directions_run

ปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๑๑๑ (บ้านทุ่งนางแก้ว) อ.ละงู จ.สตูล

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมคณะทำงาน 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชุมแผนร่วมทุน 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

เปิดบัญชีธนาคาร 27 มี.ค. 2566 27 มี.ค. 2566

 

ถอนเงินเปิดบัญชี ธนาคาร

 

ถอนเงินเปิดบัญชี ธนาคาร

 

กิจกรรมอื่น ๆ 5 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

จัดทำข้อตกลงสนับสนุนทุนโครงการ 5 ม.ค. 2566 5 ม.ค. 2566

 

จัดทำข้อตกลงสนับสนุนทุนโครงการ

 

ผลผลิต ข้อตกลงสนับสนุนทุนโครงการ 1 ฉบับ ผลลัพธ์ ข้อตกลงสนับสนุนทุนโครงการ

 

ปฐมนิเทศโครงการย่อย 29 ม.ค. 2566 29 ม.ค. 2566

 

ปฐมนิเทศโครงการย่อยเพื่อทำความเข้าใจกับคณะทำงาน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.เรียนรู้ภาพรวมของโครงการ 2.ขั้นตอนการดำเนินงานเมื่อได้รับทุน 3. การวางแผนจัดกิจกรรม 4.การเงิน 5.การใช้งานเว็บไซต์ และการบันทึกโครงการ

 

  1. ครูแกนนำ 2 คน ได้รับการปฐมนิเทศโครงการย่อยเพื่อทำความเข้าใจกับคณะทำงาน
  2. ครูแกนนำ 2 คนเรียนรู้ภาพรวมของโครงการ และสามารถนำไปขยายผลได้
  3. ครูแกนนำ 2 คนได้ทราบถึงขั้นตอนการดำเนินงานเมื่อได้รับทุน
  4. ครูแกนนำ 2 คน สามารถการวางแผนจัดกิจกรรมได้
  5. ครูแกนนำ 2 คนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเงินและสามารถนำไปปฏิบัติได้ 5.ครูแกนนำ 2 คน สามารถใช้งานเว็บไซต์ และสามารถบันทึกรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการได้

 

ประชุมคณะกรรมการทำงาน ครั้งที่ 1/5 2 ก.พ. 2566 2 ก.พ. 2566

 

ประชุมแกนนำผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อสร้างการรับรู้ และกำหนดบทบาทหน้าที่ รวมถึงการทำความเข้าใจในภาพรวมโครงการ โดยมีพี่เลี้ยงมาคลี่โครงการและอธิบายบันไดผลลัพธ์ให้แกนนำได้รับทราบ

 

1.ได้แกนนำในโครงการ 10 คน 2.แกนนำทั้ง 10 คน เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการและทราบบทบาทหน้าที่ของตนเอง

 

จัดทำป้ายไวนิล ตรายาง และซื้อแท่นหมึก และวัสดุอุปกรณ์จัดเก็บเอกสารในโครงการ 7 ก.พ. 2566 1 ก.พ. 2566

 

1.สั่งป้ายไวนิล 3 แผ่นตามเอกสารการเงิน 2.ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในโครงการ

 

1.ได้ป้ายไวนิลโครงการ 1 ป้าย
2.ได้ป้ายไวนิลปลอดบุหรี่ 1 ป้าย 3.ได้ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ของโครงการ 1 ป้าย 4.ได้ตรายางชื่อโครงการ 1 อัน 5.ได้ตรายาง จ่ายแล้ว 1 อัน 6.ได้แท่นหมึกพิมพ์ 2 อัน 7.ได้แฟ้มจัดเก็ยเอกสาร 2 แฟ้ม 8.ได้ตะกร้าใส่เอกสาร 2 ชิ้น

 

เวทีชี้แจงโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย 9 ก.พ. 2566 9 ก.พ. 2566

 

1.ประชุมชี้แจงโครงการให้แกนนำนักเรียนทราบ 2.กำหนดบทบาทหน้าที่ของนักเรียนแกนนำ 3.แบ่งกลุ่มย่อย เลือกผู้นำ และกำหนดบทบาทในกลุ่มย่อย

 

1.ได้แกนนำนักเรียน 50 คนที่พร้อมร่วมโครงการ 2.แกนนำนักเรียนทั้ง 50 คนได้รับทราบโครงการโดยละเอียด 3.แกนนำนักเรียนทั้ง 50 คนได้แบ่งกลุ่มย่อยเพื่อกำหนดบทบาทการทำงาน 4.แกนนำนักเรียนทั้ง 50 คนได้ทราบบทบาท หน้าที่ของตนเอง

 

ประชุมคณะกรรมการทำงานครั้งที่ 2/5 24 ก.พ. 2566 24 ก.พ. 2566

 

1.ประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมในการอบรมความรู้แก่คณะทำงานและกลุ่มเป้าหม้ายในการปลูกผักและบริโภคผักปลอดภัย ปลอดสารพิษ 2.รับแกนนำคนใหม่แทนคนเก่าที่ย้ายโรงเรียน 3.รับสมาชิกกลุ่มเป้าหมายใหม่แทนคนเก่าที่ย้ายโรงเรียน 4.ชี้แจงโครงการให้แกนนำและกลุ่มเป้าหมายคนใหม่ได้รับทราบ

 

1.ได้แกนนำใหม่ 2 คน และ กลุ่มเป้าหมายใหม่ 5 คน 2.ได้กำหนดการทำงานในการอบรมความรู้แก่คณะทำงานและกลุ่มเป้าหม้ายในการปลูกผักและบริโภคผักปลอดภัย ปลอดสารพิษ 3.แกนนำและกลุ่มเป้าหมายใหม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการและทราบบทบาทหน้าที่ของตนเอง

 

ประชุมคณะกรรมการทำงาน ครั้งที่ 3/5 27 มี.ค. 2566 27 มี.ค. 2566

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามการดำเนินงานตามแผนงานในโครงการ

 

แกนนำเข้าใจในการทำงานตามโครงการ และทราบบทบาทหน้าที่ของตนเองชัดเจน

 

อบรมให้ความรู้แก่คณะทำงานและกลุ่มเป้าหมายในการปลูกผักและการบริโภคผักปลอดภัย ปลอดสารพิษ 28 มี.ค. 2566 28 มี.ค. 2566

 

วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการบริโภคผักปลอดสารพิษและโภชนาการในเด็ก

 

คณะทำงาน 50 คน และแกนนำ มีความรู้ในเรื่องการบริโภคผักปลอดสารพิษ และภาวะโภชนาการ

 

สาธิตเพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรียน 29 มี.ค. 2566 29 มี.ค. 2566

 

1.วิทยากรให้ความรู้เรื่อง ผักปลอดสารพิษ การเตรียมพื้นที่ และอุปกรณ์ในการปลูกผัก 2.สาธิตการทำแปลงผักปลอดสารพิษ โดยให้แกนนำลงมือปฏิบัติ

 

แปลงสาธิต 3 แปลง/ แกนนำมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ และสามารถทำแปลงผักได้

 

ประชุมคณะกรรมการทำงานครั้งที่ 4/5 22 พ.ค. 2566 22 พ.ค. 2566

 

ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 4/5 เพื่อ 1.ติดตามกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการที่ได้ดำเนินการแล้ว 2.เพื่อเตรียมวัสดุในกิจกรรมขยายผลส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษจากโรงเรียนสู่ครัวเรือนของนักเรียนแกนนำ 3.วางแผนการติดตามผล

 

ผลผลิต คณะทำงาน 10 คน จาก ครู 5 คน และ แกนนำนักเรียน 5 คน ผลลัพธ์ คณะทำงานได้ร่วมการติดตามความก้าวหน้าของกิจกรรมที่ผ่านมา  และเตรียมจัดหาพันธุ์ผักพื้นบ้านให้แก่นักเรียนแกนนำ รวมทั้งกำหนดแผนการออกติดตามกิจกรรมที่ครัวเรือนของนักเรียน

 

ขยายผลส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษจากโรงเรียนสู่ครัวเรือนของนักเรียนแกนนำ 5 มิ.ย. 2566 29 พ.ค. 2566

 

1.ให้ความรู้และสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ 2.ให้นักเรียนสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษที่โรงเรียน 3.เตรียมพันธุ์ผักให้นักเรียนแกนนำไปปลูกที่บ้าน

 

ผลผลิต นักเรียนแกนนำ 50 คน
ผลลัพธ์ นักเรียนแกนนำมีความรู้ความเข้าใจในการปลูกผักปลอดสารพิษ และสามารถนำผักพื้นบ้านไปปลูกเพื่อขยายผลจากโรงเรียนสู่บ้านได้

 

นักเรียนแกนนำลงเก็บข้อมูลการทำงาน ครั้งที่1/2 29 มิ.ย. 2566 29 มิ.ย. 2566

 

นักเรียนแกนนำลงเก็บข้อมูลการขยายผลการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน  ครั้งที่ 1 เพื่อติดตามกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

1.นักเรียนมีผักที่ปลูกกินเองที่บ้าน เช่น ผักกูด พริก มะเขือ ผักเหลียง และอื่น ๆ จำนวนคนละ 15 ต้น รวมจำนวน 750 ต้น
2.นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย 50 คน ได้ปลูกผักผักหลายชนิดโดยวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ
3.ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย 50 คน ได้ร่วมปลูกผักร่วมกับนักเรียน โดยวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

ประชุมคณะกรรมการทำงาน ครั้งที่ 5/5 6 ก.ค. 2566 6 ก.ค. 2566

 

1.ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนให้แกนนำออกเยี่ยมบ้านเก็บข้อมูลการขยายผลการปลูกผักปลอดสารพิษสู่ครัวเรือน 2.วางกรอบงานการลงเก็บข้อมูล 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผลกิจกรรม

 

1.ครู และนักเรียนแกนนำ 10 คน ประชุมกำหนดกิจกรรม 2.แกนนำ 10 คน ลงเก็บข้อมูลการทำงาน ของกลุ่มเป้าหมาย 50 คน 3.ครัวเรือนของเป้าหมาย 50 คน ได้รับการติดตามกิจกรรมการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

นักเรียนแกนนำลงเก็บข้อมูลการทำงาน ครั้งที่ 2/2 24 ส.ค. 2566 24 ส.ค. 2566

 

นักเรียนแกนนำลงเก็บข้อมูลการทำงาน ครั้งที่ 2/2 เพื่อติดตามความก้าวหน้าของกิจกรรม

 

1.นักเรียนมีผักที่ปลูกกินเองที่บ้าน เช่น ผักกูด พริก มะเขือ ผักเหลียง และอื่น ๆ จำนวนคนละ 15 ต้น รวมจำนวน 750 ต้น
2.นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย 50 คน ได้ปลูกผักผักหลายชนิดโดยวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ
3.ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย 50 คน ได้ร่วมปลูกผักร่วมกับนักเรียน โดยวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ 4.ผักที่กลุ่มเป้าหมายปลูกเจริญเติบโตได้ดีประมาณ ร้อยละ 80

 

สื่อสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการปลูกผัก กินผักปลอดภัย ปลอดสารพิษ 18 ก.ย. 2566 18 ก.ย. 2566

 

1.ครูแกนนำให้ความรู้เรื่องการจัดทำสื่อทั้งในกระดาษบรูฟและสื่อวิดีโอ 2.นักเรียนลงมือทำสื่อโดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน
3.สรุปกิจกรรม

 

1.ได้สื่อในกระดาษบรูฟ จำนวน 5 ชิ้น 2.ได้สื่อวิดีโอจำนวน 5 ไฟล์

 

สื่อสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการปลูกผัก กินผักปลอดภัย ปลอดสารพิษ 19 ก.ย. 2566 19 ก.ย. 2566

 

1.ครูแกนนำให้ความรู้เรื่องการจัดทำสื่อทั้งในกระดาษบรูฟและสื่อวิดีโอ 2.นักเรียนลงมือทำสื่อโดยแบ่งเป็น 5 กลุ่ม ๆ ละ 10 คน
3.สรุปกิจกรรม 4.นำเสนอสื่อตามกลุ่มของตนเอง

 

1.ได้สื่อการปลูกผัก 5 ชนิด จาก 5 กลุ่ม 2. ได้สื่อวิดีโอการปลูกผัก 5 ชนิด จาก 5 กลุ่ม 3.ตัวแทนทั้ง 5 กลุ่มได้นำเสนอสื่อสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการปลูกผัก กินผักปลอดภัย ปลอดสารพิษ
5.กลุ่มเป้าหมายมีทักษะกระบวนการในการจัดทำสื่อในรูปแบบต่าง ๆ 6.กลุ่มเป้าหมายมีทักษะการนำเสอสื่อที่หลากหลาย และน่าสนใจ

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียน 20 ก.ย. 2566 20 ก.ย. 2566

 

1.แลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียนการปลูกผักปลอดสารพิษทั้งที่โรงเรียน และที่ขยายผลสู่ครัวเรือนของกลุ่มเป้าหมาย 2.วิทยากรร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแนะนำเพิ่มเติมในเรื่องของการปลูก และบริโภคผักปลอดสารพิษ

 

1.ครู นักเรียนแกนนำ และกุล่มเป้าหมายทั้ง 60 คน มีทักษะในการปลูกผักปลอดสารพิษ 2.ครัวเรีอนของกลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน มีผักปลอดสารพิษไว้บริโภคในครัวเรือน 3.ครัวเรีอนของกลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน ร้อยละ 80 นำวิธีการปลูกผักปลอดสารพิษไปต่อยอดและเพิ่มการผลิต 4.ครัวเรีอนของกลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน ร้อยละ 80 มีรายจ่ายในการซื้อผักลดลง และมั่นใจในการบริโภคผักมากขึ้น 5.นักเรียนในโรงเรียนได้บริโภคผักปลอดสารพิษอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

 

ปิดบัญชีถอนเงินดอกเบี้ยคืน อบจ.สตูล 5 พ.ย. 2566 5 พ.ย. 2566

 

คืนดอกเบี้ยให้ อบจ.

 

ดอกเบี้ย 7.19 บาท