task_alt

ส่งเสริมสุขภาพการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อโครงการอาหารกลางวันในศูนย์ตาดีการ์ประจำ มัสยิดอัชชาฟิอีย์ บ้านน้ำหรา ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อโครงการอาหารกลางวันในศูนย์ตาดีการ์ประจำ มัสยิดอัชชาฟิอีย์ บ้านน้ำหรา ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

ชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 65-10154-024 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มกราคม 2566 ถึงเดือน พฤษภาคม 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พิธีลงนามโครงส่งเสริงสุขภาพการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อโครงการอาหารกลางวันในศูนย์ตาดีการ์ประจำมัสยิดอัซวาฟีอีย์ เซ็นสัญญา mou

วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 1 คน คือนายอาซาลี  หวังกุหลำ ได้ลงนามเซ็นสัญญาทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการและหน่วยงานโครงการแผนร่วมทุนระหว่าง สสส. กับอบจ. จังหวัดสตูล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ลงนามทำข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการและหน่วยงานโครงการแผนร่วมทุนระหว่าง สสส.กับอบจ.จังหวัดสตูล

 

2 0

2. กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการย่อย

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน และผู้รับผิดชอบรายงานผลโครงการลงเว็บไซต์คนสร้างสุข 1 คน
-ได้เรียนรู้ถึงต้นไม้ปัญหา บันไดผลลัพธุ์ รายละเอียดการดำเนินกิจกรรมในโครงการ วิธีการดำเนินโครงการมีอะไรบ้าง 1) การเก็บรวบรวมข้อมูล 2) การวิเคราะห์สถานการณ์  3) การวินิจฉัยปัญหา  4) การกําหนดวัตถุประสงค์  กระบวนการวางแผนโครงการ 5) การเขียนแผนปฏิบัติงาน  6) การดําเนินงานตามแผน
-ได้เรียนรู้การจัดทำรายงานผลในเว็บไซต์ ฅนสร้างสุข ขั้นตอนการลงกิจกรรม ลงรูปภาพ ลงไฟล์เอกสารการเงิน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ลงทะเบียน 2.รับฟังรายละเอียดการดำเนินโครงการ 3.รายงานผลลงในเว็บไซต์ คนสร้างสุข

 

1 0

3. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1/4

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.มีคณะทำงาน 15 คน ประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียน/แกนนำครู/ แกนนำนักเรียน /แกนนำผู้ปกครอง 2.มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ และมีกฎกติกาของแกนนำ มีแผนการดำเนินงานตลอดระยะเวลาโครงการและมีการทำงานตามแผน มีการติดตามผลการดำเนินโครงการ รายชื่อคณะทำงานและกำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงาน 1.นายอาซาลี หวังกุหลำ ผู้รับผิดชอบโครงการ 2.นางสาวฟาตีม๊ะ หมันวาหาบ เลขาและการลงข้อมูล
3.นายอดุลย์ อะสะหนิ    ผู้จัดซื้อวัสดุโครงการ
4.นางสาวอัสนี แกสมาน  การเงินฝ่ายจัดอาหารและเครื่องดื่ม
5.นางสาวอัสมา ตาเดอิน ติดตามและลงข้อมูลการปลูกผักที่บ้าน
6.นางสาวรอบีอ๊ะ ปังแลมาเส็น ดูแลการปลูกผักปลอดสารพิษในกระถาง ที่ มัสยิด
7.นายธารา แลต๋อง ดูแลการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรือน ที่ มัสยิด
8.นางสาว อัจจิมา หวังกุหลำ ช่วยการลงข้อมูล 9.นางสาวอิลฮามีย์ หมาดบากา ช่วยจัดอาหารและเครื่องดื่ม
10.นายกอหนี ปังแลมาเส็น ดูแลเรื่องการทำปุ๋ยหมัก
11.นางยาร๊ะ ตาเดอิน ช่วยติดตามและลงข้อมูลการปลูกผักที่บ้าน
12.ด.ญ.นาดียา หมันเร๊ะ ช่วยดูแลการปลูกผักปลอดสารพิษในกระถาง ที่ มัสยิด
13.ด.ญฮันนีน เทศอาเส็น ช่วยติดตามและลงข้อมูลการปลูกผักที่บ้าน
14.ด.ญ.ฮุสซาณีย๊ะ ดาแล่หมัน ช่วยดูแลการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรือน ที่ มัสยิด
15.ด.ญ.รัตนวดี หวังบริสุทธิ์ ช่วยดูแลเรื่องการทำปุ๋ยหมัก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมเพื่อจัดตั้งคณะทำงานดำเนินงานตามโครงการ ประกอบด้วยตัวแทนจากกลุ่มตัวแทนหมู่บ้าน ปราชญ์ชุมชน จนท.อบต.เห็นชอบร่วมกัน

 

24 0

4. ทำป้ายไวนิลโครงการ

วันที่ 28 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ป้ายไวนิลโครงการส่งเสริมสุขภาพดารปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันในศูนย์ตาดีการ์ ประจำมัสยิดอัชชาฟีอีย์ บ้านน้ำรา จำนวน 1 ป้าย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ป้ายไวนิลโครงการส่งเสริมสุขภาพดารปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันในศูนย์ตาดีการ์ ประจำมัสยิดอัชชาฟีอีย์ บ้านน้ำรา

 

0 0

5. กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. มีผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน มีเจ้าหน้าการเงิน 1 คน และมีผู้ที่จัดทำรายงานกิจกรรมลงเว็บไซต์ฅนสร้างสุข 1 คน
    2.ได้เรียนรู้ถึงการจัดกิจกรรมและการดำเนินโครงการจากโครงการอื่นๆและได้ทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรมของแต่ละโครงการ
    3.เรียนรู้เรื่องการจัดทำเอกสารการเงิน ว่าต้องทำยังไงให้ถูกต้อง เอกสารอะไรบ้างที่ต้องแนบ เช่น หนังสือเชิญวิทยากร กำหนดการ ฯลฯ
  2. เรียนรู้เรื่องการลงเว็บไซต์ ฅนสร้างสุข ว่าต้องลงรายละเอียดกิจกรรมต่างให้ครบ การลงรูปภาพกิจกรรม และการลงไฟล์เอกสารการเงินต่างๆ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ลงเบียน 2.รับฟังการนำเสนอโครงการแต่ละโครงการว่าดำเนินโครงการไปถึงกิจกรรมไหนและปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรม 3.เรียนรู้เรื่องการจัดทำเอกสารการเงิน เรื่องการลงเว็บไซต์ฅนสร้างสุข และการปรับแผนโครงการ

 

2 0

6. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2/4

วันที่ 17 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ครู และ ผู้ปกครอง จำนวน 15 คนและผู้นำชุมชนจำนวน9 คน สรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผนเสนอปัญหาที่พบและร่วมกันหาทางแก้ปัญหา ดังนี้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมสมาชิก คือนักเรียน และสมาชิกในครอบครัวของนักเรียน เพื่อคัดเลือกแกนนำ ประกอบด้วย ครู นักเรียน ผู้ปกครอง จำนวน 15 คน ประชุมครั้งที่ 2 สรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผนเสนอปัญหาที่พบและร่วมกันหาทางแก้ปัญหา หรือพัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นและอื่นๆ

 

24 0

7. ถอนเงินเปิดบัญชี

วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ถอนเงินเปิดบัญชี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ถอนเงินเปิดบัญชี

 

0 0

8. พัฒนาศักยภาพแกนนำเด็กนักเรียน โดยให้ความรู้การปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวัน

วันที่ 20 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.  มีคณะทำงาน 15 คน ประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียน/แกนนำครู/ แกนนำนักเรียน  /แกนนำผู้ปกครอง และกลุ่มเป้าหมายจำนวน 60 คน
2.  นักเรียนมีความตระหนักและเข้าใจใน เรื่องสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด  และรู้จักวิธีเลือกผักที่มีประโยชน์และปลอดภัยจากสารเคมีมาบริโภค
วิธีการเลือกซื้อผักให้ปลอดภัยและลดความเสี่ยงของการมีสารเคมีตกค้าง มีดังนี้ เลือกซื้อผักที่มีสีสันตามธรรมชาติ ไม่ฉูดฉาด ไม่มีคราบดินหรือคราบสีขาวของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไม่มีจุดราดำหรือเชื้อราต่างๆ รวมถึงกลิ่นที่ฉุนผิดปกติ เลือกซื้อผักสดที่มีรูเจาะ มีรอยกัดแทะของหนอนหรือแมลงอยู่บ้าง หรือควรเลือกผักที่มีตัวหนอนอยู่บ้าง หรือมีแมลงเดินอยู่เล็กน้อย เช่น มด เพลี้ย เป็นต้น เพราะเนื่องจากในปัจจุบันมีการทำรอยสัตว์กัดแทะ หนอนเจาะเทียม โดยการนำเอาทรายร้อนๆไปกลิ้งบนกระทะ จากนั้นนำสาดใส่ผัก ให้มีลักษณะเหมือนรอยเจาะของหนอน นั่นเอง ถ้าเป็นผักในห้างสรรพสินค้า ควรเลือกซื้อที่มีการแสดงฉลากที่ถูกต้อง เพื่อให้สามารถตรวจสอบย้อนกลับถึงแหล่งที่มาของผักได้ เช่น ตรวจสอบจากเลขสถานที่ผลิต หรือนำเข้าอาหารได้ เลือกซื้อผักตามฤดูกาล เนื่องจากผักที่ปลูกได้ตามฤดูกาลจะมีโอกาสเจริญเติบโตได้ดีกว่านอกฤดูกาล ทำให้ลดการใช้สารเคมีและปุ๋ยลง เลือกซื้อผักพื้นบ้าน ตามถิ่นที่อยู่อาศัยนั้นๆ หรือกินผักที่ปลูกเองได้ง่ายๆ เช่น กะเพรา ผักชี ผักบุ้ง ต้นหอม เป็นต้น ไม่ซื้อผักชนิดใดชนิดหนึ่งมากินเป็นประจำ ควรกินให้หลากหลายชนิดสับเปลี่ยนกัน เพื่อให้ได้คุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน และหลีกเลี่ยงการได้รับสารพิษหรือสารเคมีสะสม บริโภคผักที่ได้รับการรับรองจากทางราชการ เช่น ตลาดเกษตรกรประจำจังหวัด ตลาดผักและผลไม้เกษตรอินทรีย์ และตลาดสดที่มีการตรวจจากเจ้าหน้าที่ทางราชการเป็นประจำ เป็นต้น เนื่องจากมีการควบคุมการใช้สารเคมีไม่ให้มากเกินตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด นอกจากเทคนิคเลือกซื้อแล้ว การล้างผักก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่สำคัญที่จะช่วยลดการตกค้างของสารเคมีหรือยาฆ่าแมลงได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. อบรมให้ความรู้แกนนำ เรื่องสารพิษตกค้างในอาหาร โทษและผลเสียต่อสุขภาพของสารพิษแต่ละชนิด  และรู้จักวิธีเลือกผักที่ปลอดภัยจากสารเคมีมาบริโภคได้และสามารถนำไปปฏิบัติได้
  2. เรียนรู้เรื่องการล้างผักเพื่อลดสารพิษตกค้างในผัก

 

60 0

9. พัฒนาศักยภาพแกนนำผู้ปกครองเรื่องปลูกผักปลอดสารพิษและส่งเสริมปลูกผักปลอดสารพิษที่บ้านเด็กนักเรียน 60 หลังคาเรือน

