directions_run

โครงการ พัฒนาคุณภาพชีวิตลดโรค เพิ่มรายได้วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์บ้านหูยาน

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำวิสาหกิจกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์บ้านหูยาน เพิ่มรายได้ และลดความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดแกนนำ 5 คนของกลุ่มวิสาหกิจฯและสมาชิก25 คน มีความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน 2. กลุ่มวิสาหกิจฯมีแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างรายได้แก่กลุ่มอย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์ เช่น ผลิตภัณฑ์เครื่องแกง ผลิตภัณฑ์จากปุ๋ยมูลไส้เดือน 3.กลุ่มมีแผนแบ่งบทหน้าที่รับผิดชอบผลิตวัตถุดิบทำผลิตภันฑ์เครื่องแกงลดการนำเข้าส่งให้กลุ่มอย่างน้อยคนละ 3 ชนิดและแผนสุขภาพ
80.00 80.00

กลุ่มวิสาหกิจต้องเน้นเครื่องเสริมแรงเพิ่มขึ้น เช่น เครื่องบด เครื่องสับ เข้ามาช่วย

2 2.เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนส่งเสริมการความรอบรู้ด้านการเงินและสุขภาพ โดยใช้ฐานข้อมูลกับกลุ่มและสมาชิก
ตัวชี้วัด : 1.สมาชิกกลุ่ม 30 คนมีแผนปลูกและจำหน่ายวัตถุดิบให้กับกลุ่มอย่างเพียงพอและเหลือจำหน่ายเป็นรายได้เพิ่ม 2.มีข้อมูลผลการคัดกรอง 30 คน ใช้ทำแผนสุขภาพ
80.00 80.00

กลุ่มมีทิศทางในการดำเนินที่มีสมาชิกผู้สูงอายุส่วนใหญ่ จากการถอดบทเรียน

3 3.เพื่อให้กลุ่มและสมาชิกมีแผนเรื่องความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงินนำสู่การปฏิบัติได้ต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มวิสาหกิจและสมาชิก 30 คน 80 % ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรังและมีรายได้เพิ่มขึ้น 2.มีผลผลิตและผลิตภัณฑ์เพื่อขึ้นอย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์ คือ ผลิตภัณฑ์ดินปลูกสูตรผสมมูลไส้เดือน วัตถุดิบผลิตเครื่องแกง เครื่องแกง 3.มีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 2 ช่องทาง ออนไลน์ ไลท์สด ไลน์ เฟซบุ๊ค
80.00 80.00

ปรับสภาพแวดล้อมพื้นที่ให้สอดคล้องกับผู้สูงอายุ สถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพแกนนำวิสาหกิจกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์บ้านหูยาน เพิ่มรายได้ และลดความเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรัง (2) 2.เพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนส่งเสริมการความรอบรู้ด้านการเงินและสุขภาพ โดยใช้ฐานข้อมูลกับกลุ่มและสมาชิก (3) 3.เพื่อให้กลุ่มและสมาชิกมีแผนเรื่องความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงินนำสู่การปฏิบัติได้ต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการและ สสส. (2) การประชุมคณะทำงาน (3) การติดตามประเมินผลการแลกเปลี่ยน (4) 2.พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจ (5) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานและสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจ (6) เรียนรู้การวิเคราะห์และทำแผนปฏิบัติการความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ (7) เก็บข้อมูลด้านสขภาพ 30 คนโดยรพสต ด้านการงินโดยก็บบัญชีครัวเรือน 30 คน (8) ส่งเสริมการเลี้ยงปุ๋ยมูลไส้ดือนใช้เองพร้อมกับอุปกรณ์ชุดเลี้ยงให้กับสมาชิกกลุ่ม (9) สงเสริมการปลูกวัตถุดิบเครื่องแกงโดยสมาชิกวิสาหกิจชุมชนที่ไดด้รับผลกระทบจากโควิด 19 (10) อบรมพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (11) ติกตามประเมินผล (12) ค่าอินเตอร์เนตเพื่อจัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ (13) ปฐมนิเทศน์ (14) ถอนเงินเปิดบัญชี (15) 1.ประชุมคณะแกนนำขับเคลื่อนและสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฯ สร้างความเข้าใจและแบ่งบทบาทหน้าที่เพื่อเก็บข้อมูลการเงินและข้อมูลสุขภาพ (16) อบรมความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน (17) ประชุมแกนนำเดือนละ 1 ครั้ง (18) ตรายางโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพิ่มผลผลิตวิสาหกิจกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์บ้านหูยานกับตรายางจ่ายแล้ว (19) ประชุมแกนนำเดือนละ 1 ครั้ง (20) รายงานผลลัพธ์กิจกรมโครงการพร้อมรายงานการเงิน(ARE ครั้งที่ 1) (21) ประชุมแกนนำเดือนละ 1 ครั้ง (22) ออกแบบพัฒนาสูตรดินปุ๋ยไส้เดือนพร้อมปลูกผสมมูลไส้เดือน (23) ประชุมแกนนำเดือนละ 1 ครั้ง (24) อบรมการทำสื่่อโดยใช้ Canva (25) ติดตามประเมินผล ARE ครั้งที่ 2 (26) เรียนรู้การวิเคราะห์และทำแผนปฏิบัติการความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ (27) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธืและบทเรียนการดำเนินโครงการย่อย (28) สร้างและพัฒนาช่องทางการขาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh