directions_run
โครงการการบริการดูแลที่บ้านเพื่อสร้างเสริมสุขภาพจิตและป้องกันภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิตอล iMed@home
โครงการการบริการดูแลที่บ้านเพื่อสร้างเสริมสุขภาพจิตและป้องกันภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง โดยใช้เทคโนโลยีดิจิตอล iMed@home
groups
เป้าประสงค์ที่สอดคล้องกับประเด็นขับเคลื่อน
ส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิการบริการพื้นฐาน
ส่งเสริมให้มีการคัดกรองสุขภาพจิตและประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง โดยใช้เครื่องมือ 2Q และ RQ
ลดผลกระทบจากวิกฤตโควิด-๑๙ เสริมศักยภาพให้สามารถเข้าถึงปัจจัย ๔ เพื่อการดำรงชีพ และสามารถช่วยเหลือตนเองได้
มีรายได้เพิ่มขึ้น ลดหนี้สินครัวเรือน
groups
เป้าประสงค์เฉพาะ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 2200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง(60 ปีขึ้นไป) จังหวัดตรัง | 300 | - | |
ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง(60 ปีขึ้นไป) จังหวัดนราธิวา | 300 | - | |
ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง(60 ปีขึ้นไป) จังหวัดปัตตานี | 200 | - | |
ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง(60 ปีขึ้นไป) จังหวัดพัทลุง | 300 | - | |
ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง(60 ปีขึ้นไป) จังหวัดยะลา | 300 | - | |
ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง(60 ปีขึ้นไป) จังหวัดสงขลา | 500 | - | |
ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง(60 ปีขึ้นไป) จังหวัดสตูล | 300 | - |
Online
Onsite
Hybridge
การพัฒนากลไก เช่น สนับสนุนกลไกในการทำงาน การรวมกลุ่ม สร้างชุมชนเข้มแข็ง การประสานส่งต่อความช่วยเหลือ
พัฒนากลไกการสำรวจและลงเยี่ยมเพื่อประเมินสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง ผ่านการทำงานของหน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ควบคู่กับการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล iMed@home
การสำรวจข้อมูล ค้นหากลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย
การประเมินสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยใช้เครื่องมือ 2Q และ RQ ใน 7 พื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง โดยใช้การลงเยี่ยมบ้านของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)
การตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย
การประเมินสุขภาพจิตและภาวะซึมเศร้าในกลุ่มผู้สูงอายุ โดยใช้เครื่องมือ 2Q และ RQ
การทำแผน กติกา การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ การวางแผนครอบครัว
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น การส่งเสริมทักษะทางกาย ใจ การนำหลักศาสนามาใช้
การป้องกันและลดปัญหา เช่น ด้านยาเสพติด การป้องกันและลดปัญหาด้านโภชนาการ การป้องกันและลดปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ไม่พร้อม
การบริการรักษาสุขภาพ เช่น การพัฒนาระบบบริการเชิงรุก การฉีดวัคซีน การแพทย์ทางร่วม การลดภาวะซีดในหญิงมีครรภ์ การดูแลสุขภาพจิต การใช้สมุนไพรทางเลือก
การปรับสภาพแวดล้อม สิ่งอำนวยความสะดวก กายอุปกรณ์
การส่งเสริมสุขภาพ
การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สื่อสารสาธารณะ
การพัฒนาศักยภาพ เช่น ให้ความรู้ การดูงาน
ด้านการเงิน งบประมาณ (การให้ความช่วยเหลือทางการเงิน ปัจจัยการผลิต กองทุนหมุนเวียน กองทุนกลาง การออมทรัพย์ สวัสดิการ)
การส่งเสริมอาชีพ การสร้างอาชีพ และรายได้ ลดรายจ่าย
การส่งเสริมการตลาดในชุมชน การส่งเสริมตลาดกรีน/ตลาดอาหารสุขภาพ
การบังคับใช้กฏหมาย
การเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง
การประเมินติดตามผล
การจัดการความรู้ งานวิจัย
อื่นๆ
จังหวัด | อำเภอ | ตำบล | ลักษณะพื้นที่ | |
---|---|---|---|---|
สงขลา | place directions |
งบประมาณ
1,400,000.00 บาท
ได้รับงบประมาณจาก
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ม.ค. 2566 10:51 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