อเดือน - สมาชิก 20 คน มีการรวมกลุ่ม (เฉลี่ย 4 วัน/เดือน) มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 300 บาท

ช่องทางการตลาด ที่มาของรายได้ - หน้าร้าน 400 ต่อวัน - ส่ง หน่วยงานภาคี
(1) โรงเรียนบ้านร่าหมาด ร่าปู คลองย่าหนัด นาทุ่งกลาง 4 โรงเรียน 32,000 บาท/สัปดาห์ บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) (2) อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่ เดือนละ 4,000 บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) (3) พช.อำเภอเกาะลันตา และที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา 2 ครั้ง 1,700 บาท บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) (4) โครงการพระราชดำริ ทุ่งทะเล เดือนละ 2,000 บาท บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) - ร้านค่าในชุมชน และเอกชน
- ร้านค่าในชุมชน 3 ร้าน รายได้หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว 12,000 บาท/เดือน - โรงแรมนครา 2 ครั้ง 3,000 บาท - เฟสบุค 10,000 บาท - ผ่านช็อปปี้ 2 เดือน เดือน พ.ค. 2566 รายได้ 18,000 บาท มิ.ย. 2566 รายได้ 27,000 บาท - Tiktok 10,000 บาท/เดือน

3.2) มีข้อมูลบันทึกรายรับ รายจ่ายของกลุ่ม และบันทึกเงินปันผลกำไร รายได้ของสมาชิกในกลุ่มทุกเดือน
- มีบันทึกข้อมูล สมาชิก 10 คน มารวมกลุ่ม 15 วัน/เดือน มีรายได้เดือนละ 2,2000 บาท - สมาชิก 20 คน มารวมกลุ่ม 4 วัน/เดือน มีรายได้เดือนละ 300 บาท

3.3) มีข้อมูลบันทึกการออมเงินของสมาชิกเดือนละ 30 บาท เพื่อเป็นสวัสดิการให้กับสมาชิก
สมาชิกกลุ่ม จำนวน 20 คน มีการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการในชีวิตประจำวัน 30 บาท/เดือน ดำเนินการมาแล้ว 4 เดือน (เริ่มออม มี.ค.2566)

ผลลัพธ์ที่ 4 กลุ่มสมาชิกมีอาชีพ มีรายได้ มีเงินออม มีสวัสดิการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1) ร้อยละ 80 ของสมาชิก มีรายได้ ผลกำไรอย่างต่อเนื่อง - สมาชิก 10 คน มีรายได้ ผลกำไรอย่างต่อเนื่อง มีรายได้เดือนละ 2,200 บาท 4.2) มีภาคีเครือข่ายอย่างน้อย 3 ภาคี เข้ามาสนับสนุนต่อยอด พัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน ยกระดับกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาระบบสวัสดิการของชุมชน - พัฒนาชุมชน อ.เกาะลันตา สนับสนุนการจดแจ้งจัดตั้งกลุ่ม OTOP และพัฒนาบรรจุภัณฑ์
- สำนักงานจังหวัดกระบี่ สนับสนุนการพัฒนาช่องทางการตลาด ผ่านระบบออนไลน์

 

เข้าร่วมกิจกรรมที่ สสส. จัดขึ้น เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 4 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 5/10 24 ก.พ. 2566 24 ก.พ. 2566

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 5

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2566 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

วัตถุประสงค์ สมาชิกขับเคลื่อนงานตามแผนที่ตั้งไว้ กลไกคณะทำงานติดตามและสรุปข้อมูลการผลิต การจำหน่ายของกลุ่มสมาชิก โดยมีการบันทึกรายได้ เงินปันผลกำไร และเงินออมเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก และคืนข้อมูลให้สมาชิกรับทราบอย่างต่อเนื่อง

คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการได้คืนข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ประกอบด้วย

  1. ข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

  2. ข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก เดือนละ 30 บาท

  3. ข้อมูลบันทึกการผลิตและจำหน่ายสินค้าของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

 

มีข้อมูลการผลิตการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของสมาชิกในกลุ่ม โดยมีช่องทางการจำหน่ายสินค้า และรายได้ทั้งในรูปแบบการ Online และ Onsite ดังนี้ การขายหน้าร้าน บ้านขนมบ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยจำนวน 400 บาทต่อวัน หรือ เดือนละ 12,000 บาท - การจำหน่ายส่งตั้งขายประจำ ประกอบด้วย (1) ร้านค่าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 12,000 บาท (2) สถานศึกษาในพื้นที่ ตำบลเกาะกลาง,คลองยาง ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง เป็นต้น โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) ณ ช่วงเปิดเทอม จำนวน 32,000 บาทต่อสัปดาห์ - #การผลิตและจำหน่ายสินค้าตามออร์เดอร์ของลูกค้าหน่วยงานองค์กรต่างๆ ประกอบด้วย (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่) โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 4,000 บาท (2) พช. และส่วนราชการอำเภอเกาะลันตา ที่ผ่านมาได้สั่งซื้อแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 1,700 บาท (3) หน่วยงานในโครงการพระราชดำริทุ่งทะเล โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท
(4) ภาคเอกชน ได้แก่ โรงแรมนครา อำเภอเกาะลันตา ที่ผ่านมาใช้บริการแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 3,000 บาท - การจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ โดยที่ผ่านมา มีลูกค้าสั่งที่ได้ซื้อสินค้าผ่านแพ็ตฟอร์ม Facebook (เฟสบุ๊ค) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 10,000 บาท

  • มีข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการในชีวิตประจำวัน 30 บาท/เดือน ดำเนินการมาแล้ว 4 เดือน
    มีสมาชิกที่ออม จำนวน 20 คน

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 6/10 24 มี.ค. 2566 6 มี.ค. 2566

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 6

วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2566 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

วัตถุประสงค์ สมาชิกขับเคลื่อนงานตามแผนที่ตั้งไว้ กลไกคณะทำงานติดตามและสรุปข้อมูลการผลิต การจำหน่ายของกลุ่มสมาชิก โดยมีการบันทึกรายได้ เงินปันผลกำไร และเงินออมเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก และคืนข้อมูลให้สมาชิกรับทราบอย่างต่อเนื่อง

คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการได้คืนข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ประกอบด้วย

  1. ข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

  2. ข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก เดือนละ 30 บาท

  3. ข้อมูลบันทึกการผลิตและจำหน่ายสินค้าของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

 

มีข้อมูลการผลิตการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของสมาชิกในกลุ่ม โดยมีช่องทางการจำหน่ายสินค้า และรายได้ทั้งในรูปแบบการ Online และ Onsite ดังนี้ การขายหน้าร้าน บ้านขนมบ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยจำนวน 400 บาทต่อวัน หรือ เดือนละ 12,000 บาท - การจำหน่ายส่งตั้งขายประจำ ประกอบด้วย (1) ร้านค่าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 12,000 บาท (2) สถานศึกษาในพื้นที่ ตำบลเกาะกลาง,คลองยาง ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง เป็นต้น โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) ณ ช่วงเปิดเทอม จำนวน 32,000 บาทต่อสัปดาห์ - #การผลิตและจำหน่ายสินค้าตามออร์เดอร์ของลูกค้าหน่วยงานองค์กรต่างๆ ประกอบด้วย (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่) โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 4,000 บาท (2) พช. และส่วนราชการอำเภอเกาะลันตา ที่ผ่านมาได้สั่งซื้อแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 1,700 บาท (3) หน่วยงานในโครงการพระราชดำริทุ่งทะเล โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท
(4) ภาคเอกชน ได้แก่ โรงแรมนครา อำเภอเกาะลันตา ที่ผ่านมาใช้บริการแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 3,000 บาท - การจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ โดยที่ผ่านมา มีลูกค้าสั่งที่ได้ซื้อสินค้าผ่านแพ็ตฟอร์ม Facebook (เฟสบุ๊ค) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 10,000 บาท

  • มีข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการในชีวิตประจำวัน 30 บาท/เดือน ดำเนินการมาแล้ว 4 เดือน
    มีสมาชิกที่ออม จำนวน 20 คน

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 7/10 24 เม.ย. 2566 7 เม.ย. 2566

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 7

วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2566 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

วัตถุประสงค์ เพื่อให้สมาชิกขับเคลื่อนงานตามแผนที่ตั้งไว้ กลไกคณะทำงานติดตามและสรุปข้อมูลการผลิต การจำหน่ายของกลุ่มสมาชิก โดยมีการบันทึกรายได้ เงินปันผลกำไร และเงินออมเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก และคืนข้อมูลให้สมาชิกรับทราบอย่างต่อเนื่อง

คณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ได้คืนข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของสมาชืกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ประกอบด้วย

  1. ข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

  2. ข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก เดือนละ 30 บาท

  3. ข้อมูลบันทึกการผลิตและจำหน่ายสินค้าของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

 

  • มีข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในการผลิตขนมเบเกอรรี่เพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู
  • มีข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู และรายได้ที่ได้รับจากการจำหน่ายในช่องทางต่างๆ ทั้งในรูปแบบการ Online และ Onsite โดยสามารถสรุปผลการจำหน่ายในช่องทางต่างๆ ได้ดังนี้ (1) การขายหน้าร้าน ณ บ้านขนมบ้านร่าปู (ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู) ม.1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยจำนวน 400 บาทต่อวัน หรือ เดือนละประมาณ 12,000 บาท (2) การส่งขายตามร้านค้าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 12,000 บาท (3) การส่งขายตามร้านค้าในโรงเรียนสถานศึกษา ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 32,000 บาท (4) การผลิตและจำหน่ายสินค้าตามออร์เดอร์ของลูกค้าหน่วยงานองค์กรต่างๆ เมื่อมีการจัดกิจกรรม การประชุม หรือเวทีสัมมนา เป็นต้น ประกอบด้วย   (4.1) หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 4,000 บาท   (4.2) ส่วนราชการอำเภอเกาะลันตา (เช่น พัฒนาชุมชน,เกษตรอำเภอ) โดยที่ผ่านมาได้ใช้บริการมาแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 1,700 บาท   (4.3) หน่วยงานในโครงการพระราชดำริหาดทุ่งทะเล มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท
      (4.4) องค์กรภาคธุรกิจเอกชน ได้แก่ โรงแรมนครา อำเภอเกาะลันตา โดยที่ผ่านมาใช้บริการแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 3,000 บาท (5) การจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ โดยที่ผ่านมา มีลูกค้าสั่งที่ได้ซื้อสินค้าผ่านแพ็ตฟอร์ม Facebook (เฟสบุ๊ค) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 10,000 บาท

  • มีข้อมูลการออมเงินเดือนละ 30 บาท เพื่อใช้เป็นสวัสดิการ มีสมาชิกที่ได้ออมเงินต่อเนื่องทุกเดือน รวมจำนวน 20 คน

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 8/10 24 พ.ค. 2566 8 พ.ค. 2566

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 8

วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่


กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้แก่ สมาชิกกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู จำนวน 30 คน และแกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการฯ


วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้สมาชิกสามารถขับเคลื่อนงานตามแผนที่ตั้งไว้


2) เพื่อให้กลไกคณะทำงานสามารถติดตามและสรุปข้อมูล การเข้าร่วมปฏิบัติงาน การผลิตขนม และเงินออมเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก อย่างต่อเนื่อง


3) เพื่อคืนข้อมูลการจำหน่ายของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู เพื่อให้สมาชิกได้รับทราบ
โดยคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ได้คืนข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของสมาชืกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ประกอบด้วย   1. ข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู    2. ข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก เดือนละ 30 บาท  3. ข้อมูลบันทึกการผลิตและจำหน่ายสินค้าของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู


4) เพื่อปันผลกำไรให้กับสมาชิก ได้มีรายได้จากการมาร่วมดำเนินงาน ปฏิบัติงานในกลุ่มอย่างต่อเนื่อง

 

  • มีข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในการผลิตขนมเบเกอรรี่เพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

