task_alt

14. เสริมสร้างการจัดการขยะในครัวเรือนพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ 14. เสริมสร้างการจัดการขยะในครัวเรือนพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

ชุมชน ม.2 ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 65-10154-035 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มกราคม 2566 ถึงเดือน มิถุนายน 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำ MOU

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 1 คน คือ นายณัฐวุฒิ โตะดิน และ นางสาวนิตยา วัฒนะ ผู้ร่วมโครงการ (พยาน) จำนวน 1 คน ได้ลงนานเซ็นสัญญาทำข้อตกลงระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการและหน่วยงานแผ่นร่วมทุนระหว่าง สสส. อบจ.จังหวัดสตูล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ลงทะเบียน
2.ลงนามข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการและหน่วยงานโครงการแผ่นร่วมทุนระหว่างสสส. กับอบจ.จังหวัดสตูล

 

1 0

2. ปฐมนิเทศผู้รับผิดชอบโครงการ

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการมี่ความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานโครงการตามหัวข้อการเรียนรู้
1.การคลี่บันไดผลลัพธ์โครงการ
2.วางแผนจัดกิจกรรม
3.ออกแบบเก็บผลลัพธ์ ตัวชีวัด
4.กาารลงหน้าเวปไซต์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบโครงการปฐมนิเทศโครงการแผนร่วมทุน ประกอบด้วยหัว ดังนี้ 1.ช่วยคลี่โครงการ
2.การวางแผนจัดกิจกรรม
3.การออกแบบเก็บผลลัพธ์ ตัวชีวัด
4.กาารล่งหน้าเวปไซต์

 

2 0

3. กิจกรรมคลี่โครงการร่วมกับพี่เลี้ยง สสส.

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

รายชื่อผู้ร่วมคลี่โครงการ 1.นายณัฐวุฒิ โตะดิน 2.นางสาวนิตยา วัฒนะ 3.นางสาวจันทิมา เตะปููยู 4.นายอุสมาน ปูนยัง 5.นางสาวจำปา โต๊ะดิน 6.นางสาวมูนิรอ หมัดยาดำ 7.นางสาวมีนา ทุ่งยาว 8.นางสาวสานียะ ปูนยัง 9.นางสาวสารีปะ หมัดหลง 10.นางสาวนี เตะปูยู และพี่เลี้ยง นายประวิทย์ เลิศอริยะพงษ์กุล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประชุมคลี่โครงการร่วมกับพี่เลี้ยงจาก สสส. ร่วมกับคณะทำงาน เพื่อประสานงานและขับเคลื่อนการดำเนินงาน

 

0 0

4. รับเงินจาก สสส.งวด1

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้รับเงินงวดแรก จำนวน 50,000 บาท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รับเงินจาก สสส.งวดที่1

 

1 0

5. จัดทำป้าย ตรายาง

วันที่ 10 มีนาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ป้ายไวนิล จำนวน 1 ผืน ตรายาง 1 อัน คือ 1.ไวนิลโครงการ
2.ตรายางโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ป้ายไวนิล จำนวน 2 ผืน และ ตรายางโครงการ 1 อัน

 

1 0

6. จัดตั้งและประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 1

วันที่ 13 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เกิดคณะทำงาน 20 คน มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงานอย่างชัดเจน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความเข้าใจ ในการตกลงร่วมกัน การขับเคลื่อนโครงการ ประธาณ นายณัฐวุฒิ โตะดิน
รองประธาน นางสาว จำปา โตะดิน เหรัญญิก นางสาวจันทิมา เตะปูยู เลขา นางสาว สานียะ เตะปูยู นายอุสมาน ปุนยัง นาวสาวนิตยา วัฒนะ นางสาวมีนา ทุ่งยาว นางสาวสารีป๊ะ หมัดหลง นางสาวนี เตะปูยู

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ลงทะเบียน 2.ชี้แจงโครงการ 3.จัดตั้งเป็นแกนนำด้านการจัดการกำหนดบทบาทหน้าที่ใการทำงาน 4.วิเคราะห์ปัญหาขยะในชุมชน 5.จัดทำแบบสำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน

 

10 0

7. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับ อบจ.

วันที่ 27 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-นำข้อเสนอแนะ ปรับแก้ไข -คณะทำงานโครงการ 2 คน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับด้านการคีย์ข้อมูล และการทำรายงายงาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

-นำเสนอผลการดำเนินโครงการ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ -กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ ด้านการคีย์ข้อมูล และการทำรายงายงาน

 

2 0

8. -คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน ครั้งที่ 1

วันที่ 5 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กลุ่มเป้าหมายความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะครัวเรือนร้อยละ 52 อยูในระดับดีมาก ร้อยละ 25 อยู่ในระดับดี ร้อยละ15 อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ6 อยู่ในระดับน้อย ปริมาณร้อยละขยะรีไซเคิล พลาสติก ร้อยละ 21 ขวดแก้ว ร้อยละ 14 ขวดน้ำ ร้อยละ 24 ขยะทั่วไป ร้อยละ 27 ขยะอินทรีย์ ร้อยละ 8 ขยะอันตราย ร้อยละ 3

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

แกนนำจำนวน 10 คน ลงพื้นที่ทำแบบสำรวจความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือน ในหัวข้อเรื่อง 1.ความรู้ความเข้าใจความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือนโดยมีระดับความคิดเห็น 5 ระดับ คือ. 5 หมายถึงเห็นด้วยมากที่สุด 4 หมายถึงเห็นด้วยมาก 3 หมายถึงเห็นด้วยปานกลาง
2 หมายถึงเห็นด้วยน้อย 1 เห็นด้วยน้อยที่สุด 2.ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือนที่ต้องกำจัด ต่อ 1 วัน

 

50 0

9. ประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 2

วันที่ 8 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.รายงานความคืบหน้าของโครงการ 2.วางแผนการจัดประชุมเชิงปฎิติบัติการและการทำประชาคม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมแกนนำด้านจัดการขยะ เพื่อวางแผนการทำงานตามแผนงาน

 

10 0

10. คณะทำงานจัดทำประชาคม โดยมีภาคีเครือข่ายทุภาคส่วน

วันที่ 9 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ข้อตกลงกติกาการจัดการขยะในชุมชน ม.2 ต.ปูยู 1.ไม่ทิ้งขยะลงทะเล 2.ทิ้งขยะในภาชนะรองรับทุกครั้ง 3.แยกขยะก่อนทิ้ง 4.แยกขยะก่อนทิ้ง 5.ขยะเปียกทิ้งลงถังรักษ์โลก 6.เห็นผู้ใดทิ้งขยะลงทะเลหรือทิ้งขยะไม่เป็นที่ให้ตักเตือน 7.ทำความสะอาดรอบบ้านตนเองทุกวันศุกร์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานจัดทำประชาคม โดยมีภาคีเครือข่ายทุกภากส่วน เช่น ตัวแทน ท้องถิ่น รพ.สต ฝ่ายปกครอง อสม. โรวเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ชมรมเรือ จำนวนแห่งละ 2 ท่าน และครัวเรือนเป้าหมาย 50 รวมทั้งสิ้น 70 คน

 

70 0

11. รณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะในชุมชน โดยให้มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะ

วันที่ 9 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ร้อยละ 50 ของครัวเรือนเป้าหมาย มีการคัดแยกขยะย่อยสลายได้ ขยะรีไซเคิล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือนโดยแกนนำการจัดการขยะในชุมชนให้มีการคัดแยกขยะตามประเภทดังนี้ 1.ขยะย่อยสลายได้
2.ขยะรีไซเคิล
3.ขยะทั่วไป
4.ขยะพิษ โดยจัดทำป้ายรณรงค์ และ จำทำตะแกรงเหล็กคัดแยกขยะรีไซเคิล เพื่อเก็บกระดาษ ขวดแก้ว และขวดพลาสติก

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 28 11                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 80,000.00 29,562.00                  
คุณภาพกิจกรรม 44                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. เปิดบัญชี ( 16 มิ.ย. 2566 )
  2. ประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 3 ( 24 มิ.ย. 2566 )
  3. เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 1 ( 25 มิ.ย. 2566 )
  4. จัดทำป้ายไวนิล 2 ป้าย ( 25 มิ.ย. 2566 )
  5. ดอกเบี้ยเงินฝาก ( 30 มิ.ย. 2566 )
  6. อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยก และการจัดการขยะมูลฝอย รุ่นที่1 ( 3 ก.ค. 2566 )
  7. อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยก และการจัดการขยะมูลฝอย รุ่นที่ 2 ( 4 ก.ค. 2566 )
  8. ประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 4 ( 5 ก.ค. 2566 )
  9. เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 2 ( 25 ก.ค. 2566 )
  10. จัดตั้งและประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 5 ( 9 ส.ค. 2566 )
  11. คณะทำงานศึกษาดูงานเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานขยะในชุมชน ( 16 ส.ค. 2566 )
  12. เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 3 ( 25 ส.ค. 2566 )
  13. กิจกรรมที่ 8 ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปโครงการและถอดบทเรียน ( 1 ก.ย. 2566 - 31 ต.ค. 2566 )
  14. คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน ครั้งที่ 2 ( 8 ก.ย. 2566 )
  15. ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปโครงการและถอดบทเรียน ( 22 ก.ย. 2566 )
  16. เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 4 ( 25 ก.ย. 2566 )
  17. ถอนเงินเปิดบัญชีโครงการ ( 26 ก.ย. 2566 )
  18. ค่าจ้างบันทึกข้อมูลและจัดทำเอกสาร ( 30 ก.ย. 2566 )

(................................)
นายณัฐวุฒิ โต๊ะดิน
ผู้รับผิดชอบโครงการ