directions_run

14. เสริมสร้างการจัดการขยะในครัวเรือนพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการตามแผนการร่วมทุน อบจ.และ สสส. 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 1 จัดตั้งและประชุมแกนนำจัดการขยะ 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 2 สำรวจ สถานการณ์ขยะในชุมชน 1 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 3 ประชุมทำประชาคม เพื่อหามาตรการ ข้อตกลงในชุมชนในเรื่องการจัดการขยะ 1 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 4 อบรมให้ความรู้การจัดการขยะ 1 พ.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 5 แลกเปลี่ยนเรียนรู้พื้นที่ต้นแบบ 1 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 6 รณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ 1 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 7 เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน 1 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

เปิดบัญชี 16 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

ดอกเบี้ยเงินฝาก 30 มิ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 8 ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปโครงการและถอดบทเรียน 1 ก.ย. 2566

 

 

 

 

 

จัดทำ MOU 16 ม.ค. 2566 16 ม.ค. 2566

 

1.ลงทะเบียน
2.ลงนามข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการและหน่วยงานโครงการแผ่นร่วมทุนระหว่างสสส. กับอบจ.จังหวัดสตูล

 

มีผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 1 คน คือ นายณัฐวุฒิ โตะดิน และ นางสาวนิตยา วัฒนะ ผู้ร่วมโครงการ (พยาน) จำนวน 1 คน ได้ลงนานเซ็นสัญญาทำข้อตกลงระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการและหน่วยงานแผ่นร่วมทุนระหว่าง สสส. อบจ.จังหวัดสตูล

 

ปฐมนิเทศผู้รับผิดชอบโครงการ 28 ม.ค. 2566 28 ม.ค. 2566

 

ประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบโครงการปฐมนิเทศโครงการแผนร่วมทุน ประกอบด้วยหัว ดังนี้ 1.ช่วยคลี่โครงการ
2.การวางแผนจัดกิจกรรม
3.การออกแบบเก็บผลลัพธ์ ตัวชีวัด
4.กาารล่งหน้าเวปไซต์

 

ผู้รับผิดชอบโครงการมี่ความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการตามหัวข้อการเรียนรู้
1.การคลี่บันไดผลลัพธ์โครงการ
2.วางแผนจัดกิจกรรม
3.ออกแบบเก็บผลลัพธ์ ตัวชีวัด
4.กาารลงหน้าเวปไซต์

 

กิจกรรมคลี่โครงการร่วมกับพี่เลี้ยง สสส. 15 ก.พ. 2566 13 ก.พ. 2566

 

1.ประชุมคลี่โครงการร่วมกับพี่เลี้ยงจาก สสส. ร่วมกับคณะทำงาน เพื่อประสานงานและขับเคลื่อนการดำเนินงาน

 

รายชื่อผู้ร่วมคลี่โครงการ 1.นายณัฐวุฒิ โตะดิน 2.นางสาวนิตยา วัฒนะ 3.นางสาวจันทิมา เตะปููยู 4.นายอุสมาน ปูนยัง 5.นางสาวจำปา โต๊ะดิน 6.นางสาวมูนิรอ หมัดยาดำ 7.นางสาวมีนา ทุ่งยาว 8.นางสาวสานียะ ปูนยัง 9.นางสาวสารีปะ หมัดหลง 10.นางสาวนี เตะปูยู และพี่เลี้ยง นายประวิทย์ เลิศอริยะพงษ์กุล

 

รับเงินจาก สสส.งวด1 1 มี.ค. 2566 1 มี.ค. 2566

 

รับเงินจาก สสส.งวดที่1

 

ได้รับเงินงวดแรก จำนวน 50,000 บาท

 

จัดทำป้าย ตรายาง 10 มี.ค. 2566 10 มี.ค. 2566

 

ป้ายไวนิล จำนวน 2 ผืน และ ตรายางโครงการ 1 อัน

 

ป้ายไวนิล จำนวน 1 ผืน ตรายาง 1 อัน คือ 1.ไวนิลโครงการ
2.ตรายางโครงการ

 

จัดตั้งและประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 1 13 มี.ค. 2566 13 มี.ค. 2566

 

1.ลงทะเบียน 2.ชี้แจงโครงการ 3.จัดตั้งเป็นแกนนำด้านการจัดการกำหนดบทบาทหน้าที่ใการทำงาน 4.วิเคราะห์ปัญหาขยะในชุมชน 5.จัดทำแบบสำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน

 

เกิดคณะทำงาน 20 คน มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงานอย่างชัดเจน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความเข้าใจ ในการตกลงร่วมกัน การขับเคลื่อนโครงการ ประธาณ นายณัฐวุฒิ โตะดิน
รองประธาน นางสาว จำปา โตะดิน เหรัญญิก นางสาวจันทิมา เตะปูยู เลขา นางสาว สานียะ เตะปูยู นายอุสมาน ปุนยัง นาวสาวนิตยา วัฒนะ นางสาวมีนา ทุ่งยาว นางสาวสารีป๊ะ หมัดหลง นางสาวนี เตะปูยู

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับ อบจ. 27 เม.ย. 2566 27 เม.ย. 2566

 

-นำเสนอผลการดำเนินโครงการ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ -กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ด้านการคีย์ข้อมูล และการทำรายงายงาน

 

-นำข้อเสนอแนะ ปรับแก้ไข -คณะทำงานโครงการ 2 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับด้านการคีย์ข้อมูล และการทำรายงายงาน

 

-คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน ครั้งที่ 1 5 พ.ค. 2566 5 พ.ค. 2566

 

แกนนำจำนวน 10 คน ลงพื้นที่ทำแบบสำรวจความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือน ในหัวข้อเรื่อง 1.ความรู้ความเข้าใจความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือนโดยมีระดับความคิดเห็น 5 ระดับ คือ. 5 หมายถึงเห็นด้วยมากที่สุด 4 หมายถึงเห็นด้วยมาก 3 หมายถึงเห็นด้วยปานกลาง
2 หมายถึงเห็นด้วยน้อย 1 เห็นด้วยน้อยที่สุด 2.ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือนที่ต้องกำจัด ต่อ 1 วัน

 

กลุ่มเป้าหมายความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะครัวเรือนร้อยละ 52 อยูในระดับดีมาก ร้อยละ 25 อยู่ในระดับดี ร้อยละ15 อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ6 อยู่ในระดับน้อย ปริมาณร้อยละขยะรีไซเคิล พลาสติก ร้อยละ 21 ขวดแก้ว ร้อยละ 14 ขวดน้ำ ร้อยละ 24 ขยะทั่วไป ร้อยละ 27 ขยะอินทรีย์ ร้อยละ 8 ขยะอันตราย ร้อยละ 3

 

ประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 2 8 พ.ค. 2566 8 พ.ค. 2566

 

ประชุมแกนนำด้านจัดการขยะ เพื่อวางแผนการทำงานตามแผนงาน

 

1.รายงานความคืบหน้าของโครงการ 2.วางแผนการจัดประชุมเชิงปฎิติบัติการและการทำประชาคม

 

คณะทำงานจัดทำประชาคม โดยมีภาคีเครือข่ายทุภาคส่วน 9 พ.ค. 2566 9 พ.ค. 2566

 

คณะทำงานจัดทำประชาคม โดยมีภาคีเครือข่ายทุกภากส่วน เช่น ตัวแทน ท้องถิ่น รพ.สต ฝ่ายปกครอง อสม. โรวเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ชมรมเรือ จำนวนแห่งละ 2 ท่าน และครัวเรือนเป้าหมาย 50 รวมทั้งสิ้น 70 คน

 

ข้อตกลงกติกาการจัดการขยะในชุมชน ม.2 ต.ปูยู 1.ไม่ทิ้งขยะลงทะเล 2.ทิ้งขยะในภาชนะรองรับทุกครั้ง 3.แยกขยะก่อนทิ้ง 4.แยกขยะก่อนทิ้ง 5.ขยะเปียกทิ้งลงถังรักษ์โลก 6.เห็นผู้ใดทิ้งขยะลงทะเลหรือทิ้งขยะไม่เป็นที่ให้ตักเตือน 7.ทำความสะอาดรอบบ้านตนเองทุกวันศุกร์

 

รณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะในชุมชน โดยให้มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะ 9 มิ.ย. 2566 9 มิ.ย. 2566

 

รณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือนโดยแกนนำการจัดการขยะในชุมชนให้มีการคัดแยกขยะตามประเภทดังนี้ 1.ขยะย่อยสลายได้
2.ขยะรีไซเคิล
3.ขยะทั่วไป
4.ขยะพิษ โดยจัดทำป้ายรณรงค์ และ จำทำตะแกรงเหล็กคัดแยกขยะรีไซเคิล เพื่อเก็บกระดาษ ขวดแก้ว และขวดพลาสติก

 

ร้อยละ 50 ของครัวเรือนเป้าหมาย มีการคัดแยกขยะย่อยสลายได้ ขยะรีไซเคิล

 

ประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 3 24 มิ.ย. 2566 24 มิ.ย. 2566

 

-จัดประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในชุมชน เพื่อชี้แจงโครงการและจัดตั้งเป็นแกนนำด้านการจัดการขยะ คณะทำงานโครงการจำนวน 10 คน
-มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงานอย่างชัดเจน -จัดทำแบบสำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน 50 ชุด โดยแกนนำด้านการจัดการจัดการขยะ

 

-เกิดแกนนำการจัดการขยะ -ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะลดลง

 

จัดทำป้ายไวนิล 2 ป้าย 25 มิ.ย. 2566 25 มิ.ย. 2566

 

จัดทำป้ายณรงค์ขยะ จำนวน 2 ป้าย

 

จัดทำป้ายณรงค์ขยะ  จำนวน 2 ป้าย

 

เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 1 25 มิ.ย. 2566 25 มิ.ย. 2566

 

เยี่ยมครัวเรือนเป้าหมายจำนวน50 ครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะ จำนวน 5 คน จำนวน 4 ครั้ง (1 คนต่อ 10 ครัวเรือน) -เยี่ยมครั้งที่ 1 เพื่อแนะนำการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถนำความรู้จากการอบรมมาใช้ จัดสถานที่พักขยะได้ถูกสุขลักาณะ -เยี่ยมครั้งที่ 2 เพื่อติดตาม เรื่องการคัดแยกขยะถูกต้อง -เยี่ยมครั้งที่ 3 เพื่อติดตาม เรื่องการนำเศษอาหารมาทำปุ๋ยอินทรีย์ -เยี่ยมครั้งที่ 4 เพื่อติดตาม เรื่องการค้นหาครัวเรือนจัดการขยะต้นแบบ

 

-ครัวเรือนเป้าหมายได้มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะของครัวเรือนมีจำนวนลดลง

 

อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยก และการจัดการขยะมูลฝอย รุ่นที่1 3 ก.ค. 2566 3 ก.ค. 2566

 

สำรวจ สถานการณ์ขยะในชุมชน -คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน 200ชุด เพื่อจัดทำแผนผังต้นไม้ปัญหาและทราบสถานการณ์ปริมาณขยะ วิธีการกำจัด พฤติกรรมการคัดแยกขยะ ก่อนเริ่มโครงการ -ลงพื้นที่สำรวจสถารณ์ขยะในชุมชนจำนวน 2 ครั้ง คือ ก่อนเริ่ม และสิ้นสุดโครงการ -โดยแบ่งให้แกนนำ 20 คน ลงสำรวจครัวเรือนเป้าหมาย 70 ครัวเรือน (คนละ 3-4 ครัวเรือน)
-นำข้อมูลที่ได้มารวบรวมและวิเคราะห์ในการประชุมคณะทำงาน

 

ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะในชุมชน

 

อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยก และการจัดการขยะมูลฝอย รุ่นที่ 2 4 ก.ค. 2566 4 ก.ค. 2566

 

กิจกรรมที่ 2 สำรวจ สถานการณ์ขยะในชุมชน -คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน 200ชุด เพื่อจัดทำแผนผังต้นไม้ปัญหาและทราบสถานการณ์ปริมาณขยะ วิธีการกำจัด พฤติกรรมการคัดแยกขยะ ก่อนเริ่มโครงการ -ลงพื้นที่สำรวจสถารณ์ขยะในชุมชนจำนวน 2 ครั้ง คือ ก่อนเริ่ม และสิ้นสุดโครงการ -โดยแบ่งให้แกนนำ 20 คน ลงสำรวจครัวเรือนเป้าหมาย 70 ครัวเรือน (คนละ 3-4 ครัวเรือน)
-นำข้อมูลที่ได้มารวบรวมและวิเคราะห์ในการประชุมคณะทำงาน

 

ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะในชุมชน

 

ประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 4 5 ก.ค. 2566 5 ก.ค. 2566

 

-จัดประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในชุมชน เพื่อชี้แจงโครงการและจัดตั้งเป็นแกนนำด้านการจัดการขยะ คณะทำงานโครงการจำนวน 10 คน
-มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงานอย่างชัดเจน -จัดทำแบบสำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน 50 ชุด โดยแกนนำด้านการจัดการจัดการขยะ

 

-เกิดแกนนำการจัดการขยะ -ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะลดลง

 

เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 2 25 ก.ค. 2566 25 ก.ค. 2566

 

เยี่ยมครัวเรือนเป้าหมายจำนวน50 ครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะ จำนวน 5 คน จำนวน 4 ครั้ง (1 คนต่อ 10 ครัวเรือน) -เยี่ยมครั้งที่ 1 เพื่อแนะนำการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถนำความรู้จากการอบรมมาใช้ จัดสถานที่พักขยะได้ถูกสุขลักาณะ -เยี่ยมครั้งที่ 2 เพื่อติดตาม เรื่องการคัดแยกขยะถูกต้อง -เยี่ยมครั้งที่ 3 เพื่อติดตาม เรื่องการนำเศษอาหารมาทำปุ๋ยอินทรีย์ -เยี่ยมครั้งที่ 4 เพื่อติดตาม เรื่องการค้นหาครัวเรือนจัดการขยะต้นแบบ

 

-ครัวเรือนเป้าหมายได้มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะของครัวเรือนมีจำนวนลดลง

 

จัดตั้งและประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 5 9 ส.ค. 2566 9 ส.ค. 2566

 

-จัดประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในชุมชน เพื่อชี้แจงโครงการและจัดตั้งเป็นแกนนำด้านการจัดการขยะ คณะทำงานโครงการจำนวน 10 คน
-มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงานอย่างชัดเจน -จัดทำแบบสำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน 50 ชุด โดยแกนนำด้านการจัดการจัดการขยะ

 

-เกิดแกนนำการจัดการขยะ -ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะลดลง

 

คณะทำงานศึกษาดูงานเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานขยะในชุมชน 16 ส.ค. 2566 16 ส.ค. 2566

 

คณะทำงานศึกษาดูงานเพื่อร่วมแลกเปลี่่ยนเรียนรู้การดำเนินงานขยะในชุมชน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล -แบ่งบทบาทหน้าที่คณะทำงานในการศึกษาดูงาน ในประเด็นต่อไปนี้ การคัดแยกขยะ การขายขยะจัดการอย่างไร ปัญหาอุปสรรค มีอะไรบ้าง ป้องกันแก้ไขอย่างไร

 

-เกิดแกนนำการจัดการขยะ -ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะลดลง

 

เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 3 25 ส.ค. 2566 25 ส.ค. 2566

 

เยี่ยมครัวเรือนเป้าหมายจำนวน50 ครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะ จำนวน 5 คน จำนวน 4 ครั้ง (1 คนต่อ 10 ครัวเรือน) -เยี่ยมครั้งที่ 1 เพื่อแนะนำการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถนำความรู้จากการอบรมมาใช้ จัดสถานที่พักขยะได้ถูกสุขลักาณะ -เยี่ยมครั้งที่ 2 เพื่อติดตาม เรื่องการคัดแยกขยะถูกต้อง -เยี่ยมครั้งที่ 3 เพื่อติดตาม เรื่องการนำเศษอาหารมาทำปุ๋ยอินทรีย์ -เยี่ยมครั้งที่ 4 เพื่อติดตาม เรื่องการค้นหาครัวเรือนจัดการขยะต้นแบบ

 

-ครัวเรือนเป้าหมายได้มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะของครัวเรือนมีจำนวนลดลง

 

คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน ครั้งที่ 2 8 ก.ย. 2566 8 ก.ย. 2566

 

แกนนำจำนวน 10 คน ลงพื้นที่ทำแบบสำรวจความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือน ในหัวข้อเรื่อง 1.ความรู้ความเข้าใจความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือนโดยมีระดับความคิดเห็น 5 ระดับ คือ. 5 หมายถึงเห็นด้วยมากที่สุด 4 หมายถึงเห็นด้วยมาก 3 หมายถึงเห็นด้วยปานกลาง
2 หมายถึงเห็นด้วยน้อย 1 เห็นด้วยน้อยที่สุด 2.ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือนที่ต้องกำจัด ต่อ 1 วัน