  • มีข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู และรายได้ที่ได้รับจากการจำหน่ายในช่องทางต่างๆ ทั้งในรูปแบบการ Online และ Onsite

  • มีข้อมูลการออมเงินเดือนละ 30 บาท เพื่อใช้เป็นสวัสดิการ มีสมาชิกที่ได้ออมเงินต่อเนื่องทุกเดือน รวมจำนวน 20 คน


    โดยสามารถสรุปผลการจำหน่ายในช่องทางต่างๆ ได้ดังนี้

    (1) การขายหน้าร้าน ณ บ้านขนมบ้านร่าปู (ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู) ม.1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยจำนวน 400 บาทต่อวัน หรือ เดือนละประมาณ 12,000 บาท


    (2) การส่งขายตามร้านค้าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 12,000 บาท


    (3) การส่งขายตามร้านค้าในโรงเรียนสถานศึกษา ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 32,000 บาท


    (4) การผลิตและจำหน่ายสินค้าตามออร์เดอร์ของลูกค้าหน่วยงานองค์กรต่างๆ เมื่อมีการจัดกิจกรรม การประชุม หรือเวทีสัมมนา เป็นต้น ประกอบด้วย

  (4.1) หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 4,000 บาท

  (4.2) ส่วนราชการอำเภอเกาะลันตา (เช่น พัฒนาชุมชน,เกษตรอำเภอ) โดยที่ผ่านมาได้ใช้บริการมาแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 1,700 บาท

  (4.3) หน่วยงานในโครงการพระราชดำริหาดทุ่งทะเล มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท

  (4.4) องค์กรภาคธุรกิจเอกชน ได้แก่ โรงแรมนครา อำเภอเกาะลันตา โดยที่ผ่านมาใช้บริการแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 3,000 บาท


(5) การจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ โดยที่ผ่านมา มีลูกค้าสั่งที่ได้ซื้อสินค้าผ่านแพ็ตฟอร์ม ดังนี้

      (5.1) Facebook (เฟสบุ๊ค) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 10,000 บาท

      (5.2) Shopee (ช็อปปี้) มีรายได้ผลกำไรจากการขายในเดือนพฤษภาคม ปี จำนวน 18,000 บาท และเดือน มิถุนายน 2566 จํานวน 23,000 บาท

      (5.3) Tiktok (ติ๊กต๊อก) ที่ผ่านมา มีรายได้ เฉลี่ยเดือนละ 60,000 บาท


- สมาชิกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู รวมจำนวน 30 คน มีรายได้อย่างต่อเนื่อง
  - สมาชิก จํานวน 10 คน ที่ได้มารวมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง เฉลี่ย 14 วัน/เดือน มีรายได้เฉลี่ยคนละ 2,200 บาท ต่อเดือน
  - สมาชิก 20 คน ที่มาเข้าร่วมกลุ่มเฉลี่ย 4 วัน/เดือน มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 300 บาท

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 4/5 4 มิ.ย. 2566 4 มิ.ย. 2566

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 4

ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ม.1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่


เริ่มประชุม เวลา 09.00 น.


ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องสืบเนื่องแจ้งที่ประชุมทราบ
    1.1) นายสมหมาย หลานอาว์ (ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านร่าปู) กล่าวต้อนรับคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ และแจ้งข่าวประชาสัมพันธ์ที่ได้รับจากการประชุมประจำเดือนกำนันผู้ใหญ่บ้านและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องอำเภอเกาะลันตา

    1.2) นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม รายงานผลการดำเนินงาน ความก้าวหน้าในการขับเคลื่อนโครงการฯ ของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ที่ผ่านมา เพื่อให้ทุกคนได้รับทราบข้อมูลร่วมกัน

    1.3) นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม (หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู) และเหรัญญิกโครงการฯ รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณในโครงการฯ


ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา

    2.1) วางแผนการขับเคลื่อนโครงการฯ ระยะต่อไป


ปิดประชุม เวลา 13.00 น.

 

  • มีรายงานความก้าวหน้า ผลลัพธ์จากการขับเคลื่อนงาน ตามบันไดผลลัพธ์โครงการสร้างเสริมสุขภาวะ กลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่

  • มีข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของสมาชิกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู เพื่อนำไปคืนข้อมูลให้กับสมาชิกในวันนัดรวมกลุ่มสมาชิกได้รับทราบร่วมกัน ประกอบด้วย

  1. ข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

  2. ข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก เดือนละ 30 บาท

  3. ข้อมูลบันทึกการผลิตและจำหน่ายสินค้าของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 9/10 24 มิ.ย. 2566 9 มิ.ย. 2566

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 9

วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่


กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้แก่ สมาชิกกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู จำนวน 30 คน และแกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการฯ


วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้สมาชิกสามารถขับเคลื่อนงานตามแผนที่ตั้งไว้


2) เพื่อให้กลไกคณะทำงานสามารถติดตามและสรุปข้อมูล การเข้าร่วมปฏิบัติงาน การผลิตขนม และเงินออมเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก อย่างต่อเนื่อง


3) เพื่อคืนข้อมูลการจำหน่ายของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู เพื่อให้สมาชิกได้รับทราบ
โดยคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ได้คืนข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของสมาชืกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ประกอบด้วย   1. ข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู    2. ข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก เดือนละ 30 บาท  3. ข้อมูลบันทึกการผลิตและจำหน่ายสินค้าของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู


4) เพื่อปันผลกำไรให้กับสมาชิก ได้มีรายได้จากการมาร่วมดำเนินงาน ปฏิบัติงานในกลุ่มอย่างต่อเนื่อง

 

  • มีข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในการผลิตขนมเบเกอรรี่เพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

  • มีข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู และรายได้ที่ได้รับจากการจำหน่ายในช่องทางต่างๆ ทั้งในรูปแบบการ Online และ Onsite

  • มีข้อมูลการออมเงินเดือนละ 30 บาท เพื่อใช้เป็นสวัสดิการ มีสมาชิกที่ได้ออมเงินต่อเนื่องทุกเดือน รวมจำนวน 20 คน


