task_alt

โครงการพัฒนากลไกดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนากลไกดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

ชุมชน ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ 6510156026 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 19 ธันวาคม 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กุมภาพันธ์ 2566 ถึงเดือน มิถุนายน 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 11. พัฒนาศักยภาพผู้รับทุน ปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ได้ทราบลำดับขั้นตอนการดำเนินงานโครงการ และแนวทางการบริหารจัดการโครงการ
  2. ได้องค์ความรู้เรื่อง การจัดทำเอกสารการเงิน เอกสารรายงาน เอกสารรายงานผลทั้งในระบบและจัดทำเป็นเอกสารเพื่อการตรวจสอบ
  3. มีความรู้และสามารถออกแบบการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลลัพธ์ได้ พร้อมนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการดำเนินโครงการให้สำเร็จตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ที่กำหนด

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพภาพผู้รับทุน ในวันที่ 16ก.พ.66 ณ โรงแรมชัยคณาธานี จำนวน 1 วัน
- 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน - 09.00-09.15 น.เตรียมความพร้อมกลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมสันทนาการ - 09.15-09.30 น.เปิดการประชุม กล่าวมอบนโยบาย โดยนายวิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกอบจ.พัทลุง - 09.30-10.30 น. แนวทางการบริหารจัดการโครงการ การเงิน และจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดย นายเสนีย์ จ่าวิสูตร - 10.30-10.45 น. การจัดทำรายงานผลผ่านระบบ โดยนายอรุณ ศรีสุวรรณ - 10.45-12.00 น. ปฏิบัตินำเข้าข้อมูลสู่ระบบ และทดลองจัดทำรายงานผ่านระบบ โดยนายอรุณ ศรีสุวรรณ
- 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน - 13.00-13.30 น. ความสำคัญของการออกแบบการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด โดยนายไพฑูร ทองสม
- 13.30-14.30 น. แบ่งกลุ่มย่อ ออกแบบการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด
- 14.30-15.00 น. ลงนามความร่วมมือตามข้อตกลงร่วมโครงการ
- 15.00-15.30 น. สรุปและประมวลผลการจัดกิจกรรมเรียนรู้ - 15.30 น. ปิดการประชุม

 

1 0

2. 4. ประชุม คณะทำงาน ครั้งที่ 1

วันที่ 21 เมษายน 2566 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.เกิดคณะทำงาน ในการดำเนินโครงการ จากภาคีเครือข่ายในตำบลลำสินธุ์ จำนวน 24 คน
2.ได้แนวทางการขับเคลื่อนโครงการ
3.ได้ข้อสรุปในการดำเนินการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
2.ประชุมคณะทำงาน ในวันที่ 21 เม.ย.66 เวลา 10.00-12.00น เพื่อร่วมคิด ร่วมทำ และสรุปผลการดำเนินงาน เพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
จัดทำกติกาข้อตกลงในการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ วิเคราะห์ทบทวนการดำเนินงานการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ปัญหา / อุปสรรค
รวมทั้งหาวิธีการออกแบบการทำงานในการขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในระยะต่อไป
3.วางแผนในการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย และดำเนินการมอบหมายให้คณะทำงานช่วยกันคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมกิจกรรม

 

21 0

3. 11. จัดทำไวนิลโครงการพัฒนากลไกดูแลผู้สูงอายุตำบลลำสินธุ์

วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ได้ป้าไยไวนิลโครงฃการจำนวน 1 ป้าย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.สั้งจ้างทำไวนิลโครงการจำนวน 1 ป้าย ขนาด 1.2*2.4 ม.

 

60 0

4. ประชุมการจัดทำระบบฐานข้อมูลการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุครั้งที่ 1