วันที่ 27 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในวันนี้จำนวน 71 คน คณะทำงาน 15 คน วิทยากร 1 คน นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย 60 คน
วิทยากรได้ให้ความรู้เรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษดังนี้ ผักปลอดสารพิษ หมายถึง ผักที่มีระบบการผลิตที่ไม่มีการใช้สารเคมีในการป้องกันและก าจัดศัตรูรวมทั้งไม่ใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อการเจริญเติบโตของพืชผัก ผักปลอดสารพิษ” หมายถึง ผักที่มีระบบการผลิตที่ไม่มีการใช้สารเคมีในการป้องกันและกำจัดศัตรูรวมทั้งไม่ใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อการเจริญเติบโตของพืชผัก
การปลูกผักให้ปลอดสารพิษเป็นการนำเอาวิทยาการต่าง ๆ มาใช้ผสมผสานกันอย่างเหมาะสม ทั้งในด้านพันธุ์ผัก ความอุดมสมบรูณ์ของดิน การป้องกันและก าจัดศัตรูพืช การเก็บเกี่ยว การดูแลรักษาคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว การควบคุมคุณภาพก่อนการบรรจุเพื่อนำออกจำหน่าย รวมทั้งการเลือกใช้ภาชนะสำหรับบรรจุ ตลอดจนการขนส่งและการตลาดหลักการในการปลูกพืชผักให้ปลอดสารพิษหลักการที่สำคัญในการปลูกผักปลอดสารพิษ โดยยึดหลักการการไม่ใช้สารเคมีจะยึดหลักการนำเอาวิธีการป้องกัน และกำจัดศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกันหรือวิธีผสมผสานทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของเกษตรกร ของผู้บริโภค และรักษาสิ่งแวดล้อมแต่การที่จะป้องกันและกำจัดศัตรูพืชให้ได้ผลนั้นจะต้องเลือกใช้วิธีที่เหมาะสม ประหยัด และมีประสิทธิภาพที่สุด           ผักปลอดภัย ปลูกในระบบปิด  การผลิตพืชอินทรีย์ เป็นระบบการผลิตพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็น สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และฮอร์โมนต่างๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชที่เกิดจากการตัดต่อสารพันธุกรรม เน้นการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ ในการปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่อให้ต้นพืชมีความแข็งแรง สามารถต้านทานโรคและแมลงได้ด้วยตนเอง ผลผลิตที่ได้จึงปลอดภัยจาก อันตรายของสารพิษตกค้าง ให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค พืชผักที่ปลูกนั้นโดยส่วนมากจะปลูกโดยใช้สารเคมีสังเคราะห์ซึ่งอันตรายต่อโลกของเราและสิ่งมีชีวิตต่างๆ สารเคมีที่ใช้เหล่านี้รวมถึง ยาก าจัดแมลง ยากำจัดวัชพืช สารเคมีเหล่านี้ถูกใช้เพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันแมลง วัชพืช โรคพืช เพื่อที่จะสามารถผลิตพืชเหล่านั้นทีละจำนวนมากๆ การปลูกพืชแบบโดยพึ่งสารเคมีนั้นผลที่ตามมาคือบ่อยๆครั้งที่สารเคมีเหล่านั้นยังคงหลงเหลืออยู่ในผลผลิตของพืชเหล่านั้น สารเคมีเหล่านี้ยังคงค้างอยู่แม้กระทั่งหลังจากที่ผลผลิตนั้นถูกนำไปแปรรูปเป็นสินค้าต่างๆ ผักอินทรีย์อาจมีราคาที่สูงกว่เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายที่ต้องดูแลสูงกว่า แต่ก็ยั่งยืนกว่าเพราะระบบเกษตรอินทรีย์ เราจึงเห็นได้ว่าการบริโภคผักอินทรีย์สามารถลดความเสี่ยงที่จะได้รับสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย
นอกจากนั้นยังมีผลการวิจัยจากหลากหลายสถาบันได้ทำการเปรียบเทียบผลผลิตของพืชแบบอินทรีย์กับแบบเคมี ผลคือผลผลิตจากการปลูกแบบอินทรีย์อุดมนั้นให้รสชาติ สารอาหาร การเก็บรักษา ที่ดีกว่าผักเคมี (1) นอกจากนี้ยังมีผลการวิจัยที่สนับสนุนว่าผักอินทรีย์นั้นโดยเฉลี่ยแล้วให้สารแอนตี้ออกซิแดนต์ที่สูงกว่าผักเคมีอยู่ที่ประมาณสามสิบเปอร์เซ็น (2)เราเห็นว่าผักอินทรีย์ดีอย่างนี้แล้วลองหันมาบริโภคผักอินทรีย์กันเพื่อตัวคุณเอง และเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1  อบรมเชิงปฏิบัติให้ความรู้แกนนำผู้ปกครองเรื่องปลูกผักปลอดสารพิษและส่งเสริมปลูกผักปลอดสารพิษที่บ้าน และสามารถนำไปปฏิบัติได้ 2  ให้ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนลงมือปลูกผักที่บ้านอย่างน้อย 5 ชนิด/หลังคาเรือนโดยไม่ใช้สารเคมีใด 3  เก็บรวบรวมบันทึกข้อมูล    - จำนวนชนิดผักที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี
                                    - ข้อมูลการใช้ปุ๋ยหรือสารชีวภาพในการปลูกผัก                                     - การบริโภคผักที่ปลูกและจำนวนผักที่สามารถจำหน่าย
4 ดำเนินการนำผักปลอดสารพิษออกจำหน่ายร้านค้าในชุมชน

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 22 9                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 80,000.00 29,920.00                  
คุณภาพกิจกรรม 36                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3/4 ( 3 มิ.ย. 2566 )
  2. กิจกรรมติดตามและประเมินการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันที่มัสยิดและที่บ้านเด็ก ( 3 มิ.ย. 2566 - 30 ก.ย. 2566 )
  3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนและสรุปผลโครงการ ( 24 มิ.ย. 2566 )
  4. ที่ 4 กิจกรรมสาธิตการทำปุ๋ยหมักให้กับแกนนำเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็ก ( 24 มิ.ย. 2566 )
  5. กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในมัสยิด ปลููกผักปลอดสารพิษ ในโรงเรือน และ ในกระถาง ( 8 ก.ค. 2566 )
  6. กิจกรรมติดตามและประเมินการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันที่มัสยิดและที่บ้านเด็ก ( 2 ก.ย. 2566 - 1 ม.ค. 2567 )
  7. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนและสรุปผลโครงการ ( 16 ก.ย. 2566 )
  8. ประชุมการติดตาม ประเมินผล การดำเนินโครงการย่อย ครั้งที่2 ( 22 ก.ย. 2566 )
  9. ประชุมคณะทำงานและตัวแทนจากชุมชน ครั้งที่ 4/4 ( 23 ก.ย. 2566 )
  10. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการย่อยครั้งที่ 2 ( 26 ก.ย. 2566 )
  11. ลงบันทึกข้อมูลและทำรายงาน ( 30 ก.ย. 2566 )
  12. คืนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร ( 30 ก.ย. 2566 )

(................................)
นายอาซาลี หวังกุหลำ
ผู้รับผิดชอบโครงการ