แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
งบสนับสนุนจากแผนงานร่วมทุน 16 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

กิจปฐมนิเทศโครงการ 16 ก.พ. 2566 16 ก.พ. 2566

 

มีคณทำงานเข้าร่วม จำนวน  3  คน 1 นางปิยนารถ  หนูพลับ  ผู้รับผิดชอบโครงการ  2  นางฉ้าย  เหมือนศรี  3  นางบุญให้ คงเกตุ

 

ได้เข้าใจวัตถุประสงค์การดำเนินโครงการและการบริหารโครงก่ารและเอกสารที่เกี่ยวข้อง

 

เวทีอบรมให้ความรู้ผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัว 15 มี.ค. 2566 25 เม.ย. 2566

 

  1. ลงทะเบียนครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรม
  2. ละลายพฤติกรรมของผู้รวมกิจกรรมโดยการสร้างสัมพันธภาพของคนในครอบครัวโดยคณะทำงาน
  3. พักรับประทานอาหารว่างและเครืองดื่ม
  4. วิทยากรให้ความรู้ถึงสถานการณ์ครอบครัวและผลกระทบจากคามรุนแรง
  5. พักรับประทานอาหารกลางวัน
  6. สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและการบอกเล่าเรื่องราวความรุนแรงในสถานการณ์ในครอบครัวและชุมชน
  7. ทุกคนเสนอความคิดเห็นร่วมกันโดยการนำวิธีลดความรุนแรงมาใข้ในครอบครัวและสามารถลดและยุติการกระทำความรุนแรงได้จริง เข่นคำพูดที่สร้างสรรค์ครอบครัว และคำพูดที่อยากได้ยิน รวมไปถึงการแสดงความรักเพื่อสร้างความอบอุ่นให้แก่คนในครอบครัว โดยการสัมผัส การกอด การหอมแก้ม การจับมือ ฯลฯ
  8. ร่วมกันสร้างแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ร่วมกัน

 

1.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และคู่มือการปฎิบัติเมื่อเกิดการกระทำความรุนแรงในครอบครัว 2.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เข้าใจถุึงผลกระทบต่อสมาชิกในครอบครัวเมื่อเกิดความรุนแรงขึ้น 3.  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถลดการกระทำความรุนแรงด้วยคำพูดและการกระทำความรุนแรงด้านอื่นๆ  ได้

 

สร้างการมีส่วนร่วมออกแบบแผนการติดตามเฝ้าระวังป้องกันการกระทำรุนแรงในครอบครัว 22 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

เวทีสร้างความเข้าใจสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวและรับสมัครครอบครัวเข้าร่วมโครงการ 18 เม.ย. 2566 18 เม.ย. 2566

 

  1. ประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลโคกม่วง  นางหนูจิน  คงเหล่  ได้กล่าวต้อนรับครอบครัวที่มีความประสงค์จะเข้าร่วมโครงการลดความรุนในครอบครัวตำบลโคกม่วง  จำนวน  50  ครอบครัว รวม  100  คน 2.  ชี้แจงวัตถุประสงค์การดำเนินโครงการและแนะนำคณะทำงานและพี่เลี้ยงในการดำเนินงานตามโครงการ 3.  พี่เลี่ยงผู้รับผิดชอบแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ  องค์การบริหารส่วนจังหวัดพั่ทลุงได้เข้าร่วมโครงการและได้กล่าวถึงวัตถประสงค์การดำเนินงานร่วมกัน 4.  นายณัฐพงศ์  คงสง  วิทยากรครอบครัวและเป็นพี่เลี้ยงประจำตำบลโคกม่วง  ได้เป็นวิทยากรโครงการลดความรุนแรงในครอบครัวตำบลโคกม่วง  ได้กล่าวถึงสถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ตำบลโคกม่วง  และการป้องกันและแก้ปัญหาที่เกิตขึ้นในพื้นที่ตำบลโคกม่วง  และการดำเนินโครงการฯ  นี้นับเป็นอีกหนึ่งโครงการที่จะมาทำให้ความรุนแรงในครอบครัวลดลงได้ 5.  รับสมัครครอบครัวเข้าร่วมโครงการ  และการดำเนินงานตามปฎิทิน

 

1 กลุ่มเป้าหมายจำนวน  50  ครอบครัว เกิดความเข้าใจสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว 2.  กลุ่มเป้าหมายจำนวน  50  ครอบครัวให้ความสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการลดความรุนแรงในครอบครัวตำบลโคกม่วง ด้วยความสมัครใจทุกครอบครัว

 

คณะทำงานและภาคีประชุมติดตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมายทุก 2 เดือน 19 เม.ย. 2566 7 เม.ย. 2566

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์โดยนางหนูจิน  คงเหล่    ประธานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุนตำบลโคกม่วง    เพื่อคณะทำงานจำนวน  15  คน  ได้ทราบรายละเอียดและงบประมาณของโครงการลดความรุนแรงในครอบครัวตำบลโคกม่วง  เพื่อดำเนินกิจกรรมตามโครงการและการสำรวจกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่  พร้อมประชาสัมพันธ์ครอบครัวในพื้นที่ตำบลโคกม่วง จำนวน  15  หมู่บ้าน  เพื่อเข้าร่วมโครงการจำนวน  50  ครอบครัว  โดยกลุ่มเป้าหมายได้แก่สมาชิกในครอบครัว พ่อ  แม่  ลูก  ปู่ย่า ตายาย
และร่วมกันวางแผนการดำเนินงานพร้อมจัดทำปฎิทินและการดำเนินงานเพื่อขอรับงบภายใต้การสนับสนุนจากแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะ  จังหวัดพัทลุง  ครั้งที่  1

 

คณะทำงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเข้าใจวัตถุประสงค์การดำเนินงานตามโครงการ  และการทำงานตามปฏิทิน  และการวางแผนร่วมติดตามและประเมินผลกลุ่มเป้าหมาย  จำนวน  50  ครอบครัว  และการแบ่งกลุ่มในการรับผิดชอบและติดตามประเมินผล

 

วิเคราะห์ข้อมูลออกแบบกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการแก้ปัญหาผู้ปกครอบร่วมกับเด็ก 7 มิ.ย. 2566 19 ก.ย. 2566

 

คณะทำงานและพี่เลี้ยงโครงก่ารได้ร่วมกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการแก้ปัญหาเด็กและผู้ปกครอง    ดังนี้ -  ปัญหาเด็กในครอบครัวตอนนี้ที่ทุกคนได้แสดงความคิดเห็นกัน  เด็กมีนิสัยก้าวร้าว  พูดจาหยาบขึ้น  และมีอารมณ์ฉุนเฉียว  กับคนในครอบครัว  ตั่งแต่เด็กล็กก็เริมมีปัญหาดังกล่าว -  ได้ร่วมกันค้นหาสาเหตุร่วมกัน ว่าเกิดขึ้นเพราะอะไร  วิธีแก้ปัญหาต้องทำอย่างไร -  สรุปปัญหาประเด็นและแนวทางแก้ไขร่วมกัน  โดยใช ้  10  คำพูดที่อยากได้ยินจากคนในครอบครัว
1 เหนื่อยไหม  2    มาเป็นประเด็นหลักในการพูดคุย  การสร้างสัมพันธภาพ

 

ทุกครอบครัวสามารถใช้คำพูด  10  คำพููดที่อยากได้ยินจากคนในครอบครัวมาเป็นคำพูดที่สื่อสารในครอบครัวของตนเอง

 

คัดเลือกครอบครัวต้นแบบครอบครัวอบอุ่นไร้ความรุนแรง 12 ก.ค. 2566 12 ก.ย. 2566

 

คณะทำงานร่วมกันวิเคราะห์ครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรม  โดยมีวิทยากรเป็นผู้ใฟ้ข้อคิด  แนวทาง และวิธีการท่ี่จะร่วมกันคัดเลือกครอบครัวต้นแบบจำนวน  10  ครอบครัว  เพื่อนำมาเป็นครอบครัวต้นแบบในการประชาสัมพันธ์ในโครงการลดความรุนแรงในครอบครัวตำบลโคกม่วง

 

ได้ครอบครัวต้นแบบจำนวน  10  ครอบครัวและการนำครอบครัวต้นแบบให้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ  สามารถบอกและสร้างความรัก  ความอบอุ่นของตนเองในครอบครัวผ่านคำพูดและการสร้างสัมพันธภาพร่วมกัน ให้แก่ครอบครัวอื่นได้

 

คณะทำงานและภาคีประชุมติดตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมายทุก 2 เดือน 25 ก.ค. 2566 3 ส.ค. 2566

 

คณะทำงานร่วมกันประเมินติดตามผลกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่่วมโครงการ  โดยการแบ่งการติดตามเป็นกลุ่มเป้าหมาย    เพื่อประเมินและประสานงานโดยแบ่งเป็น 10 กลุ่่ม  เป้าหมาย  5  ครอบครัว  มีคณะทำงานรับผิดขอบ  1-2  คน

 