วันที่ 16 พฤษภาคม 2566 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. มีคณะทำงานในการจัดทำระบบข้อมูลการจัดการสุขภาพของผู้สูงอายุจำนวน 11 คน ที่มีทักษะความชำนาญในการจัดทำข้อมูล
  2. ได้ข้อสรุปรูปแบบการเก็บข้อมูลและมอบหมายงานจ้างการเก็บข้อมูลให้กับอสม.ที่่ดูแลผู้สูงอายุ
  3. ได้ผลการเก็บข้อมูล จากการเก็บข้อมูล ดังนี้
    1) ความดันโลหิตสูง คัดกรอง 566 คน ปกติ 532 คน เสี่ยง 12 คน เสี่ยงสูง 22 คน
    2) เบาหวาน คัดกรอง 885 คน ปกติ 851 คน เสี่ยง 17 คน เสี่ยงสูง 17 คน
    3) CVD คัดกรอง 388 คน ต่ำ 38 คน ปานกลาง 103 คน สู่ง 72 คน สูงมาก 62 คน สูงอันตราย 113 คน
    4) สุขภาพช่องปาก คัดกรอง 1085 คน ปกติ 1085 คน
    5) สมองเสื่อม คัดกรอง 527 คน ปกติ 527 คน
    6) ซึมเศร้า 2Q คัดกรอง 1095 คน ปกติ 1095 คน
    7) ข้อเข่า คัดกรอง 1085 คน ปกติ 1084 คน ผิดปกติ 1 คน
    8) ภาวะหกล้ม คัดกรอง 1085 คน ปกติ 1075 คน ผิดปกติ 10 คน
    9) ADL คัดกรอง 1085 คน ติดสังคม 1042 คน ติดบ้าน 31 คน ติดเตียง 12 คน
    10) BMI คัดกรอง 649 คน ผอม 75 คน สมส่วน 345 คน เริ่มอ้วน 178 คน อ้วน 43 คน อ้วนอันตราย 8 คน
    จากผลการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มติดสังคม คิดเป็นร้อยละ 96.04 ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพเสี่ยงเป็นโรค CVD คิดเป็นร้อยละ 63.66 รองลงมา BMI เกิน คิดเป็นร้อยละ 35.29 เสี่ยงภาวะหกล้ม คิดเป็นร้อยละ 9.22 เสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง คิดเป็นร้อยละ6.00 เสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 3.98 มีปัญหาข้อเข่า คิดเป็นร้อยละ 0.092
    ดังนั้น จากผลการเก็บข้อมูล พบว่า เห็นควรจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุโดยการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการปรับพฤติกรรม ทั้งในเรื่องอาหาร ออกกำลังกาย ความเครียด เข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมมากขึ้น และส่งเสริมองค์ความรู้ให้ผู้สูงอายุสามารถนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่มาใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
2.ประชุมคณะทำงาน ในวันที่ 16 พ.ค.66 เวลา 10.00-12.00น เพื่อร่วมคิดพูดคุยออกแบบการจัดทำข้อมูลการจัดการสุขภาพผู้สูงอายุ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ดูแลและผู้สูงอายุดูแลสุขภาพที่เหมาะสม ออกแบบแบบฟอร์มเก็บข้อมูลร่วมกันจนได้ข้อสรุป
3.วางแผนในการมอบหมายจ้างเก็บแบบสำรวจ พร้อมการออกแบบการเก็บและรวบรวมข้อมูล แบ่งบทบาทหน้าที่คณะทำงานในการสำรวจ กำหนดระยะเวลาในการสำรวจ 2 ระยะเพื่อเป็นข้อมูลเปรียบเทียบความเปลี่ยนแปลง 4.สรุปข้อมูลจากแบบสำรวจ

 

11 0

5. 1. เวทีสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 74 คน
  2. ผู้เข้า่รวมกิจกรรมได้ทราบและเข้าใจที่มาที่ไปของการดำเนินโครงการ
  3. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพ และแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี และให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพื่อเป็นทิศทางในการขับเคลื่อนกิจกรรมในโครงการ
  4. ได้ผู้สูงอ่ายุมีความรู้และความตระหนักความสำคัญของการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับวัยของแต่ละคน พร้อมมีความตั้งใจปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพควบคู่กับลูกหลานเป็นผู้ดูแลสมัครเข้าร่วมโครงการ จำนวน 110 คน
  5. คณะทำงานในการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการ 24 คน ที่มาจากตัวแทนที่หลากหลายส่วนของตัวแทนกลุ่ม ตัวแทนท้องที่ ท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่น เทศบาลตำบลลำสินธุ์  รพ.สต.  กศน.

