task_alt

ส่งเสริมสุขภาพการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อโครงการอาหารกลางวันในศูนย์ตาดีการ์ประจำ มัสยิดอัชชาฟิอีย์ บ้านน้ำหรา ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อโครงการอาหารกลางวันในศูนย์ตาดีการ์ประจำ มัสยิดอัชชาฟิอีย์ บ้านน้ำหรา ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

ชุมชน ตำบลทุ่งนุ้ย อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 65-10154-024 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน มิถุนายน 2566 ถึงเดือน ตุลาคม 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3/4

วันที่ 3 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานและผู้นำชุมชนเข้าร่วมประชุมที่ห้องประชุมมัสยิดอัชชาฟีอีย์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงานและตัวแทนชุมชนเข้าร่วมประชุมการติดตามโครงการ ติดตามประเด็นปัญหาต่าง และแนวทางแก้ไข ชี้แจงการดำเนินโครงการในขั้นต่อไป

 

24 0

2. ที่ 4 กิจกรรมสาธิตการทำปุ๋ยหมักให้กับแกนนำเด็กนักเรียนและผู้ปกครองเด็ก

วันที่ 24 มิถุนายน 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ทำปุ๋ยหมักไว้ใช้ในมัสยิด ได้ 3 ถัง 1. ปุ๋ยหมักผักชนิดต่างๆ  2. ปุ๋ยหมักปลา  3. ปุ๋ยสับปะรด
ผู้ปกครองและเด็กนักเรียนได้รับความรู้ เรื่องการทำปุ๋ยน้ำหมักหมักชีวภาพและวิธีการใช้ ปุ๋ยหมักชีวภาพในมัสยิดสามารถนำไปใส่ปุ๋ยต้นไม้ พืชผักที่มัสยิด และผู้ปกครองสามารถนำไปใส่ที่บ้านได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ผลิตปุ๋ยและ สารกำจัดแมลงโดยใช้วัสดุจากธรรมชาติใช้เองอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการเกษตร มีแปลงผักปลอดสารพิษไว้ใช้บริโภคในครัวเรือน -วิทยากรบรรยายและสาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพจาก  เศษปลา
การเตรียมอุปกรณ์การทำปุ๋ยหมัก หั่นผัก ปลา และสับปะรด เป็นชิ้นๆ
ให้ความรู้เรื่องการทำปุ๋ยหมักและวิธการใช้ สาธิตการทำปุ๋ยหมัก ตอบข้อสงสัยต่างๆ

 

60 0

3. กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษในมัสยิด ปลููกผักปลอดสารพิษ ในโรงเรือน และ ในกระถาง

วันที่ 8 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีการปลูกสารพิษในโรงเรือน และ ในกระถาง
  มีปราชญ์ชาวบ้านมาสอนให้ความรู้เรื่องมีการปลูกสารพิษในโรงเรือน และ ในกระถาง
  -การเตรียมดิน   -การปลูก   -การใส่ปุ๋ย   -การดูแล และการรดน้ำได้มีการปลูกผักปลอดสารพิษในโรงเรือน จำนวน 1 แปลง เพื่อไว้ปรุงเป็นอาหารกลางวัน มีการปลูกผักกาดขาว และผักบุ้ง ได้มีการปลูกพริกและมะเขือ ลงในกระถาง จำนวน 58 กระถาง ได้มีการปลูก แตงกวา มะเขือ พริก ถั่วฝักยาว ถั่วพลู คะน้า ผักบุ้ง และกวางต้ง ลงในแปลงพื้นที่ว่างในบริเวณมัสยิด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

4.1 ลงมือและสาธิต การปลูกผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า ผักกาดขาว ในโรงเรือน โดยไม่ใช้สารเคมีใดๆ 4.2 บันทึกข้อมูล     - จำนวนชนิดผักที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี     - ข้อมูลการใช้ปุ๋ยหรือสารชีวภาพในการปลูกผัก     - การบริโภคผักที่ปลูกเป็นอาหารกลางวันและจำนวนผักที่สามารถจำหน่าย
        กิจกรรมสาธิตปลูกผักสวนครัวในกระถาง ลงมือปฏิบัติการปลูก บันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่อง รายละเอียดกิจกรรม 4.3 ลงมือและสาธิต การปลูกผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ผักคะน้า ผักกาดขาว ในกระถาง โดยไม่ใช้สารเคมีใดๆ 4.4 บันทึกข้อมูล

 

60 0

4. กิจกรรมติดตามและประเมินการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันที่มัสยิดและที่บ้านเด็ก

วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.1 ครัวเรือน 60 หลังคาเรือน ปลูกผักปลอดสารพิษอย่างน้อย 5 ชนิดที่บ้าน ร้อยละ 80           1.2 ครัวเรือน 60 หลังคาเรือน สามารถเก็บเมล็ดไว้เพาะปลูกในรุ่นถัดไปได้ร้อยละ 30           2.เชิงคุณภาพ           2.1 ค่าใช้จ่ายในการซื้อผักบริโภคต่อครัวเรือนลดลงร้อยละ ร้อยละ 20
          2.2 มีร้านค้า จำนวน 1 แห่ง ที่ปฏิบัติตามมาตรการการจัด/จำหน่ายผักจากครัวเรือน ในร้านค้าชุมชน ร้อยละ 100

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับแกนนำครู เด็กนักเรียน และแกนนำผู้ปกครองเด็ก ในการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่ออาหารกลางวันในมัสยิด และออกเยี่ยมและติดตามการปลูกผักของนักเรียนที่บ้าน

 

60 0

5. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถอดบทเรียนและสรุปผลโครงการ

วันที่ 16 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในวันนี้จำนวน 60 คน วิทยากร 1 คน นักเรียนและคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย 60 คน วิทยากรได้ทบทวนความรู้เรื่องการผักปลอดสารพิษ หมายถึง ผักที่มีระบบการผลิตที่ไม่มีการใช้สารเคมีในการป้องกันและการจัดศัตรูรวมทั้งไม่ใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อการเจริญเติบโตของพืชผัก    ผักปลอดภัย ปลูกในระบบปิด การผลิตพืชอินทรีย์ เป็นระบบการผลิตพืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็น สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และฮอร์โมนต่างๆ ตลอดจนไม่ใช้พืชที่เกิดจากการตัดต่อสารพันธุกรรม เน้นการใช้อินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยคอกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด และปุ๋ยชีวภาพ ในการปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ เพื่อให้ต้นพืชมีความแข็งแรง สามารถต้านทานโรคและแมลงได้ด้วยตนเอง ผลผลิตที่ได้จึงปลอดภัยจาก อันตรายของสารพิษตกค้าง ให้ปลอดภัยทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค พืชผักที่ปลูกนั้นโดยส่วนมากจะปลูกโดยใช้สารเคมีสังเคราะห์ซึ่งอันตรายต่อโลกของเราและสิ่งมีชีวิตต่างๆ
      ทำงานกลุ่ม มนหัวข้อประเด็นต่างๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย  นำเสนอการทำแต่ละกิจกรรม  ปัญหาและแนวทางการแก้ปัญหา การรับฟังการติดตามโครงการ  ข้อเสนอแนะ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดเวทีชุมชนเพื่อคืนข้อมูลความรู้ให้ชุมชน โดยเชิญครัวเรือนเป้าหมาย และภาคีที่เกี่ยวข้องมาร่วมรับทราบผลการดำเนินงานโครงการ และร่วมกันสรุปบทเรียนความสำเร็จว่าเกิดการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง มีอะไรเป็นปัจจัยความสำเร็จ และมีปัญหาอุปสรรคอะไร จะป้องกันแก้ไขอย่างไร

 

60 0

6. ประชุมการติดตาม ประเมินผล การดำเนินโครงการย่อย ครั้งที่2

วันที่ 22 กันยายน 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานและตัวแทนชุมชนเข้าร่วมประชุมและรับฟังประชุมการติดตาม ประเมินผล การดำเนินโครงการย่อย ครั้งที่2 ซักถามประเด็นปัญหา หาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เชิญคณะทำงานและตัวแทนชุมชนเข้าร่วมรับฟังประชุมการติดตาม ประเมินผล การดำเนินโครงการย่อย ครั้งที่2 ซักถามประเด็นปัญหา หาแนวทางแก้ไขร่วมกัน

 

20 0

7. ประชุมคณะทำงานและตัวแทนจากชุมชน ครั้งที่ 4/4

วันที่ 23 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมคณะทำงาน  กิจกรรมที่ 1 ครั้งที่ 4 สรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผนเสนอปัญหาที่พบและร่วมกันหาทาง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงาน  กิจกรรมที่ 1ครั้งที่ 4  เพื่อสรุปความก้าวหน้าการทำงานตามแผนเสนอปัญหาที่พบและร่วมกันหาทางแก้ไขปัญหา

 

24 0

8. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการย่อยครั้งที่ 2

วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เข้าร่วมประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการย่อยครั้งที่ 2 จำนวน 2 ท่าน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เข้าร่วมประชุมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการย่อยครั้งที่ 2

 

2 0

9. คืนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คืนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คืนดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร

 

0 0

10. ลงบันทึกข้อมูลและทำรายงาน

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ลงบันทึกข้อมูลและทำรายงาน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ลงบันทึกข้อมูลและทำรายงาน

 

1 0

11. คืนเงินยืมค่าบันทึกข้อมูลทำรายการ

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คืนเงินยืมค่าบันทึกข้อมูลทำรายการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

คืนเงินยืมค่าบันทึกข้อมูลทำรายการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 22 20                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 80,000.00 81,031.23                    
คุณภาพกิจกรรม 80                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายอาซาลี หวังกุหลำ
ผู้รับผิดชอบโครงการ