task_alt

14. เสริมสร้างการจัดการขยะในครัวเรือนพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ 14. เสริมสร้างการจัดการขยะในครัวเรือนพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตำบลปูยู อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

ชุมชน ม.2 ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 65-10154-035 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน มิถุนายน 2566 ถึงเดือน กันยายน 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 3

วันที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-เกิดแกนนำการจัดการขยะ -ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะลดลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

-จัดประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในชุมชน เพื่อชี้แจงโครงการและจัดตั้งเป็นแกนนำด้านการจัดการขยะ คณะทำงานโครงการจำนวน 10 คน
-มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงานอย่างชัดเจน -จัดทำแบบสำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน 50 ชุด โดยแกนนำด้านการจัดการจัดการขยะ

 

10 0

2. เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 1

วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ครัวเรือนเป้าหมายได้มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะของครัวเรือนมีจำนวนลดลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เยี่ยมครัวเรือนเป้าหมายจำนวน50 ครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะ จำนวน 5 คน จำนวน 4 ครั้ง (1 คนต่อ 10 ครัวเรือน) -เยี่ยมครั้งที่ 1 เพื่อแนะนำการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถนำความรู้จากการอบรมมาใช้ จัดสถานที่พักขยะได้ถูกสุขลักาณะ -เยี่ยมครั้งที่ 2 เพื่อติดตาม เรื่องการคัดแยกขยะถูกต้อง -เยี่ยมครั้งที่ 3 เพื่อติดตาม เรื่องการนำเศษอาหารมาทำปุ๋ยอินทรีย์ -เยี่ยมครั้งที่ 4 เพื่อติดตาม เรื่องการค้นหาครัวเรือนจัดการขยะต้นแบบ

 

5 0

3. จัดทำป้ายไวนิล 2 ป้าย

วันที่ 25 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จัดทำป้ายณรงค์ขยะ  จำนวน 2 ป้าย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำป้ายณรงค์ขยะ จำนวน 2 ป้าย

 

1 0

4. อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยก และการจัดการขยะมูลฝอย รุ่นที่1

วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะในชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

สำรวจ สถานการณ์ขยะในชุมชน -คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน 200ชุด เพื่อจัดทำแผนผังต้นไม้ปัญหาและทราบสถานการณ์ปริมาณขยะ วิธีการกำจัด พฤติกรรมการคัดแยกขยะ ก่อนเริ่มโครงการ -ลงพื้นที่สำรวจสถารณ์ขยะในชุมชนจำนวน 2 ครั้ง คือ ก่อนเริ่ม และสิ้นสุดโครงการ -โดยแบ่งให้แกนนำ 20 คน ลงสำรวจครัวเรือนเป้าหมาย 70 ครัวเรือน (คนละ 3-4 ครัวเรือน)
-นำข้อมูลที่ได้มารวบรวมและวิเคราะห์ในการประชุมคณะทำงาน

 

35 0

5. อบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยก และการจัดการขยะมูลฝอย รุ่นที่ 2

วันที่ 4 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะในชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมที่ 2 สำรวจ สถานการณ์ขยะในชุมชน -คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน 200ชุด เพื่อจัดทำแผนผังต้นไม้ปัญหาและทราบสถานการณ์ปริมาณขยะ วิธีการกำจัด พฤติกรรมการคัดแยกขยะ ก่อนเริ่มโครงการ -ลงพื้นที่สำรวจสถารณ์ขยะในชุมชนจำนวน 2 ครั้ง คือ ก่อนเริ่ม และสิ้นสุดโครงการ -โดยแบ่งให้แกนนำ 20 คน ลงสำรวจครัวเรือนเป้าหมาย 70 ครัวเรือน (คนละ 3-4 ครัวเรือน)
-นำข้อมูลที่ได้มารวบรวมและวิเคราะห์ในการประชุมคณะทำงาน

 

35 0

6. ประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 4

วันที่ 5 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-เกิดแกนนำการจัดการขยะ -ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะลดลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

-จัดประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในชุมชน เพื่อชี้แจงโครงการและจัดตั้งเป็นแกนนำด้านการจัดการขยะ คณะทำงานโครงการจำนวน 10 คน
-มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงานอย่างชัดเจน -จัดทำแบบสำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน 50 ชุด โดยแกนนำด้านการจัดการจัดการขยะ

 

10 0

7. เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 2

วันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ครัวเรือนเป้าหมายได้มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะของครัวเรือนมีจำนวนลดลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เยี่ยมครัวเรือนเป้าหมายจำนวน50 ครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะ จำนวน 5 คน จำนวน 4 ครั้ง (1 คนต่อ 10 ครัวเรือน) -เยี่ยมครั้งที่ 1 เพื่อแนะนำการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถนำความรู้จากการอบรมมาใช้ จัดสถานที่พักขยะได้ถูกสุขลักาณะ -เยี่ยมครั้งที่ 2 เพื่อติดตาม เรื่องการคัดแยกขยะถูกต้อง -เยี่ยมครั้งที่ 3 เพื่อติดตาม เรื่องการนำเศษอาหารมาทำปุ๋ยอินทรีย์ -เยี่ยมครั้งที่ 4 เพื่อติดตาม เรื่องการค้นหาครัวเรือนจัดการขยะต้นแบบ

 

5 0

8. จัดตั้งและประชุมแกนนำจัดการขยะ ครั้งที่ 5

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-เกิดแกนนำการจัดการขยะ -ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะลดลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

-จัดประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในชุมชน เพื่อชี้แจงโครงการและจัดตั้งเป็นแกนนำด้านการจัดการขยะ คณะทำงานโครงการจำนวน 10 คน
-มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงานอย่างชัดเจน -จัดทำแบบสำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน 50 ชุด โดยแกนนำด้านการจัดการจัดการขยะ

 

10 0

9. คณะทำงานศึกษาดูงานเพื่อร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานขยะในชุมชน

วันที่ 16 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-เกิดแกนนำการจัดการขยะ -ครัวเรือนเป้าหมายมีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะลดลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คณะทำงานศึกษาดูงานเพื่อร่วมแลกเปลี่่ยนเรียนรู้การดำเนินงานขยะในชุมชน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล -แบ่งบทบาทหน้าที่คณะทำงานในการศึกษาดูงาน ในประเด็นต่อไปนี้ การคัดแยกขยะ การขายขยะจัดการอย่างไร ปัญหาอุปสรรค มีอะไรบ้าง ป้องกันแก้ไขอย่างไร

 

10 0

10. เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 3

วันที่ 25 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ครัวเรือนเป้าหมายได้มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะของครัวเรือนมีจำนวนลดลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เยี่ยมครัวเรือนเป้าหมายจำนวน50 ครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะ จำนวน 5 คน จำนวน 4 ครั้ง (1 คนต่อ 10 ครัวเรือน) -เยี่ยมครั้งที่ 1 เพื่อแนะนำการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถนำความรู้จากการอบรมมาใช้ จัดสถานที่พักขยะได้ถูกสุขลักาณะ -เยี่ยมครั้งที่ 2 เพื่อติดตาม เรื่องการคัดแยกขยะถูกต้อง -เยี่ยมครั้งที่ 3 เพื่อติดตาม เรื่องการนำเศษอาหารมาทำปุ๋ยอินทรีย์ -เยี่ยมครั้งที่ 4 เพื่อติดตาม เรื่องการค้นหาครัวเรือนจัดการขยะต้นแบบ

 

5 0

11. คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน ครั้งที่ 2

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กลุ่มเป้าหมายความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกขยะครัวเรือนร้อยละ 52 อยูในระดับดีมาก ร้อยละ 25 อยู่ในระดับดี ร้อยละ15 อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ6 อยู่ในระดับน้อย ปริมาณร้อยละขยะรีไซเคิล พลาสติก ร้อยละ 21 ขวดแก้ว ร้อยละ 14 ขวดน้ำ ร้อยละ 24 ขยะทั่วไป ร้อยละ 27 ขยะอินทรีย์ ร้อยละ 8 ขยะอันตราย ร้อยละ 3