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
2.จัดกิจกรรมเวทีสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ ในวันที่ 18 พ.ค.66 เวลา 08.00-14.00น เพื่อสร้างความเข้าใจโครงการและการขับเคลื่อนการจัดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยมีผู้สูงอายุ คณะทำงาน ผู้บริหาร ภาคีเครือข่าย รพ.สต. อสม.ผู้นำชุมชน สมาชิกสภา เข้าร่วมในการดำเนินการ
3.ร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางในการส่งเสริมสุขภาพ และแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ เพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี และให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
4. รับสมัครผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการ

 

60 0

6. 4. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2

วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ผู้เข้าร่วมประชุม 25 คน
2.ได้ปฏิทินการดำเนินกิจกรรม
2.ได้แบ่งหน้าที่ให้คณะทำงานได้ช่วยกันในดำเนินกิจกรรมแต่ละครั้ง
3.ได้ข้อสรุปในการเก็บข้อมูล ก่อน ระหว่าง และหลังดำเนินโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
2.ประชุมคณะทำงาน ในวันที่ 19 พ.ค.66 เวลา 09.30-12.00น เพื่อร่วมกันกำหนดกำหนดปฏิทินการดำเนินงาน วางแผนการำกิจกรรม
3.พูดคุยประเด็นการเก็บข้อมูลก่อน ระหว่างและหลังการดำเนินโครงการ
4.แบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ และดำเนินการมอบหมายให้คณะทำงานช่วยกันดูแลกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ

 

21 0

7. 9. ปฏิบัติการสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1

วันที่ 23 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ครั้งที่1 จำนวน 62 คน
2.ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่สรางสรรค์ในการทำกิจกรรมร่วมกัน
3.ผู้สูงอายุได้รับความรู้เรื่องอาหารและประโยชน์ของพืชผักท้องถิ่นที่นำมาใช้ในการทำอาหารและการแต่งกายเพิ่มขึ้น
4.ผู้สูงอายุมีความสุข และตระหนักถึงการกลับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมากยิ่งขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานวิทยากรเพื่อกำหนดวันจัดกิจกรรม
2.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
3.จัดกิจกรรมปฏิบัติการสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ จำนวน 3 ครั้ง 3 วันติดต่อกัน ดังนี้
ครั้งที่ 1 ในวันที่ 23 พ.ค.66 เวลา 08.00-15.00น. นันทนาการร้องรำทำเพลง

 

30 0

8. 9. ปฏิบัติการสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2

วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ครั้งที่ 2 จำนวน 48 คน
2.ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่สรางสรรค์ในการทำกิจกรรมร่วมกัน
3.ผู้สูงอายุได้รับความรู้เรื่องอาหารและประโยชน์ของพืชผักท้องถิ่นที่นำมาใช้ในการทำอาหารและการแต่งกายเพิ่มขึ้น
4.ผู้สูงอายุมีความสุข และตระหนักถึงการกลับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมากยิ่งขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานวิทยากรเพื่อกำหนดวันจัดกิจกรรม
2.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
3.จัดกิจกรรมปฏิบัติการสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ จำนวน 3 ครั้ง 3 วันติดต่อกัน ดังนี้
ครั้งที่ 2 ในวันที่ 24 พ.ค.66 เวลา 08.00-15.00น. ปฏิบัติการทำอาหาร โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม

 

30 0

9. 9. ปฏิบัติการสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3

วันที่ 25 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ครั้งที่3 จำนวน 59 คน
2.ผู้สูงอายุได้มีพื้นที่สรางสรรค์ในการทำกิจกรรมร่วมกัน
3.ผู้สูงอายุได้รับความรู้เรื่องอาหารและประโยชน์ของพืชผักท้องถิ่นที่นำมาใช้ในการทำอาหารและการแต่งกายเพิ่มขึ้น
4.ผู้สูงอายุมีความสุข และตระหนักถึงการกลับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมากยิ่งขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานวิทยากรเพื่อกำหนดวันจัดกิจกรรม
2.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
3.จัดกิจกรรมปฏิบัติการสร้างสุขภาวะผู้สูงอายุ จำนวน 3 ครั้ง 3 วันติดต่อกัน ดังนี้
ครั้งที่ 3 ในวันที่ 25 พ.ค.66 เวลา 08.00-15.00น. ปฏิบัติการแต่งกายสร้างสรรค์จากพืชผักท้องถิ่น โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม

 

30 0

10. 3. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการรู้การดูแลสุขภาพโดยภูมิปัญญาท้องถิ่นดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุครั้งที่ 1

วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 77 คน
2.ได้รับความรู้เรื่องการนำสมุนไพรพื้นบ้านมาทำสมุนไพรแช่เท้า พร้อมฝึกปฏิบัติทำสมุนไพรแช่เท้าเพื่อสุขภาพ
3.ได้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ พร้อมเทคนิคการปรับสมดุลอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
4.ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานวิทยากรเพื่อกำหนดวันจัดกิจกรรม
2.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
3.จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการรู้การดูแลสุขภาพโดยภูมิปัญญาท้องถิ่นดูแลสุขภาพผู้สูงอายุครั้งที่ 1 ในวันที่ 26 พ.ค.66 เวลา 08.00-15.30น.
เวลา 09.00-12.00 น. ให้ความรู้เรื่องการทำสมุนไพรแช่เท้า พร้อมฝึกปฏิบัติสมุนไพรแช่เท้าเพื่อสุขภาพ
เวลา 13.00-15.00 น. ให้ความรู้รับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ

 

60 0

11. กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการรู้การดูแลสุขภาพโดยภูมิปัญญาท้องถิ่นดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุครั้งที่ 2

วันที่ 2 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 80 คน
2.ได้ทราบประโยชน์ของการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า พร้อมกับวิธีและได้ฝึกปฏิบัติ ท่าออกกำลังกายประกอบจังหวะเพลง
3.ได้ทราบเทคนิคการสร้างสุขภาพจิตที่ดีในวัยชรา และได้แรงบรรดาลใจในการดำรงชีวิตอยู่ต่อไปอย่างมีความสุข
4.ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานวิทยากรเพื่อกำหนดวันจัดกิจกรรม
2.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
3.จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการรู้การดูแลสุขภาพโดยภูมิปัญญาท้องถิ่นดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุครั้งที่ 2 ในวันที่ 2 มิ.ย.66 เวลา 08.00-15.30น.
เวลา 09.00-12.00 น. เรียนรู้วิธีการ พร้อมประโยชน์ของการออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้า รวมทั้งฝึกปฏิบัติออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าตามท่าต่างๆและประกอบจังหวะเพลง
เวลา 13.00-15.00 น. รับฟังการบรรยายการส่งเสริมให้สุขภาพจิตดี ชีวิตมีความสุข โดยได้เรียนรู้เคล็ดลับ วิธีการให้ชราอย่างมีความสุข

 

60 0

12. ถอดเงินฝากเปิดบัญชีโครงการ

วันที่ 12 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ได้ถอนเงินคือคณะทำงานได้ทดรองจ่าย  การเปิดบัญชีธนาคารของโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ถอนเงินจากการเปิดบัญชีธนาคารของโครงการ โดย ผู้รับผิดชอบโครงการได้นำเงินการบัญชี จำนวน 100 บาท  ได้ทำการถอดเงินคืนออกจากบัญชีธนาคารให้เป็นไปตามระบบบัญชี รับจ่ายของโครงการ ให้กับคณะทำงานที่ได้สำรองฝากเงินแรกเปิดบัญชีธนาคารของโครงการฯ

 

3 0

13. 2. ศึกษาดูงาน ขับเคลื่อนการจัดการสุขภาพผูู้สูงอายุ

วันที่ 14 มิถุนายน 2566 เวลา 07:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 94 คน
2. ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การขับเคลื่อนกลไกการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ เกิดพลังบวกในการกลับมารวมตัวให้ผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่เข้มแข็งในทุกมิติ
3. ได้แนวคิดการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาาวะผู้สูงอายุ
4. ได้ทำกิจกรรมร่วมกันทำให้ผู้สูงอายุมีความสุข

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานงานสถานที่ศึกษาดูงานกำหนดวันจัดกิจกรรม
2.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
3.จัดกิจกรรมศึกษาดูงานการจัดการสุขภาพผูู้สูงอายุ ณ อบต.บางด้วน อ.ปะเหลียน จ.ตรัง ในวันที่ 14 มิ.ย.66 เวลา 07.30-11.30น. เพื่อสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการที่ได้ดำเนินการแล้ว ติดตามผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ พร้อมกับร่วมกันสะท้อนและเติมเต็มความสำเร็จสู่การดำเนินการโครงการระยะต่อไป
4.สรุปผลการประเมินผลการดำเนินงานกิจกรรม ผลลัพธ์ การใช้เงิน การรายงานผลการดำเนินงาน