 

กลุ่มเป้าหมายความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะครัวเรือนร้อยละ 52 อยูในระดับดีมาก ร้อยละ 25 อยู่ในระดับดี ร้อยละ15 อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ6 อยู่ในระดับน้อย ปริมาณร้อยละขยะรีไซเคิล พลาสติก ร้อยละ 21 ขวดแก้ว ร้อยละ 14 ขวดน้ำ ร้อยละ 24 ขยะทั่วไป ร้อยละ 27 ขยะอินทรีย์ ร้อยละ 8 ขยะอันตราย ร้อยละ 3

 

ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปโครงการและถอดบทเรียน 22 ก.ย. 2566 24 ก.ย. 2566

 

ประชุมสรุปโครงการและถอดบทเรียน -ประชุมติดตามและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ จำนวน 50 ครัวเรือน ภาคีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รพ.สต อบต. มัสยิด รวมผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 70 คน -การคืนข้อมูลการเปลี่ยนแปลง เรื่องปริมาณขยะ การนำขยะไปใช้ประโยชน์ ในด้านต่างๆให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย -ชวนสรุปบทเรียนการดำเนินงานทั้งในส่วนผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ -การส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับทราบข้อมูล เพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป เช่น อบต. รพ.สต. -การยกย่องเชิดซูเชิดชูเกียรติ บ้านต้นแบบจัดการขยะ จำนวน 4 ครัวเรือน และบ้านต้นแบบจัดการขยะอินทรีย์ จำนวน 6 คน

 

1.เกิดข้อตกลง เรื่องการจัดการขยะในชุมชน และมีการปฏิบัติตามข้อตกลง ร้อยละ 50 (จำนวน 35 ครัวเรือน) 2.ครัวเรือนเป้าหมายมีการคัดแยกขยะแต่ละประเภท ร้อยละ 50 (จำนวน 35 ครัวเรือน) 3.ครัวเรือนเป้าหมายมีการนำกลับมาใช้ซ้ำ และการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ ร้อยละ 50 (จำนวน 35 ครัวเรือน) 4.บ้านต้นแบบจัดการขยะ จำนวน 4 ครัวเรือน และบ้านต้นแบบจัดการขยะอินทรีย์ จำนวน 6 คน

 

เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 4 25 ก.ย. 2566 25 ก.ย. 2566

 

เยี่ยมครัวเรือนเป้าหมายจำนวน50 ครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะ จำนวน 5 คน จำนวน 4 ครั้ง (1 คนต่อ 10 ครัวเรือน) -เยี่ยมครั้งที่ 1 เพื่อแนะนำการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถนำความรู้จากการอบรมมาใช้ จัดสถานที่พักขยะได้ถูกสุขลักาณะ -เยี่ยมครั้งที่ 2 เพื่อติดตาม เรื่องการคัดแยกขยะถูกต้อง -เยี่ยมครั้งที่ 3 เพื่อติดตาม เรื่องการนำเศษอาหารมาทำปุ๋ยอินทรีย์ -เยี่ยมครั้งที่ 4 เพื่อติดตาม เรื่องการค้นหาครัวเรือนจัดการขยะต้นแบบ

 

-ครัวเรือนเป้าหมายได้มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะของครัวเรือนมีจำนวนลดลง

 

ถอนเงินเปิดบัญชีโครงการ 26 ก.ย. 2566 26 ก.ย. 2566

 

ถอนเงินจากโครงการ

 

ถอนเงินจากโครงการ

 

ค่าจ้างบันทึกข้อมูลและจัดทำเอกสาร 30 ก.ย. 2566 30 ก.ย. 2566

 

ค่าจ้างบันทึกข้อมูลและจัดทำเอกสารของโครงการ

 

ได้ข้อมูลกิจกรรมโครงการขยะ ลงในเว็บไซต์

 

ถอนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร 6 ต.ค. 2566 26 ก.ย. 2566

 

ถอนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

 

ถอนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

 

ถอนดอกเบี้ยเงินฝาก 8 พ.ย. 2566 8 พ.ย. 2566

 

ถอนดอกเบี้ยเงินฝาก

 

ถอนดอกเบี้ยเงินฝาก