    โดยสามารถสรุปผลการจำหน่ายในช่องทางต่างๆ ได้ดังนี้

    (1) การขายหน้าร้าน ณ บ้านขนมบ้านร่าปู (ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู) ม.1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยจำนวน 400 บาทต่อวัน หรือ เดือนละประมาณ 12,000 บาท

    (2) การส่งขายตามร้านค้าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 12,000 บาท

    (3) การส่งขายตามร้านค้าในโรงเรียนสถานศึกษา ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 32,000 บาท

    (4) การผลิตและจำหน่ายสินค้าตามออร์เดอร์ของลูกค้าหน่วยงานองค์กรต่างๆ เมื่อมีการจัดกิจกรรม การประชุม หรือเวทีสัมมนา เป็นต้น ประกอบด้วย

  (4.1) หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 4,000 บาท

  (4.2) ส่วนราชการอำเภอเกาะลันตา (เช่น พัฒนาชุมชน,เกษตรอำเภอ) โดยที่ผ่านมาได้ใช้บริการมาแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 1,700 บาท

  (4.3) หน่วยงานในโครงการพระราชดำริหาดทุ่งทะเล มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท

  (4.4) องค์กรภาคธุรกิจเอกชน ได้แก่ โรงแรมนครา อำเภอเกาะลันตา โดยที่ผ่านมาใช้บริการแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 3,000 บาท

(5) การจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ โดยที่ผ่านมา มีลูกค้าสั่งที่ได้ซื้อสินค้าผ่านแพ็ตฟอร์ม ดังนี้

      (5.1) Facebook (เฟสบุ๊ค) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 10,000 บาท

      (5.2) Shopee (ช็อปปี้) มีรายได้ผลกำไรจากการขายในเดือนพฤษภาคม ปี จำนวน 18,000 บาท และเดือน มิถุนายน 2566 จํานวน 23,000 บาท

      (5.3) Tiktok (ติ๊กต๊อก) ที่ผ่านมา มีรายได้ เฉลี่ยเดือนละ 60,000 บาท


- สมาชิกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู รวมจำนวน 30 คน มีรายได้อย่างต่อเนื่อง

  - สมาชิก จํานวน 10 คน ที่ได้มารวมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง เฉลี่ย 14 วัน/เดือน มีรายได้เฉลี่ยคนละ 2,200 บาท ต่อเดือน
  - สมาชิก 20 คน ที่มาเข้าร่วมกลุ่มเฉลี่ย 4 วัน/เดือน มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 300 บาท

 

เข้าร่วมกิจกรรมที่ สสส. จัดขึ้น เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนา ARE ครั้งที่ 2 15 ก.ค. 2566 15 ก.ค. 2566

 

เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน โครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด 19 พื้นที่ภาคใต้


ระหว่างวันที่ 15-16 กรกฎาคม 2566

ณ โรงแรมเซาท์เทอร์นแอร์พอร์ต อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา


NODE COVID ภาคใต้ หน่วยจัดการระดับพื้นที่ (สสส.สำนัก 6) ชุดโครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด 19 พื้นที่ภาคใต้ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน ARE เครือข่ายโครงการรายย่อย รวม 39 โครงการในพื้นที่ 11 จังหวัดภาคใต้


โดยมีกระบวนการสำคัญ ระหว่างวันที่ 15-16 ก.ค.2566 ดังนี้

วันเสาร์ ที่ 15 กรกฎาคม 2566 - พื้นที่เดิมทาง และเตรียมจัดแสดงนิทรรศการ - NODE ถ่ายทอดสด เยี่ยมชมบูชนิทรรศการ ของแต่ละโครงการ - ชี้แจงวัตถุประสงค์ เปิดเวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน โครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด 19 พื้นที่ภาคใต้ - แบ่งกลุ่มย่อย กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยแต่ละพื้นที่ นำเสนอผลลัพธ์ 26 ข้อ ประกอบด้วย (1) ชื่อโครงการ (2) จํานวนแกนนำขับเคลื่อนโครงการ (3) จํานวนแกนนำที่มีความรู้การบริหารโครงการ (4) จำนวนแกนนําที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน (5) จํานวนแกนนำที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (6) จํานวนครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการ (7) จํานวนคนที่เข้าร่วมโครงการ (8) จํานวนคนที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (สุขภาพ+การเงิน) (9) ลักษณะพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง (10) จํานวนคนที่มีความสุขเพิ่มขึ้น (11) จำนวนกลุ่มในชุมชนที่สร้างแหล่งอาหารในชุมชน (12) จํานวนคนที่เข้าร่วมโครงการที่เกิดความตระหนัก (นำความรู้ไปปฏิบัติ) (13) จำนวนกลุ่มอาชีพที่ใช้ทรัพยากรในชุมชน (14) ประเภทอาชีพที่เกิดขึ้น (15) จํานวนรูปแบบสื่อที่ใช้ส่งเสริมอาชีพ (16) ชื่อรูปแบบหรือแพลตฟอร์มที่เกิดขึ้น (17) จำนวนเครือข่ายที่เกิดขึ้นในชุมชน (18) ชื่อเครือข่ายที่เกิดขึ้นในชุมชน (19) จํานวนรายได้ที่เพิ่มขึ้น (20) จํานวนรายจ่ายทีลดลง (21) จํานวนเงินออมรวมกัน (22) จํานวนสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เกิดขึ้น (23) ชื่อสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เกิดขึ้น (24) จํานวนสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เกิดขึ้น (25) ชื่อสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เกิดขึ้น (26) ชื่อช่องทางการสื่อสารของโครงการ (ชื่อเฟส ชื่อเพจ) - แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน - พี่เลี้ยงประจำกลุ่มนำผลการแลกเปลี่ยนแต่ละกลุ่ม มานำเสนอในวงใหญ่ - (ภาคค่ำ) รับประทานอาหารเย็นร่วมกันในรูปแบบปาร์ตี้สังสรรค์ พร้อมชมการแสดงของแต่ละจังหวัด (จังหวัดละ 1 ชุดการแสดง)