เกิดการทำงานที่เป็นระบบและสามารถเชื่อมโยงกลุ่มเป้าหมายแต่ละครอบครัว  เกิดความไว้ใจ  เข้าใจ  สร้างสัมพันธภาพ  พูดคุยกันให้ความข่วยเหลือกรณีมีเหตุการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้นในครอบครัวอื่น ๆที่ยังไม่ได้เข้ารวมกิจกรรมโครงการ  แต่สามารถรับทราบช้อมูลการประชาสัมพันธ์กรณีมีเหตุการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้น

 

สร้า่งการมีส่วนร่วมออกแบบออกแบบแผนการติดตามการเฝ้าระวังการป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัว 27 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

คณะทำงานและภาคีประชุมติดตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมายทุก 2 เดือน 8 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

คณะทำงานและภาคีประชุมติดตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมายทุก 2 เดือน 8 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

สร้างการมีส่วนร่วมผลิตสื่ออย่างน้อย 3 ช่องทาง 30 ส.ค. 2566 19 ก.ย. 2566

 

การทำวิดีทัศน์ครอบครัวต้นแบบที่ได้รับการคัดเลือกจำนวน  10  ครอบครัว
และทำป้ายจำนวน  5  ป้าย    ทำสติกเกอร์ลดความรุนแรง

 

เกิดสื่อประชาสัมพันธ์ลดความรุนแรงในครอบครัวในพื้นที่ตำบลโคกม่วง  โดยครอบครัวกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมกันออกแบบกันเองและมีส่วนร่วมในการถ่ายทอดผ่านสื่อวิดีทัศน์ร่วมกัน และป้ายประขาสัมพันธ์เป็นป้ายที่สามารถนำไปเป็นสื่ออีกทางหนึ่งในการประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ได้  และสติกเกอร์ลดความรุนแรงช่วบเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทุกครอบครัวได้ร่วมกันคิดออกแบบ เป็นอิกหนึ่งช่องทางที่ทุกคนได้มีส่วนร่วม

 

วิเคราะห์ข้อมูลออกแบบกิจกรรมร่วมกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการแก้ปัญหาผู้ปกครองร่วมกับเด็ก 19 ก.ย. 2566 19 ก.ย. 2566

 

ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาเด็กในพื้นที่  ที่ส่งผลกระทบต่อครอบครัวและทำให้เกิดความรุนแรง  ร่วมกัน    โดยให้แต่ละคนได้เสนอปัญหาที่เกิดขึ้นจริง

 

สรุปปัญหาร่วมกัน  ดังนี้  ปัญหาพ่อแม่ไม่เข้าใจเด็ก  เด็กไม่เชื่อฟังพ่อแม่ผู้ปกครอง  ปัญหาเด็กและผู้ปกครองติดโทรศัพท์  ทำให้สัมพันธภาพในครอบครัวลดลง  ปัญหาที่แก้ไขได้ยากที่สุดคือปัญหายาเสพติด

 

ค่ายสร้างความอบอุ่นครอบครัวต้นแบบเรียนรู้ร่วมกันนอกสถานที่ 21 ก.ย. 2566

 

 

 

 

 

ค่ายสร้างความอบอุ่นครอบครัวต้นแบบเรียนรู้ร่วมกันนองสภานที่ 21 ก.ย. 2566

 

 

 

 

 

คืนข้อมูลถอดบทเรียนประเมินผลลัพธ์การดำเนินโครงการ 11 ต.ค. 2566 11 ต.ค. 2566

 

ประสานกลุ่มเป้าหมายจำนว  50  ครอบครัว  เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อประเมินผลลัพธ์และถอดบทเรียน ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ  การบอกเล่าผลความสำเร็จของแต่ละครอบครัว สรุปผลลัพธ์ของครอบครัวที่่เข้าร่วมโครงการร่วมกันที่เกิดขึ้นจริง

 

เกิดครอบครัวต้นแบบในพื้นที่เพิ่มชึ้น จาก  10  ครอบครัว  เป็น  20  ครอบครัวที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ครอบครัวอื่น  ๆ  ได้  โดยการใช้  10  คำพูด  ที่อยากได้ยิน  เกิดความสำเร็จได้จริง ๆ

 

กิจกรรมติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ครั้งที่ 2 14 ต.ค. 2566

 

 

 

 

 

ติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (ARE) ครั้งที่ 2 31 ต.ค. 2566 31 ต.ค. 2566

 

การติดตามการดำเนินงานตามโครงการ

 

ได้รับทราบข้อมูลการดำเนินโครงการที่ถูกต้อง

 

กิจกรรมเวทีรวมพลคนสามวัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 19 ธ.ค. 2566 19 ธ.ค. 2566

 

ประสานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน  20  คน จัดบูธนิทรรศการแสดงผลการดำเนินงานโครงการ

 

คณะทำงานและผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีรวมพลคนสามวัยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  จำนวน  31  บูธ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  22  คน มีการจัดกิจกรรมโครงการ  ติดสติ้กเกอร์ลดความรุนแรงในครอบครัวแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคน  กับ สติ้กเกอร์  10  คำพูดที่อยากได้่้ยินจากคนในครอบครัว มีกระเข้าของขวัญลดความรุนแรงในคนรอบครัวเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ในการลดความรุุนแรง

 

ออกแบบเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมายระหว่างการดำเนินโครงการ 21 ก.ค. 2566 21 ก.ค. 2566

 

1 คณะทำงานร่วมกันออกแบบการเก็บข้อมูลจากการทำกิจกรรมที่ผ่านมาซึ่งพบว่า ปัญหาที่เกิดจากความรุนแรงในครอบครัว สามรถนำมาออกแบบได้และสามารถเก็บข้อมฤูลได้จริง

 

1.  เกิดแบบข้อมูลททีตรงกับบริบทของครอบครัวในพื้นที่ตำบลโคกม่วง

 

กิจกรรมติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ครั้งที่ 1 24 ก.ค. 2566 24 ก.ค. 2566

 

มีการประเมินผลโครงการและติดตาม พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนการทำงานร่วมกัน

 

มีคณะทำงานเข้าร่วม  3 คน  1 นางปิยนารถ  หนูพลับ  ผู้รับผิดชอบโครงการ  2 นางหนูจิน  คงเหล่  3  นางฉ้าย  เหมือนศรี  ผลลัพธ์และสิ่งที่ได้รับคือได้เข้าใจการทำงานทีชัดเจนมากขึ้น    ได้เรียนรู้สิ่งที่เกิดขึ้นของแต่ละพื้นที่  และสิ่งที่แตกต่างกันซึ่่งเป็นจุดเด่น  สามารถนำมาปรับใช้กับโครงการในพื้นที่ของตนเอง    และสามารถกลับไปทำให้โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้  และได้รับสิ่งที่ดี  ๆ  และความคิดใหม่มาพัฒนาต่อไป

 

ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคโครงการลดความรุนแรงในครอบครัวตำบลโคกม่วง (ARE) ครั้งที่ 1 24 ก.ค. 2566 19 ก.ค. 2566

 

วิทยากรนายณัฐพงศ์  คงสง  พี่เลี้ยงโครงการ ได้เป็นวิทยากร  และได้ร่วมกันติดตามการดำเนินโครงการลดความรุนแรงตำบลโคก่ม่วง  โดยให้คณะทำงานได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนการทำงานว่าได้ดำเนินการเป็นอย่างไรย้าง มี่ปัญหาอุปสรรค  และได้รับทราบสถานการณ์ความรุนแรงในตำบลโคกม่วง ซึ่งคณะทำงานจำนวน15  คน

 

เกิดความเข้าใจในการบันทึกข้อมูล  และการดำเนินโครงการ

 

สร้างก่ารมีส่วนร่วมออกแบบแผนการเผ้าระวังการกระทำความรุนแรงในครอบครัว 27 ก.ค. 2566 27 ก.ค. 2566

 

ประชุมร่วมกันออกแบบและวางแผนกลุ่มเป้าหมาย 50  คน จาก  50  ครอบครัว  มีการเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุการณ์  การกระทำความรุนแรงในครอบครัว และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในครอบครัวและในชุมชน

 

มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน  43  คน    43  ครอบครัว  และได้ร่วมกันเสนอวิธีการทำงานเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรง  โดยการเผ้าระวังและเข้าเป็นเครือข่ายป้องกันการกระทำความรุนแรงในพื้นที่ตำบลโคกม่วงร่วมกัน เกิดความเข้าใจ และวิํธีการดำเนินงานร่วมกัน

 

คณะ่ทำงานและภาคีประชุมติดตามประเมินผลกลุ่่มเป้าหมายทุกเดือน 8 ส.ค. 2566 11 ส.ค. 2566

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมาย วางแผนการดำเนินกิจกรรม

 

คณะทำงานได้รับทราบข้อมูลและผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ร่วมกันแลกเปลี่ยน  แนวคิด  และวิเคราะห์สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวและได้รู้ข้อมูลความรุนแรงในครอบครัวที่ลดลง  ไม่มีเหตุรับแจ้งการกระทำความรุนแรงเพื่ม