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

แกนนำจำนวน 10 คน ลงพื้นที่ทำแบบสำรวจความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือน ในหัวข้อเรื่อง 1.ความรู้ความเข้าใจความตระหนักของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนโดยการคัดแยกขยะครัวเรือนโดยมีระดับความคิดเห็น 5 ระดับ คือ. 5 หมายถึงเห็นด้วยมากที่สุด 4 หมายถึงเห็นด้วยมาก 3 หมายถึงเห็นด้วยปานกลาง
2 หมายถึงเห็นด้วยน้อย 1 เห็นด้วยน้อยที่สุด 2.ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือนที่ต้องกำจัด ต่อ 1 วัน

 

50 0

12. ประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปโครงการและถอดบทเรียน

วันที่ 24 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดข้อตกลง เรื่องการจัดการขยะในชุมชน และมีการปฏิบัติตามข้อตกลง ร้อยละ 50 (จำนวน 35 ครัวเรือน) 2.ครัวเรือนเป้าหมายมีการคัดแยกขยะแต่ละประเภท ร้อยละ 50 (จำนวน 35 ครัวเรือน) 3.ครัวเรือนเป้าหมายมีการนำกลับมาใช้ซ้ำ และการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ ร้อยละ 50 (จำนวน 35 ครัวเรือน) 4.บ้านต้นแบบจัดการขยะ จำนวน 4 ครัวเรือน และบ้านต้นแบบจัดการขยะอินทรีย์ จำนวน 6 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมสรุปโครงการและถอดบทเรียน -ประชุมติดตามและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ จำนวน 50 ครัวเรือน ภาคีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ รพ.สต อบต. มัสยิด รวมผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 70 คน -การคืนข้อมูลการเปลี่ยนแปลง เรื่องปริมาณขยะ การนำขยะไปใช้ประโยชน์ ในด้านต่างๆให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย -ชวนสรุปบทเรียนการดำเนินงานทั้งในส่วนผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ -การส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับทราบข้อมูล เพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป เช่น อบต. รพ.สต. -การยกย่องเชิดซูเชิดชูเกียรติ บ้านต้นแบบจัดการขยะ จำนวน 4 ครัวเรือน และบ้านต้นแบบจัดการขยะอินทรีย์ จำนวน 6 คน

 

70 0

13. เยี่ยมบ้าน เพื่อติดตามการดำเนินงานการคัดแยกขยะและการจัดการขยะในครัวเรือน ครั้่งที 4

วันที่ 25 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-ครัวเรือนเป้าหมายได้มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการขยะ -ปริมาณขยะของครัวเรือนมีจำนวนลดลง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เยี่ยมครัวเรือนเป้าหมายจำนวน50 ครัวเรือน โดยแกนนำการจัดการขยะ จำนวน 5 คน จำนวน 4 ครั้ง (1 คนต่อ 10 ครัวเรือน) -เยี่ยมครั้งที่ 1 เพื่อแนะนำการจัดการขยะในครัวเรือน สามารถนำความรู้จากการอบรมมาใช้ จัดสถานที่พักขยะได้ถูกสุขลักาณะ -เยี่ยมครั้งที่ 2 เพื่อติดตาม เรื่องการคัดแยกขยะถูกต้อง -เยี่ยมครั้งที่ 3 เพื่อติดตาม เรื่องการนำเศษอาหารมาทำปุ๋ยอินทรีย์ -เยี่ยมครั้งที่ 4 เพื่อติดตาม เรื่องการค้นหาครัวเรือนจัดการขยะต้นแบบ

 

5 0

14. ถอนเงินเปิดบัญชีโครงการ

วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ถอนเงินจากโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ถอนเงินจากโครงการ

 

2 0

15. ถอนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ถอนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ถอนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

 

1 0

16. ค่าจ้างบันทึกข้อมูลและจัดทำเอกสาร

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้ข้อมูลกิจกรรมโครงการขยะ ลงในเว็บไซต์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าจ้างบันทึกข้อมูลและจัดทำเอกสารของโครงการ

 

1 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 28 27                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 80,000.00 80,531.92                    
คุณภาพกิจกรรม 108                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายณัฐวุฒิ โต๊ะดิน
ผู้รับผิดชอบโครงการ