วันอาทิตย์ ที่ 16 กรกฎาคม 2566 - แบ่งกลุ่มย่อยตามรายจังหวัด แลกเปลี่ยนบทเรียนการดำเนินโครงการ โดยมีหัวข้อย่อย ดังนี้ • การเลือกกลุ่มเป้าหมายในการสนับสนุนควรมีแนวทางอย่างไร • แกนนำควรได้รับการพัฒนาทักษะเรื่องอะไรบ้าง เพื่อให้ขับเคลื่อนงานได้บรรลุผลลัพธ์ • การจัดการข้อมูลตามบันไดผลลัพธ์ มีวิธีการเก็บ การตรวจสอบความถูกต้อง และการเอาข้อมูลไปใช้ในโครงการอย่างไร (ตัวอย่างที่เคยทำ) • การทำงานร่วมกับทีมสนับสนุนวิชาการมีแนวทางอย่างไร
• ความต้องการสนับสนุนจากพี่เลี้ยง จากหน่วยจัดการ และภาคีระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร - สรุปผลกิจกรรม ถ่ายรูปร่วมกัน รับประทานอาหารกลางวัน และเดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ

 

ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพื้นที่อื่นๆ ทำให้มีแนวทางในการแก้ไขปัญหาในประเด็นที่กลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ยังดำเนินการไม่สำเร็จ ยังไม่บรรลุผลลัพธ์ เช่น แกนนำคณะทำงานสามารถสนับสนุนให้สมาชิกได้มีความรอบรู้ด้านการเงินและสุขภาพได้ ภายใต้กิจกรรมที่มีการรวมกลุ่มสมาชิกทุกเดือน โดยวิธีการสร้างแรงจูงใจ ให้สมาชิกได้บันทึกข้อมูล บัญชีครัวเรือนค่าใช้จ่ายในครัวเรือนต่างๆ เป็นต้น

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 10/10 24 ก.ค. 2566 10 ก.ค. 2566

 

รวมกลุ่มสมาชิกเพื่อขับเคลื่อนแผนพัฒนากลุ่มฯ ครั้งที่ 9

วันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอร์รี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่


กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม ได้แก่ สมาชิกกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู จำนวน 30 คน และแกนนำคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการฯ


วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้สมาชิกสามารถขับเคลื่อนงานตามแผนที่ตั้งไว้


2) เพื่อให้กลไกคณะทำงานสามารถติดตามและสรุปข้อมูล การเข้าร่วมปฏิบัติงาน การผลิตขนม และเงินออมเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก อย่างต่อเนื่อง


3) เพื่อคืนข้อมูลการจำหน่ายของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู เพื่อให้สมาชิกได้รับทราบ
โดยคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ได้คืนข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของสมาชืกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ประกอบด้วย   1. ข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู    2. ข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก เดือนละ 30 บาท  3. ข้อมูลบันทึกการผลิตและจำหน่ายสินค้าของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู


4) เพื่อปันผลกำไรให้กับสมาชิก ได้มีรายได้จากการมาร่วมดำเนินงาน ปฏิบัติงานในกลุ่มอย่างต่อเนื่อง

 

  • มีข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในการผลิตขนมเบเกอรรี่เพื่อจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

  • มีข้อมูลการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู และรายได้ที่ได้รับจากการจำหน่ายในช่องทางต่างๆ ทั้งในรูปแบบการ Online และ Onsite

  • มีข้อมูลการออมเงินเดือนละ 30 บาท เพื่อใช้เป็นสวัสดิการ มีสมาชิกที่ได้ออมเงินต่อเนื่องทุกเดือน รวมจำนวน 20 คน

โดยสามารถสรุปผลการจำหน่ายในช่องทางต่างๆ ได้ดังนี้

(1) การขายหน้าร้าน ณ บ้านขนมบ้านร่าปู (ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู) ม.1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยจำนวน 400 บาทต่อวัน หรือ เดือนละประมาณ 12,000 บาท

(2) การส่งขายตามร้านค้าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 12,000 บาท

(3) การส่งขายตามร้านค้าในโรงเรียนสถานศึกษา ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 32,000 บาท

(4) การผลิตและจำหน่ายสินค้าตามออร์เดอร์ของลูกค้าหน่วยงานองค์กรต่างๆ เมื่อมีการจัดกิจกรรม การประชุม หรือเวทีสัมมนา เป็นต้น ประกอบด้วย

  (4.1) หน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 4,000 บาท

  (4.2) ส่วนราชการอำเภอเกาะลันตา (เช่น พัฒนาชุมชน,เกษตรอำเภอ) โดยที่ผ่านมาได้ใช้บริการมาแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 1,700 บาท

  (4.3) หน่วยงานในโครงการพระราชดำริหาดทุ่งทะเล มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท

  (4.4) องค์กรภาคธุรกิจเอกชน ได้แก่ โรงแรมนครา อำเภอเกาะลันตา โดยที่ผ่านมาใช้บริการแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 3,000 บาท

(5) การจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ โดยที่ผ่านมา มีลูกค้าสั่งที่ได้ซื้อสินค้าผ่านแพ็ตฟอร์ม ดังนี้

      (5.1) Facebook (เฟสบุ๊ค) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 10,000 บาท

      (5.2) Shopee (ช็อปปี้) มีรายได้ผลกำไรจากการขายในเดือนพฤษภาคม ปี จำนวน 18,000 บาท และเดือน มิถุนายน 2566 จํานวน 23,000 บาท

      (5.3) Tiktok (ติ๊กต๊อก) ที่ผ่านมา มีรายได้ เฉลี่ยเดือนละ 60,000 บาท

  • สมาชิกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู รวมจำนวน 30 คน มีรายได้อย่างต่อเนื่อง

  - สมาชิก จํานวน 10 คน ที่ได้มารวมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง เฉลี่ย 14 วัน/เดือน มีรายได้เฉลี่ยคนละ 2,200 บาท ต่อเดือน
  - สมาชิก 20 คน ที่มาเข้าร่วมกลุ่มเฉลี่ย 4 วัน/เดือน มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 300 บาท

 

คณะทำงานสัมภาษณ์ข้อมูลกลุ่มสมาชิก ครั้งที่ 2 (หลังดำเนินโครงการ) 1 ส.ค. 2566 2 ส.ค. 2566

 

คณะทำงานจัดวงประชุมสมาชิกเพื่อสัมภาษณ์ประเมินข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ ครั้งที่ 2 (หลังดำเนินโครงการ)

โดยกลุ่มเป้าหมายที่มาเข้าร่วม รวมจำนวน 40 คน ประกอบด้วย คณะทำงานโครงการ 10 คน และกลุ่มเป้าหมายผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด 19 ระบาด ที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน โดยมีรายชื่อ ดังนี้ 1. นางสาวจันทร์จิรา เพริดพร้อม 2. นางสาวสรางค์ หมาดเส็ม 3. นางสาวจุฑารัตน์ หลานอาว์ 4. นางสาวธัญรัตน์ สัตย์จิตร 5. นางอัน แส้หมูด 6. นายประเสริจฐ์ ละเอียด 7. นางสุดา นวลสุวรรณ์ 8. นางปราณี ภูมาวงค์ 9. นางสำเนียง เพริดพร้อม 10. นายเอกทัศน์ หนูสงฆ์ 11. นายธงชัย สุขเจริญ 12. นายเสรี ธรรมจิตร 13. นายธนากร โส๊ะแหลม 14. นางสาวจารุณี ปุตสะ 15. นางอารียา ต้นวิชา 16. นางสาวประภาพร คงเมือง 17. นางสาวศิริกุล ขุนสมุทร 18. นางสาวปัณฑิตา ก๊กใหญ่ 19. นางอีฉ๊ะ คลองรั้ว 20. นางละไมส์ หมาดเส็ม 21. นางฝ่าตีม๊ะ ปุสสะ 22. นางอรพินย์ หมาดเส็ม 23. นายสมหมาย หลานอาว์ 24. นายครรชิต ละเอียด 25. นางสรี การดี 26. นางสงวน ละเอียด 27. นางสาวนฤนาจ หมาดเส็ม 28. นางนพพร บัวทอง 29. นางสาวพิชน์ ปสสะ 30. นายอุดม ต้นวิชา 31. นายสหพล ปุสสะ 32. นางสาวลัดดาวัลย์ ต่อติด 33. นางสาวธนิการณ์ ธรรมณ์จิตร 34. นางจินดานุช ก๊กใหญ่ 35. นางปัทมา รักษากิจ 36. นางสาวอัมภา หยงสตาร์ 37. นางสาวกนิษฐา หมาดเส็ม 38. นายบุคขอรี ปราบเภท 39. นางสาวอรนิท ทองแดง 40. นางสาวนารีรัตน์ โต๊ะดิน

โดยข้อมูลการสัมภาษณ์ประกอบด้วย
- สถานการณ์ความรอบรู้ทางด้านการเงิน มีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือน หรือไม่ รายได้-รายจ่ายในครัวเรือนปัจจุบันเท่าไร เป็นต้น - สถานการณ์ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ ปัจจุบันกลุ่มเป้าหมายมีโรคประจำตัวหรือไม่ มีการออกกำลังกายจำนวนกี่วันต่อเดือน สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม หรือไม่อย่างไร เป็นต้น

 

มีข้อมูลสรุปผลการสัมภาษณ์ รวม 40 คน (คณะทำงาน 10 คน และสมาชิก 30 คน) ครั้งที่ 2 เพื่อใช้ในการวัดผลการเปลี่ยนแปลง เรื่อง ความรอบรู้ด้านการเงินและด้านสุขภาพ ของผู้เข้าร่วมโครงการ

ประกอบด้วย
- สถานการณ์ความรอบรู้ทางด้านการเงิน มีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือน หรือไม่ รายได้-รายจ่ายในครัวเรือนปัจจุบันเท่าไร เป็นต้น - สถานการณ์ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ ปัจจุบันกลุ่มเป้าหมายมีโรคประจำตัวหรือไม่ มีการออกกำลังกายจำนวนกี่วันต่อเดือน สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม หรือไม่อย่างไร เป็นต้น

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 5/5 5 ส.ค. 2566 5 ส.ค. 2566

 

การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 5

ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ม.1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่


เริ่มประชุม เวลา 09.00 น.

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องสืบเนื่องแจ้งที่ประชุมทราบ
    1.1) นายสมหมาย หลานอาว์ (ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านร่าปู) กล่าวต้อนรับคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ และแจ้งข่าวประชาสัมพันธ์ที่ได้รับจากการประชุมประจำเดือนกำนันผู้ใหญ่บ้านและส่วนราชการที่เกี่ยวข้องอำเภอเกาะลันตา

    1.2) นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม รายงานผลการดำเนินงาน ความก้าวหน้าในการขับเคลื่อนโครงการฯ ของกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู ที่ผ่านมา เพื่อให้ทุกคนได้รับทราบข้อมูลร่วมกัน

    1.3) นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม (หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู) และเหรัญญิกโครงการฯ รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณในโครงการฯ


ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา

    2.1) วางแผนการจัดกิจกรรมเวทีสรุปบทเรียนการดำเนินโครงการฯ


ปิดประชุม เวลา 13.00 น.

 

  • มีรายงานความก้าวหน้า ผลลัพธ์จากการขับเคลื่อนงาน ตามบันไดผลลัพธ์โครงการสร้างเสริมสุขภาวะ กลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์ สร้างอาชีพเสริมรายได้ บ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่่

  • มีข้อมูลการดำเนินงานตามข้อตกลงของสมาชิกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู เพื่อนำไปคืนข้อมูลให้กับสมาชิกในวันนัดรวมกลุ่มสมาชิกได้รับทราบร่วมกัน ประกอบด้วย

  1. ข้อมูลการเข้าร่วมปฏิบัติงานในกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

  2. ข้อมูลการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการของสมาชิก เดือนละ 30 บาท

  3. ข้อมูลบันทึกการผลิตและจำหน่ายสินค้าของกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

  • มีแผนในการจัดเวทีสรุปบทเรียนการขับเคลื่อนโครงการฯ ในวันที่ 12 สิงหาคม 2566 ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู

 

เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินโครงการ 16 ส.ค. 2566 12 ส.ค. 2566

 

วันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2566 การประชุมแลกเปลี่ยนสรุปบทเรียนการดำเนินงาน ถอดบทเรียนโครงการสร้างอาชีพเสริมรายได้กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด 19 บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ ณ ที่ทำการกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่

นายทิตอารุณ สัจจสุจริตกุล ทีมสนับสนุนวิชาการ NODE COVID ภาคใต้ (พี่เลี้ยง สสส.สำนัก 6 จ.กระบี่) ลงพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับแกนนำคณะทำงานโครงการฯ ผู้นำชุมชน และตัวแทนสมาชิกกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู เพื่อสรุปผลลัพธ์ความสำเร็จจากการดำเนินงานที่ผ่านมา สรุปบทเรียนการขับเคลื่อนโครงการสร้างอาชีพเสริมรายได้กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด 19 บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่  โดยสามารถสรุปผลลัพธ์โครงการฯ ได้ดังนี้

ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดกลไกคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1) เกิดคณะทำงาน 10 คน ที่มาจาก กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนกลุ่มสมาชิก พช. อปท. ปราชญ์ชุมชน ฯลฯ และมีการกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน ดังต่อไปนี้ ลำดับ รายชื่อ ตำแหน่ง/หน้าที่ในชุมชน ตำแหน่ง/หน้าที่ในโครงการ 1 นายสมหมาย หลานอาว์  ผู้ใหญ่บ้าน ผู้รับผิดชอบโครงการ 2 นายประวุฒิ การดี ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน รองหัวหน้าโครงการ 3 นางสาวสุรางค์ หมาดเส็ม หัวหน้ากลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เหรัญญิก 4 นางอัน แส้หมูด อสม. ประชาสัมพันธ์ 5 นางสาวนารีรัตน์  โต๊ะดิน อสม. ประชาสัมพันธ์ 6 นางสาวประภาพร  คงเมือง หน้าที่ อบต.เกาะกลาง ประสานงาน 7 นางสาวจารุณี  ปุตสะ ราชการครู ร.ร.บ้านร่าปู ผู้ช่วยเหรัญญิก 8 นางสาวจุฑารัตน์  หลานอาว์ กรรมการหมู่บ้าน ผู้ช่วยเลขานุการ 9 นางสาวจันทร์จิรา  เพริดพร้อม กรรมการกลุ่มเบเกอรี่บ้านร่าปู เลขานุการ 10 นางกิ่งแก้ว สังข์ทอง นักวิชาการ พช. อำเภอเกาะลันตา ที่ปรึกษา

1.2) มีข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของครัวเรือนกลุ่มสมาชิก
- มีข้อมูลสถานการณ์ด้านความรอบรู้ทางด้านการเงินและสุขภาพของครัวเรือนกลุ่มเป้าหมาย