 

ค่ายสร้างความอบอุ่นครอบครัวต้นแบบเรียนรู้ร่วมกันนอกสถานที่ 16 ส.ค. 2566 21 ก.ย. 2566

 

ตัวแทนครอบครัวที่เช้าร่วมกิจกรรมได้ทำกิจกรรมร่วมกันนอกสถานที่  โดยมีวิทยากรกระบวนการจากศูนย์ศึกษาธรรมชาติสัตว์ป่าทะเลน้อย  ตำบลทะเลน้อย  อำเภอควนขนุน  จังหวัดพัทลุง โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนได้ทำกิจกรรมตั้งแต่บนรถ  โดยการให้ทุกคนได้เล่าเรื่องราวครอบครัวและสิ่งที่ได้เกิดขึ้นจริงจาการเข้าร่วมโครงการลดความรุนแรงในครอบครัวตำบลโคกม่วง  ซึ่งทุกคนสามารถบอกเล่าให้ครอบครัวอื่นได้แลกเปลี่ยนกัน  และได้ทำกิจกรรมร่วมกันในห้องประชุมโดยการแบ่งกลุ่มเป็น 5 กลุ่ม  เพื่อทำกิจกรรมร่วมกันโดยครอบครัวต้นแบบเได้ร่วมกันแสดงให้เห็นการสื่อสารและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้อย่างสนุกสนานและมีรอยยิ้มและเสียงหัวเราะอยู่ตลอดเวลา  ทำให้กิจกรรมสามารถสร้างบรรยากาศของครอบครัวเกิดขึ้น    และได้ร่วมรับประทานอาหารนอกสถานที่ ทำให้ทุกคนประทับใจมากๆ

 

เกิดคณะทำงานและภาคีเครือข่ายโดยการสร้างกลไกเฝ้าระวังการกระทำความรุนแรวในครอบครัวขึ้น  80 เปอร์เซ็นต์ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม เกิดครัวเรือนต้นแบบที่ลดการกระทำความรุนแรงในครอบครัวได้  และสามารถเป็นต้นแบบในการสื่อสารประชาสัมพันธ์ผ่านการถ่ายทอดด้วยการสื่อวิดีทัศน์  จำนวน 10  ครอบครัว

 

คณะ่ทำงานและภาคีประชุมติดตามประเมินผลกลุ่่มเป้าหมายทุกเ 2 ดือน 13 ก.ย. 2566 13 ก.ย. 2566

 

ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามประเมินผลครอบครัวที่เช้าร่วมกิจกรรม  และการวางแผนการดำเนินงาน  ในการจัดกิจกรรมนอกสถานที่  โดยการจัดเตรียมสถานที่ที่มีความเหมาะสม  และการดำเนินงานประสานการเดินทาง  ประสานวิทยากร  โดยแบ่งการรับผิดชอบคณะทำงานเป็นคนประสานเป็นแกนหลัก  ดังนี้ ฝ่ายสถานที่  นางหนูจิน  คงเหล่  นายสวาท  สังข์แสง ฝ่ายประสานวิทยากร  นางปิยนารถ  หนูพลับ ฝ่ายอาหาร  นางพวงเพ็ญ  สงแช้ม  นางสาวนิจติญา  เหล่าสิงห์
ฝ่ายพาหนะเดินทาง  นางฉ้าย เหมือนศรี  นางหนูจิน  คงเหล่ ฝ่ายกิจกรรม  นางสาวธิดารัตน์  เพ็งมี ฝ่ายประสานกลุ่มเป้าหมาย  คณะทำงานทุกคนตามกลุ่มที่รับผิดขอบ

 

เกิดการทำงานที่เป็นระบบและสร้างเครือข่ายด้านครอบครัวในพื้นที่ได้

 

คณะ่ทำงานและภาคีประชุมติดตามประเมินผลกลุ่่มเป้าหมายทุกเ 2 ดือน 1 ต.ค. 2566 1 ต.ค. 2566

 

ร่วมกันกำหนดแนวทางในการทำงานด้านครอบครัว  และติดตามสถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่    คณะทำงานรายงานความก้าวหน้าของครอบครัวและผลที่เกิดขึ้น

 

เกิดข้อมูลที่เป็นเชิงบวก  ครอบครัวที่เข้าร่วมกิจกรรม สามารถถ่ายทอดความรู้ที่ได้รับไปใช้กับบุคคลในครอบครัวได้จริง  และอยากให้คณะทำงานนำโครงการมาจัดในพื้นที่ให้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มมากชึ้น