directions_run

โครงการริมและพัฒนาการแปรรูปผลผลิตในครัวเรือน ของ ตำบลป่าคลอก จังหวัดภูเก็ต

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมแกนนำโครงการ 1 ก.ย. 2565

 

 

 

 

 

กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการและสสส. 2 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

อบรมการให้ความรู้เกียวกับการแปรรูปอาหารและปลอดภัย 23 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

อบรมการแปรรูปอาหาร 20 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ 14 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ช่องทางการตลาด 26 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

อบรมความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ 17 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

เวทีแสดงสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน 9 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

เวทีปฐมนิเทศ 1 ต.ค. 2565 1 ต.ค. 2565

 

คณะทำงานประกอบด้วย ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน และ คณะทำงาน 1 คน มาเข้าร่วมการปฐมนิเทศเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการที่รับทุน การบริหารจัดการข้อมูล การรายงานผลข้อมูล การรายงานกิจกรรมและการเงิน - ร่วมทำความเข้าใจเป้าหมายร่วมของโครงการ - การเชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์ ตัวชี้วัด - การทำความเข้าใจรายละเอียดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดรายกิจกรรม -การทำความเข้าใจเรื่องความรอบรู้ด้านสุขภาพ -การทำความเข้าใจด้านการรอบรู้ด้านการเงิน -การจัดเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย และแนวทางการนำข้อมูลไปสนับสนุนการทำาน -ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการรายงานกิจกรรม และรายงานการเงินผ่านระบบออนไลน์ -ทำความเข้าใจแนวทางการปฏิบัติด้านการเงินของโครงการย่อย ว่าด้วยระเบียบและข้อบังคับทางการเงิน

 

คณะทำงาน จำนวน 2 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารโครงการ การบริหารการเงินในโครงการ และ การรายงานผลโครงการ ตัวแทนคณะทำงานสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาเผยแพร่ต่อกลุ่มแกนนำรวมไปถึงนำมาใช้ในการบริหารจัดการโครงการฯ ได้อย่างถูกต้อง

 

ประชุมแกนนำโครงการ ครั้งที่ 1 9 ต.ค. 2565 10 ต.ค. 2565

 

นัดหมายแกนนำโครงการจำนวน 5 คน เข้าร่วมคลี่โครงการ. วางแผนการดำเนินงาน, กำหนดพื้นที่รับผิดชอบ, กลุ่มเป้าหมายและกำหนดวันดำเนินกิจกรรม

 

แกนนำโครงการทั้ง 5 คน มีความเข้าใจในแผนงานการดำเนินงานโครงการ และสามารถดำเนินการโครงการได้ตามเป้าหมาย โดยได้้แบ่งหน้าที่รับผิดชอบในการเตรียมการจัดกิจกรรมต่อไป รวมทั้งพื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย

กำหนดการจัดกิจกรรมครั้งที่ 1

 

อบรมการให้ความรู้เกียวกับการแปรรูปอาหารและปลอดภัย 30 ต.ค. 2565 30 ต.ค. 2565

 

1.กำหนดหน้าที่แกนนำทั้ง 5 คน โดยให้แยกกันรับผิดชอบตามพื้นที่และนัดหมายกลุ่มเป้าหมาย 2.ติดต่อวิทยากร จำนวน 2 คน เพื่อให้ความรู้กลุ่มเป้าหมาย เรื่อง 1. โภชนาการอาหาร และ 2. การแปรรูปอาหาร 3.ประสานงานสถานที่จัดกิจกรรม โต๊ะ เก้าอื้ 4.สั่งอาหารมื้อหลัก/ อาหารว่าง สำหรับวันจัดกิจกรรม

 

กลุ่มเป้าหมายสามารถทำการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรได้อย่างถูกหลักโภชนาการและปลอดภัย

 

วัสดุโครงการ 31 ต.ค. 2565 31 ต.ค. 2565

 

ออกแบบและสั่งทำป่ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 แผ่น

 

ป้าย Vinyl โครงการขนาด 2x1 เมตร จำนวน 1 แผ่น

 

อบรมความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพ 5 พ.ย. 2565 5 พ.ย. 2565

 

ประสานคัดเลือกแกนนำกลุ่มเข้าร่วมการอบรม

 

ได้รับข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับการเงินและสุขภาพเพื่อนำข้อมูลและความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้กับสมาชิกกลุ่ม

 

อบรมการแปรรูปอาหารจากสับปะรดและกล้วยน้ำว้า 17 พ.ย. 2565 8 ม.ค. 2566

 

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการแปรรูปผักและผลไม้ โดยเน้นผลไม้ตามฤดูกาล 1. ประชุมแกนนำกำหนดวันและมอบหมายหน้าที่ในจัดการอบรม 2. ติดต่อวิทยากร 3. ติดต่อสถานที่ 4. ติดต่ออาหารกลางวัน-อาหารว่าง 5. ประสานผุ้เข้าร่วมกิจกรรมแจ้งวัน/เวลาจัดกิจกรรม 6. จัดซื้อวัสดุ-อุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการจัดกิจกรรม

 

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้- ความสามารถในการแปรรูปผัก-ผลไม้ตามฤดูกาล โดยวิธีการต่างๆ ที่ได้อบรมไป
ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปจากกลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย 1 อย่าง กลุ่มเป้าหมายคือ กลุ่มเปราะบางและกลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโรคโควิด 19 วิทยากร คือ ตัวแทนวิสาหกิจชุมชนกลุ่มส่งเสริมการเกษตรและอาชีพแม่บ้านเกษตรกร ศพก.เครือข่าย (ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร) สับปะรด จำนวน 60 ลูก ผลผลิตที่ได้ จากการอบรม คือ แยมสับปะรดเพื่อสุขภาพ

 

ประชุมแกนนำโครงการ ครั้งที่ 2 4 ธ.ค. 2565 4 ธ.ค. 2565

 

ประชุมแกนนำเพื่อวางแผนการดำเนินงาน

 

แผนการดำเนินงานเดือนมกราคม 2566

 

ประชุมแกนนำโครงการ ครั้งที่ 3 5 ก.พ. 2566 25 ก.พ. 2566

 

ประชุมกลุ่มแกนนำเพื่อวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมต่อไป

 

แผนงานสำหรับเดือนมีนาคม

 

เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน 11 ก.พ. 2566 11 ก.พ. 2566

 

ประสานงานกับคณะทำงานเพื่อชี้แจงกำหนดการเดินทางตามกำหนดการที่ได้รับ

 

ผู้รับผิดชอบโครงการฯ สามารถนำการแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานของแต่ละโครงการมาปรับปรุงปรับใช้กับโครงการของตนเอง เข้าใจกระบวนการทำงานและงานด้านเอกสารมากขึ้น มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับโครงการฯ จังหวัดอื่นๆ

 

แปรรูปแป้งกล้วยเป็นขนมประเภทเบเกอรี่ 26 ก.พ. 2566 29 ม.ค. 2566

 

นัดกลุ่ม

 

อบรม

 

อบรมการแปรรูปแป้งกล้วยเป็นคุ้กกี้เพื่อสุขภาพ 31 มี.ค. 2566 8 เม.ย. 2566

 

  1. ประสานงานกลุ่ม
  2. ประสานงานติดต่อวิทยากร 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์

 

ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และทักษะเพิ่มเติม

 

ประชุมแกนนำโครงการ ครั้งที่ 4 5 เม.ย. 2566 5 เม.ย. 2566

 

นัดแกนนำ

 

แผนการทำงาน

 

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ 23 เม.ย. 2566 26 มี.ค. 2566

 

นัดกลุ่ม

 

อบรม

 

จัดทำช่องทางการตลาดและรับพรีออเดอร์ ครั้งที่ 1 14 พ.ค. 2566 7 พ.ค. 2566

 

นัดกลุ่ม

 

อบรม

 

ไอศครีมผลไม้และกล้วยหอม 28 พ.ค. 2566 28 พ.ค. 2566

 

1 พูดคุยหาข้อสรุปกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้ได้ความต้องการที่แท้จริงและมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ประกอบอาชีพหรือพัฒนาทักษะการแปรรูปในทุกมิติ 2.นำข้อสรุปที่ได้เข้าที่ประชุมแกนนำเพื่อจัดทำแผนงานการดำเนินการโครงการ 3. นัดวันอบมรม 4. ติดต่อวิทยากรตามหัวข้อที่กลุ่มเป้ามหมายให้ความสนใจ 5.ติดต่อสถานที่อบรม 6. จัดซื้อและจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์สำหรับอบรม

 

กลุ่มเป้าหมายเข้าใจวิธีการแปรรูปผักและผลไม้ในรูปแบบต่างๆ กัน รวมไปถึงการนำสิ่งที่ได้อบรมผ่านไปแล้วมาต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิต

 

ประชุมแกนนำโครงการ ครั้งที่ 5 4 มิ.ย. 2566 4 มิ.ย. 2566

 

นัดแกนนำ

 

แผนการทำงาน

 

อบรมความรอบรู้ทางการเงินและสุขภาพให้กลุ่มเป้าหมาย 11 มิ.ย. 2566 7 พ.ค. 2566

 

นัดกลุ่ม

 

อบรม

 

เวทีแสดงสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน 26 ส.ค. 2566 26 ส.ค. 2566

 

นัดกลุ่ม เตรียมเอกสาร

 

ผลสัมฤทธิ์และสรุปโครงการ

 

ประชุมแกนนำครั้งที่ 6 28 ส.ค. 2566 4 ส.ค. 2566

 

นัดแกนนำ ประชุม

 

แผนงานประสรุป