1.3) มีแผนปฏิบัติการร่วมกันพัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน
- มีแผนการดำเนินงาน ตาม TOR - มีแผนการจดแจ้งกลุ่มเบเกอรรี่สานสัมพันธ์บ้านร่าปู OTOP กับ พช. และจดแจ้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกับเกษตร และขอการรับรองมาตรฐาน อ.ย.
ผลลัพธ์ที่ 2 เกิดข้อตกลงในการขับเคลื่อนงาน สร้างงาน สร้างอาชีพ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1) มีกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19 เข้าร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่ม อย่างน้อย 30 คน - มีกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด19 เข้าร่วมเป็นสมาชิกในกลุ่ม 30 คน
2.2) เกิดข้อตกลง/ระเบียบการดำเนินการของสมาชิกร่วมกัน (1) การรวมกลุ่มสมาชิก อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง (เฉลี่ย 2 สัปดาห์/ครั้ง) และตามเฉพาะกิจเมื่อมีออร์เดอร์การสั่งสินค้า (2) เบิกจ่ายเงินผลกำไรให้สมาชิกทุกครั้งที่รวมกลุ่ม (3) ออมเงินสมาชิกผลกำไรของสมาชิก 20/30 บาท/เดือน 2.3) กลุ่มสมาชิกสามารถขับเคลื่อนงานตามแผนธุรกิจชุมชนตามที่วางไว้ได้อย่างต่อเนื่อง
ผลลัพธ์ที่ 3 กลไกสามารถสนับสนุน การสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1) มีข้อมูลการผลิตการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของสมาชิกในกลุ่ม โดยมีช่องทางการจำหน่ายสินค้า และรายได้ทั้งในรูปแบบการ Online และ Onsite ดังนี้ การขายหน้าร้าน บ้านขนมบ้านร่าปู ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยจำนวน 400 บาทต่อวัน หรือ เดือนละ 12,000 บาท - #การจำหน่ายส่งตั้งขายประจำ ประกอบด้วย (1) ร้านค่าในชุมชน จำนวน 3 ร้าน มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 12,000 บาท (2) สถานศึกษาในพื้นที่ ตำบลเกาะกลาง,คลองยาง ได้แก่ โรงเรียนบ้านร่าปู โรงเรียนบ้านร่าหมาด โรงเรียนบ้านคลองย่าหนัด และโรงเรียนบ้านนาทุ่งกลาง เป็นต้น โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) ณ ช่วงเปิดเทอม จำนวน 32,000 บาทต่อสัปดาห์ - #การผลิตและจำหน่ายสินค้าตามออร์เดอร์ของลูกค้าหน่วยงานองค์กรต่างๆ ประกอบด้วย (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่) โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 4,000 บาท (2) พช. และส่วนราชการอำเภอเกาะลันตา ที่ผ่านมาได้สั่งซื้อแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 1,700 บาท (3) หน่วยงานในโครงการพระราชดำริทุ่งทะเล โดยมีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) เฉลี่ยเดือนละ 2,000 บาท
(4) ภาคเอกชน ได้แก่ โรงแรมนครา อำเภอเกาะลันตา ที่ผ่านมาใช้บริการแล้ว 2 ครั้ง มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 3,000 บาท - #การจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ โดยที่ผ่านมา มีลูกค้าสั่งที่ได้ซื้อสินค้าผ่านแพ็ตฟอร์มต่างๆ ดังนี้ (1) Facebook (เฟสบุ๊ค) มีรายได้ผลกำไรจากการขาย (หลังหักต้นทุนค่าใช้จ่ายแล้ว) จำนวน 10,000 บาท (2) Shopee (ช็อปปี้) โดยที่ผ่านมา ได้จำนวนสินค้าผ่านทางช็อปปี้มาแล้ว 2 เดือน มีรายได้ผลกำไรจากการขายในเดือนพฤษภาคม 2566 จำนวน 18,000 บาท และเดือนมิถุนายน 2566 ณ ปัจจุบัน รวมจำนวนทั้งสิ้น 27,000 บาท - Tiktok (ติ๊กต๊อก) ที่ผ่านมา มีรายได้ผลกำไรจากการขาย เฉลี่ยเดือนละ 10,000 บาท 3.2) มีข้อมูลบันทึกรายรับ รายจ่ายของกลุ่ม และบันทึกเงินปันผลกำไร รายได้ของสมาชิกในกลุ่มทุกเดือน
- สมาชิก 10 คน มีการรวมกลุ่มอย่างต่อเนื่อง (เฉลี่ย 15 วัน/เดือน) มีรายได้ เฉลี่ยคนละ 2,2000 บาทต่อเดือน - สมาชิก 20 คน มีการรวมกลุ่ม (เฉลี่ย 4 วัน/เดือน) มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 300 บาท 3.3) มีข้อมูลบันทึกการออมเงินของสมาชิกเพื่อเป็นสวัสดิการให้กับสมาชิก เดือนละ 30 บาท โดยสมาชิก 20 คน จาก 30 คน ได้ออมเงินต่อเนื่องมาแล้ว 4 เดือน (เริ่ม มี.ค.2566) 3.1) มีข้อมูลการผลิตการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าของสมาชิกในกลุ่ม ช่องทางการตลาด ที่มาของรายได้ - หน้าร้าน 400 ต่อวัน - ส่ง หน่วยงานภาคี
(1) โรงเรียนบ้านร่าหมาด ร่าปู คลองย่าหนัด นาทุ่งกลาง 4 โรงเรียน 32,000 บาท/สัปดาห์ บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) (2) อบต.เกาะกลาง และ อบจ.กระบี่ เดือนละ 4,000 บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) (3) พช.อำเภอเกาะลันตา และที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา 2 ครั้ง 1,700 บาท บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) (4) โครงการพระราชดำริ ทุ่งทะเล เดือนละ 2,000 บาท บาท (หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว) - ร้านค่าในชุมชน และเอกชน
- ร้านค่าในชุมชน 3 ร้าน รายได้หักค่าใช้จ่ายต้นทุนแล้ว 12,000 บาท/เดือน - โรงแรมนครา 2 ครั้ง 3,000 บาท - เฟสบุค 10,000 บาท - ผ่านช็อปปี้ 2 เดือน เดือน พ.ค. 2566 รายได้ 18,000 บาท มิ.ย. 2566 รายได้ 27,000 บาท - Tiktok 10,000 บาท/เดือน

3.2) มีข้อมูลบันทึกรายรับ รายจ่ายของกลุ่ม และบันทึกเงินปันผลกำไร รายได้ของสมาชิกในกลุ่มทุกเดือน
- มีบันทึกข้อมูล สมาชิก 10 คน มารวมกลุ่ม 15 วัน/เดือน มีรายได้เดือนละ 2,2000 บาท - สมาชิก 20 คน มารวมกลุ่ม 4 วัน/เดือน มีรายได้เดือนละ 300 บาท

3.3) มีข้อมูลบันทึกการออมเงินของสมาชิกเดือนละ 30 บาท เพื่อเป็นสวัสดิการให้กับสมาชิก
สมาชิกกลุ่ม จำนวน 20 คน มีการออมเงินเพื่อเป็นสวัสดิการในชีวิตประจำวัน 30 บาท/เดือน ดำเนินการมาแล้ว 4 เดือน (เริ่มออม มี.ค.2566) ผลลัพธ์ที่ 4 กลุ่มสมาชิกมีอาชีพ มีรายได้ มีเงินออม มีสวัสดิการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1) ร้อยละ 80 ของสมาชิก มีรายได้ ผลกำไรอย่างต่อเนื่อง - สมาชิก 10 คน มีรายได้ ผลกำไรอย่างต่อเนื่อง มีรายได้เดือนละ 2,200 บาท 4.2) มีภาคีเครือข่ายอย่างน้อย 3 ภาคี เข้ามาสนับสนุนต่อยอด พัฒนากลุ่มธุรกิจชุมชน ยกระดับกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาระบบสวัสดิการของชุมชน - พัฒนาชุมชน อ.เกาะลันตา สนับสนุนการจดแจ้งจัดตั้งกลุ่ม OTOP และพัฒนาบรรจุภัณฑ์
- สำนักงานจังหวัดกระบี่ สนับสนุนการพัฒนาช่องทางการตลาด ผ่านระบบออนไลน์ - สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกระบี่ สนับสนุนการพัฒนาเครื่องมือการผลิตขนม - สำนักงานสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ พัฒนาบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก - สภาองค์กรชุมชนตำบลเกาะกลาง มีแผนสนับสนุนการเชื่อมโยงกองทุนสวัสดิการชุมชนตำบลเกาะกลาง ของสมาชิก

ปัญหา ขาดสถานที่รวมกลุ่ม/โรงเรือนผลิตขนม ที่ได้รับมาตรฐานจาก อย.

 

เกิดรายงานถอดบทเรียนโครงการสร้างอาชีพเสริมรายได้กลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด 19 บ้านร่าปู หมู่ที่ 1 ต.เกาะกลาง อ.เกาะลันตา จ.กระบี่ 1 ฉบับ

 

จัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 31 ส.ค. 2566 31 ส.ค. 2566

 

จัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

 

รายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์