 

52 0

14. 7. เพื่อนเยี่ยมเพื่อนโดยกลไกติดตามประเมินผล ครั้งที่ 1

วันที่ 15 มิถุนายน 2566 เวลา 09:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.  ได้คณะทำงานติดตามส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 20 คน มีการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้สูงอายุ  พร้อมทั้งแนะนำการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับแต่ละคนได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รับสมัครคณะทำงานในการติดตาม  เพื่อนเยี่ยมเพื่อนอย่างน้อยเดือนละ 1  ครั้ง  มีการบันทึกและติดตามประเมินผลระบบออนไลน์และออนไซน์

 

5 0

15. 8. เวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1

วันที่ 16 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 32 คน
2.กลุ่มเป้าหมายได้ทราบความก้าวหน้าของการดำเนินกิจกรรมในโครงการ
3.กลุ่มเป้าหมายได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมกันสรุปผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมา พบว่าทำให้ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพจิตที่ดีขึ้น มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ออกกำลังกายเพิ่มขึ้น บริโภคอาหารที่ถูกหลักเพิ่มมากขึ้น และสามารถนำองค์ความรู้ที่ได้ไปบอกต่อบุคคลในครอบครัว ชักชวนกันดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มมากขึ้น จากกิจกรรมศึกษาดูงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพ ทำให้กลุ่มเป้าหมาได้แนวคิดและแบบอย่างในการพัฒนาการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง เกิดแรงผลักดันในการช่วยกันออกแบบกิจกรรมเพื่อให้ผู้สูงแอายุในโรงเรียนดอกลำดวนมุสุขภาพภาย ใจ สังคมที่ดีอย่างต่อเนื่อง
4.กลุ่มเป้าหมายได้ร่่วมกันเสนอแนะแนวทางการดำเนินงาน และร่วมกันออกแบบกิจกรรมในระยะต่อไปร่วมกัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
2.จัดกิจกรรมเวทีประเมินผลเพื่อการเรียนรู้ และพัฒนา ARE ครั้งที่ 1 ในวันที่ 16 มิ.ย.66 เวลา 09.00-11.30น. เพื่อสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการที่ได้ดำเนินการแล้ว ติดตามผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ พร้อมกับร่วมกันสะท้อนและเติมเต็มความสำเร็จสู่การดำเนินการโครงการระยะต่อไป
3.สรุปผลการประเมินผลการดำเนินงานกิจกรรม ผลลัพธ์ การใช้เงิน การรายงานผลการดำเนินงาน

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 31 15                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 106,300.00 77,702.00                  
คุณภาพกิจกรรม 60                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. 4. ประชุม คณะทำงาน ครั้งที่ 3 ( 19 ก.ค. 2566 )
  2. 4. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 ( 19 ก.ค. 2566 )
  3. เวทีพัฒนาศักยภาพกลไกปฏิบัติการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ( 25 ก.ค. 2566 )
  4. ค่าอินเตอร์เน็ตในการดำเนินโครงการ ( 1 ส.ค. 2566 )
  5. 11. 11. รายงานในระบบออนไลน์การดำเนินงานโครงการ ครั้งที่ 1 ( 2 ส.ค. 2566 )
  6. 7. เพื่อนเยี่ยมเพื่อนโดยกลไกติดตามประเมินผล ครั้งที่ 1 ( 10 ส.ค. 2566 )
  7. 7. เพื่อนเยี่ยมเพื่อนโดยกลไกติดตามประเมินผล ครั้งที่ 2 ( 17 ส.ค. 2566 )
  8. 7. เพื่อนเยี่ยมเพื่อนโดยกลไกติดตามประเมินผล ครั้งที่ 3 ( 18 ส.ค. 2566 )
  9. 7. เพื่อนเยี่ยมเพื่อนโดยกลไกติดตามประเมินผล ครั้งที่ 4 ( 21 ส.ค. 2566 )
  10. ประชุมประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ARE ครั้งที่ 2 ( 22 ส.ค. 2566 )

(................................)
นางพัชรี น้อยเต็ม
ผู้รับผิดชอบโครงการ