directions_run

โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้สูงอายุบ้านทุ่งเลียบ

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เกิดความรู้
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจและตระหนัก อย่างน้อยร้อยละ 80 2. ผู้สูงอายุเข้าร่วมและออกแบบ บริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
0.00 100.00

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนัก ทุกคน
2.ผู้สูงอายุด้ร่วมออกแบการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย คือเมนู ทำแกงเลียง น้ำพริกปลาทู ผักลวก

 

 

2 เกิดกลไกขับเคลื่อนงาน
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงาน 13 คน ผู้สูงอายุ รพ.สต. ท้องถิ่น ท้องที่ อสม. โดยกลุ่มแบ่งบทบาทการทำงาน 2. มีกติกาข้อตกลง/ขับเคลื่อนงาน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3. มีกลไกการติดตาม/เฝ้าระวัง ผู้สูงวัยดูแลสุขภาพ 4. มีข้อมูลก่อน-หลัง การวัดความเสี่ยงการดูแลสุขภาพ เกิดเมนูและการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย
0.00

1.มีคณะทำงาน จำนวน 13 คน ประกอบด้วย ตัวแทนผู้สูงอายุ จนท.จาก รพ.สต. ท้องถิ่น ท้องที่ อสม. โดยกลุ่มแบ่งบทบาทการทำงาน 2.มีกติกาข้อตกลงร่วมกัน คือการพบกลุ่มทุก 2 เดือน เพื่อทำกิจกรรมร่วมกันของกลุ่ม
3.เกิดกลไกการติดตามเฝ้าระวัง โดยมี อสม.ร่วมกับ จนท.รพ.สต.
4.เกิดชุดข้อมูลด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ ก่อนร่วมโครงการเช่น ข้อมูลค่า bmi ข้อมูลพฤติกรนใกสนกินอาหาร การออกกำลังกาย

 

 

3 เกิดพื้นที่สร้างสรรค์
ตัวชี้วัด : 1. มีพื้นที่กลางสำหรับทำกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย 2. เกิดจุดแลกเปลี่ยน พืช ผัก และอาหารที่เหมาะสมกับวัยอย่างน้อย 1 จุด
0.00
  1. มีพื้นที่กลางในการทำกิจกรรม คือ ตลาดนัด และศาลาหมู่บ้าน
    2.มีจุดแลกเปลี่ยนพืช ผักและอาหารที่เหมาะสมกับวัย คือที่ ตลาดนัดบ้านทุ่งเลียบ

 

 

4 เกิดพฤติกรรมบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย ร้อยละ80 2. เกิดครัวเรือนต้นแบบ 10 ครัวเรือน
0.00

1.ผู้สูงอายุทุกคนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
2.เกิดครัวเรื่อนต้นแบบ จำนวน 12 ครัว