directions_run

20. ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนตำบลควนโพธิ์ จังหวัดสตูล

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 มีแกนนำหรือสมาชิกในกลุ่มส่งเสริมบริโภคผักปลอดสารพิษตำบลควนโพธิ์เพื่อร่วมรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารในชุมชน
ตัวชี้วัด : เกิดคณะทำงาน 24 ท่านประกอบด้วยตัวแทนจากกลุ่มตัวแทนหมู่บ้าน ปราชญ์ชุมชน จนท.อบต.เห็นชอบร่วมกัน -มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน -มีการวางแผนการดำเนินงาน -มีการเก็บข้อมูลเพื่อนำมาประเมินติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อปรับปรุงการทำงาน สรุปผลการดำเนินงาน

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและการส่งผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด รวมถึงรู้จักเลือกผัก ที่ปลอดภัยจากสารเคมีมาบริโภคได้
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ที่ความเข้าใจเรื่องสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและการส่งผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด ถูกต้อง(จำนวน 56 คน)

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถผลิตปุ๋ยและ สารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร มีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษ (จำนวน 56 คน) -ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะผลิตปุ๋ยและ สารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติ(จำนวน 56 คน) -มีการจัดตั้งธนาคารปุ๋ยหมุนเวียน 1 กลุ่ม -มีแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษในพื้นที่ตำบลควนโพธิ์จำนวน 1 แปลง -มีตลาดนัดจำหน่ายผักปลอดสารพิษในชุมชน 1 ตลาด

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้บริโภคผักปลอดสารพิษ ผักปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมโครงการมีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน(จำนวน 70 คน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) มีแกนนำหรือสมาชิกในกลุ่มส่งเสริมบริโภคผักปลอดสารพิษตำบลควนโพธิ์เพื่อร่วมรณรงค์ส่งเสริมการบริโภคผักปลอดสารในชุมชน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและการส่งผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด  รวมถึงรู้จักเลือกผัก ที่ปลอดภัยจากสารเคมีมาบริโภคได้ (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถผลิตปุ๋ยและ สารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร มีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้บริโภคผักปลอดสารพิษ ผักปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ก.1 ประชุมคณะทำงาน (2) ก.4 อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค (3) ก.6 ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง (4) ไม่มีกลุ่มกิจกรรม (5) ก.5  ผลิตปุ๋ยและสารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร มีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน (6) ก.3 สร้างความตระหนักและทำความเข้าใจต่อการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปลูกผักปลอดสารพิษ (7) ก.7 การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ (8) ก.8 จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชน (9) ก.9 กิจกรรมร่วมกับแผนร่วมทุน (10) ก.2 สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน (11) เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ. (12) ถอนเงินปิดบัญชีโครงการ ส่งเงินคืน อบจ. (13) ปฐมนิเทศ (14) ประชุมร่วมเอ็มโอยู (15) จัดทำป้ายชื่อโครงการ (16) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1/4 (17) ตรายาง (18) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1/2 (19) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2/4 (20) สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน ครั้งที่ 1/2 (21) สร้างความตระหนักและทำความเข้าใจต่อการบริโภคผักปลอดสารพิษและการปลูกผักปลอดสารพิษ (22) อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค (23) อบรมเชิงปฏิบัติการกระตุ้นให้มีการปลูกผัก โดยไม่ใช้สารเคมี และตระหนักเห็นประโยชน์การปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภค (24) ลงมือปฏิบัติการปลูกและบริโภคผักปลอดสารเคมี และเริ่มบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง (25) ชี้แจงรายละเอียดการจัดทำเอกสารการเงินให้กับโครงการย่อย (26) ก.7 การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 1/4 (27) ถอนเงินเปิดบัญชี (28) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3/4 (29) สำรวจข้อมูลพื้นฐานการปลูกการบริโภคผักปลอดสารพิษในชุมชน ครั้งที่ 2/2 (30) การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 2/4 (31) การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 3/4 (32) การติดตามและสำรวจข้อมูลแปลงเกษตรปลอดสารพิษ ครั้งที่ 4/4 (33) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4/4 (34) จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชน (35) ค่าจัดทำเอกสาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh