ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบของการท้องก่อนวัย
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเรื่องการป้องกันการท้องก่อนวัย -เกิดแกนนำนักเรียน/เยาวชนมีความรู้เข้าใจในการป้องกันท้องก่อนวัย จำนวน 30 คน
30.00 30.00

ควรมีการออกเครื่องมือติดตามของการลดปัญหาท้องก่อนวัจากนักเรียนด้วยการนำความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องไปใช้ขยายผลของแกนนำนักเรียนกับเพื่อนนักเรียน

2 เพื่อให้เกิดพื้นที่ทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ เพื่อลดความเสี่ยงการมั่วสุมแหล่งอบายมุข
ตัวชี้วัด : -เกิดพื้นที่สร้างสรรค์ สำหรับทำกิจกรรมของเด็กและเยาวชน จำนวน 3 แห่ง
5.00 0.00

การเกิดพื้นที่สร้างสรรค์ให้เด็กและเยาวชนได้มีกิจกรรมที่สอดคล้องกับเพสและวัย เป็นช่องทางที่สำคัญที่ลดความเสี่ยงในการเกิดปัญหาการ้องก่อนวัย

3 เพื่อให้เกิดการดำเนินโครงการมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : - เข้าร่วมกิจกรรมของแผนงานร่วมทุนไม่น้อยกว่าร้อยละ80 - มีรายงานประจำงวด
75.00

ควรมีการออกแบบการเก้บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์แต่ละวัตถุประสงค์อย่างชัดเจน

4 เพื่อเกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการรักอย่างปลอดภัยห่างไกลเอดส์
ตัวชี้วัด : เกิดคณะทำงาน จำนวน 20 คน ซึ่งมาจากตัวแทนภาคีที่เกี่ยวข้อง เกิดกติกา ข้อตกลงว่าด้วยการหามาตรการป้องกันท้องก่อนวัย มีแผนงานเกี่ยวกับการป้องกันการท้องก่อนวัย และการเฝ้าระวัง
3.00 23.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130 176
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาลจุ่งฮั 130 176

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบของการท้องก่อนวัย (2) เพื่อให้เกิดพื้นที่ทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ เพื่อลดความเสี่ยงการมั่วสุมแหล่งอบายมุข (3) เพื่อให้เกิดการดำเนินโครงการมีประสิทธิภาพ (4) เพื่อเกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการรักอย่างปลอดภัยห่างไกลเอดส์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเพื่อแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ (2) จัดอบรมให้ความรู้เทคนิค วิธีการการป้องกันท้องก่อนวันอันควร (3) เวทีทำความเข้าใจบทบาทแกนนำสุขภาพ/ผู้นำนักเรียนตามโครงการฯ และรับสมัครแกนนำนักเรียน (4) ศึกษาดูงาน/ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันท้องก่อนวัย (5) จัดหาพื้นที่ทำกิจกรรม “ลานบ้าน ลานใจ” (6) ติดตามและสรุปประเมินผลการดำเนินงานเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ( ARE)และจัดเวทีร่วมกำหนดกติกา/ข้อตกลง การป้องกันดูแลท้องก่อนวัยอันควร (7) ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามโครงการและสรุปผลการดำเนินโครงการ..(ปิดโครงการ) (8) กิจกรรมถอดบทเรียน ARE ครั้งที่2 (9) กิจกรรมที่ 4  ประชุมเพื่อแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ (10) กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้เทคนิค วิธีการการป้องกันท้องก่อนวันอันควร (11) กิจกรรมที่ 2 เวทีทำความเข้าใจบทบาทแกนนำสุขภาพ/ผู้นำนักเรียนตามโครงการฯ และรับสมัครแกนนำนักเรียน (12) กิจกรรมที่ 3 ศึกษาดูงาน/ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันท้องก่อนวัย พื้นที่ต้นแบบ สสอ.ปะเหลียน  อ.ปะเหลียน จ.ตรัง... (13) กิจกรรมที่ 8 จัดหาพื้นที่ทำกิจกรรม “ลานบ้าน ลานใจ” (14) กิจกรรมที่ 7 และกิจกรรมที่ 5 ติดตามและสรุปประเมินผลการดำเนินงานเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ( ARE)และจัดเวทีร่วมกำหนดกติกา/ข้อตกลง การป้องกันดูแลท้องก่อนวัยอันควร (15) กิจกรรมที่ 6และกิจกรรมที่ 9ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามโครงการและสรุปผลการดำเนินโครงการ..(ปิดโครงการ) (16) ประชุมกิจกรรมลานบ้าน ลานใจ และสรุปผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวมทั้งถอดบทเรียนครั้งที่2 (17) สรุปผลการดำเนินกิจกรรมลานบ้าน ลานใจ (18) กิจกรรมเวทีรวมพลคนสามวัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh